อิสราเอลประสบความสำเร็จในการทดสอบจรวดต่อต้านขีปนาวุธแอร์โรว์ 2 ซึ่งพัฒนาร่วมกับสหรัฐฯ เพื่อใช้ยิงสกัดกั้น และทำลายขีปนาวุธของอิหร่าน
รัฐมนตรีกลาโหมอิสราเอล ระบุว่า เป็นความสำเร็จครั้งใหญ่ ต่อความปลอดภัยของชาติ
ข่าวจาก : โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์
ตัวเรดาห์
The Elta Green Pine early warning and fire control radar for the Arrow system. The radar can detect targets at ranges up to about 500km and is able to track targets at speeds over 3,000m/s.
S-400
ประจำการ : รัสเซียกับจีน
คุณสมบัติ :
Radars: 96L6 target acquisition radar, L band, range 300 km. Target acquisition radar, range 700 km. Grave Stone target tracking radar, I/J band, range 300 km.
Manufacturer: Antey, Lyulev. Standard warhead mass: 180 kg (390 lb). Maximum range: 400 km (240 mi). Minimum range: 1.00 km (0.60 mi). Ceiling: 30,000 m (98,000 ft). Floor: 5.00 m (16.40 ft). Version:
48N6E. Launch System: Triumf. Complex: S-400. Missile: 48N6E.
Improved version of the 48N6E for the S-400 system, capable of shooting down tactical ballistic missiles at incoming speeds of 4.8 km/s or hypersonic targets flying at 3.0 km/s at 150 km altitude.
Total Mass: 1,700 kg (3,700 lb). Core Diameter: 0.52 m (1.69 ft). Total Length: 6.98 m (22.91 ft). Span: 1.04 m (3.40 ft). Standard warhead mass: 180 kg (390 lb). Maximum range: 400 km (240 mi). Boost Propulsion: Solid rocket. Minimum range: 3.00 km (1.80 mi). Ceiling: 30,000 m (98,000 ft). Floor: 10 m (32 ft). Version:
9M96. Launch System: Triumf. Complex: S-400. Missile: 9M96.
Improved, longer range version of 9M96 for the S-400. Four 9M96s can be housed in a single 48N6E launch container position.
Total Mass: 420 kg (920 lb). Standard warhead mass: 24 kg (52 lb). Maximum range: 250 km (150 mi). Boost Propulsion: Solid rocket. Minimum range: 1.00 km (0.60 mi). Ceiling: 30,000 m (98,000 ft). Floor: 5.00 m (16.40 ft).
เวียตนามมี S-300PMU-1 (SA-20) ประจำการอยู่จำนวน 2กองพัน(12ระบบ) ครับซึ่งถือว่าเป็นประเทศแรกๆในภูมิภาค ASEAN ที่มี SAM พิสัยไกลลักษณะนี้ประจำการ
อย่างไรก็ตามการจัดหา SAM พิสัยไกลลักษณะดังกล่าวนั้นจำเป็ต้องบคำนึงถึงความเข้ากันได้กับระบบเครือข่าวการป้องกันภัยทางอากาศด้วยส่วนหนึ่งครับ ซึ่งก็ตามที่ทราบกันว่าระบบอากาศยานพื้นฐานของกองทัพไทยนั้นเป็นระบบมาตรฐาน NATO การจัดหาระบบ SAM พิสัยไกลจากรัสเซียซึ่งมีความซับซ้อนด้าน Technology สูงต่างจาก SAM ประทับบ่ายิงอย่าง Igla นั้นอาจจะต้องคำนึงถึงระบบอื่นที่เกี่ยวข้องเช่นการพิสูจน์ฝ่ายซึ่งอาจจะไม่เข้ากันกับระบบที่มีอยู่เดิมของไทยทั้งของกองทัพอากาศ กองทัพบก หรือ กองทัพเรือเองครับ
ในส่วนของพม่านั้นมีข่าวลือออกมาตลอดว่าพม่าต้องการจะจัดหาขีปนาวุธพิสัยใกล้(SRBM) เช่น M-11 ของจีน หรือ Hwasong ของเกาหลีเหนือที่ลอกแบบจาก SCUD มาหลาย10ปีแบล้ว แต่ทางการพม่าปฏิเสธมาตลอดว่า "กองทัพพม่าไม่มีความจำเป็นต้องจัดหาอาวุธลักษณะดังกล่าว" ซึ่งจากภาวะเศรษฐกิจของพม่าในปัจจุบันซึ่งเพิ่งจะผ่านการประท้วงครั้งใหญ่แลพผลกระทบจากพายุนั้นไม่น่าจะสนับสนุนให้พม่ามีโครงการจัดหาอาวุธขนาดใหญ่ได้ในขณะนี้ครับ (แต่ถ้าจะมีการจัดหาจริงก็คงไม่เป็นที่เปิดเผยต่อสาธารณะอยู่ดีครับ)
ส่วนตัวคิดว่าระบบSAMป้องกันขีปนาวุธนั้นดูจะเป็นระบบที่ยังใหม่เกินไปที่จะมาประจำการในประเทศกลุ่มASEAN นั้นครับ เพราะเป้าหมายภัยคุกคามจากขีปนาวุธในภูมิภาคนี้นั้นมีน้อยมากถ้าเทียบกับระบบอาวุธพิสัยไกลอื่นเช่น ป.อัตราจร หรือ เครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องครับ
ระบบSAM ใช้ในการป้องกันขีปนาวุธหรืออากาศยานในระดับสูงและพิสัยไกล หากเป็นของนาโต้เองเด่นๆที่มีคือระบบ Patriot PAC-1-3 ซึ่งราคาก็แพงลิ่ว นอกนั้นเป็นแซมพิสัยใกล้ ระดับต่ำเช่น Jenas RBS-23 Crotal เป็นต้น หากนับในจำพวกพิสัยไกลจะเป็นของนอกนาโต้เช่น SA-17 (Buk-M2E/3) นี่สามารถยิงได้ไกลราวๆ50กิโลเมตร KS-1จีน เป็นต้น หากจำพวกS-300/400 แพงเกินไปก็ น่าสนสำหรับ Buk-M2E3 น่ะครับ
...ส่วนตัวว่า หากต้องการระบบอาวุธไว้ต่อกรหรือทำลายขีปนาวุธในภูมิภาคนี้ ทางเลือกอื่นนอกจาก จัดหาระบบแซมพิสัยไกล ซึ่งมีราคาแพง ก็คือ
1.มีกองบินหรือปรับปรุง บ.ข. ให้สามารถเข้าไปโจมตีฐานปล่อยอาวุธ ซึ่งมองรอบบ้านคงไม่เกินรัศมีของเครื่อง F-16 แน่นอน แต่ทว่าเสี่ยงต่อการโดนยิงตกฉะนั้น ตัวเลือกที่ดีคือ ติดอาวุธปล่อย ระเบิดสมาร์ทบอม ให้แก่ F-16 เพื่อทำลายเป้าหมายที่ไกลออกไป เช่น ชุดระเบิด สไปซ์(อิสราเอล) และ จำพวก เทารัส KEPD-350 ซึ่งก็มีพิสัยไกลถึง500ก.ม. (เครื่อง JAS-39 )
2.ระบบจรวดหลายลำกล้องขนาดหนักแบบ BM-30 และ WS-2 :ซึ่งยิงได้ไกล 200 ก.ม.
....ซึ่งหากมองดูน่าจะถูกกว่า แซมพิสัยไกล น่ะครับ ซึ่งไว้จัดหาทีหลังและเน้นป้องกันอากาศยานพิสัยใกล้ไปก่อน
จากที่ท่าน MIG31 กล่าวมาข้างต้น อาวุธ ANTI-BALLISTIC MISSILE อีกอย่างหนึ่งที่ท่านลืมใส่ชื่อ ลงไป และน่าสนใจไปไม่น้อยกว่า PATRIOT สักเท่าไหร่
ก็คือ ASTER-30 รุ่น SAMP/T รุ่นนี้จะมีพิสัยยิง ที่ไกลกว่า ASTER-30 ที่ติดตั้งอยู่บนเรือฟริเกต
คือ มีความสามารถยิงได้ถึง 600 กิโลเมตร ( เอาจรวดตั้งที่ บุรีรัมย์ สามารถ ยิงถึง เวียดนาม ได้เลยทีเดียวเชียว )
และราคาก็ไม่แพง เท่ากับ PATRIOT PAC-3 ของ สหรัฐ อีกด้วย
เรื่องความน่าเชื่อถือ ASTER-30 ก็มีใช้งานอยู่กับเรือ พิฒาต TYPE-45 ของ อังกฤษ เรือ ฟริเกต ชั้น HORRIZON CLASS ของ ฝรั่งเศส และ อิตาลี่ ครับ
In addition to all aerodynamic targets, SAMP/T with the Aster 30 Block 1 missile can intercept ballistic missiles of ranges up to 600 km.
|
SAMP/T ต้องขอบอกว่า มันเป็นระบบ ที่ยิงจากพื้นดิน สู่อากาศ เท่านั้น ( LAND - BASED SYSTEM )
มันเป็นคนละแบบ ที่ติดตั้งอยู่กับเรือ ฟริเกต
รุ่นที่ติดตั้งอยู่กับเรือ ฟริเกต มีระยะยิงเพียง 120 กิโลเมตร เท่านั้น
F-16 ของกองทัพอากาศไทยนั้นมีการติดตั้งระบบ Long Shot ซึ่งสามารถทำการติดตั้งกับระเบิดนำวิถี Laser และระเบิดแบบอื่นเช่น ระเบิดอมภัณฑ์ย่อยเพื่อเพิ่มระยะในการใช้อาวุธได้จริงครับ(ซึ่งก็มีการพัฒนาระบบนี้เองด้วย) แต่อย่างไรก็ตามการโจมตีฐานยิงอาวุธพิสัยไกลในระยะไกลนั้นก็จำเป็นต้องพิจารณาถึงอาวุธร่อนอย่าง JSOW, Tuarus หรือ KEPD อยู่ดีครับ
ในส่วนของระบบเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องขนาดหนักนั้นมีข้อมูลว่า พม่ามีการจัดหาระบบ M-1991 ขนาด 240mm 22ท่อยิง จากเกาหลีเหนือจำนวน30ระบบมาตั้งแต่2-3ปีมาแล้วครับ ซึ่งระบบดังกล่าวมีระยะยิงประมาณ 70-90 กิโลเมตรครับ
ถ้าเทียบไทยกับหลายประเทศในเรื่องการจัดหาระบบเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องระยะไกลแล้วถือว่าไทยมีการจัดหาระบบอาวุธลักษณะนี้ช้าครับ ซึ่งโครงการล่าสุดที่มีข่าวออกมานั้นคือการตั้งโรงงารพัฒนาจรวด WS-1B ขนาด 302mm ระยะยิง 180กิโลเมตร ซึ่งเป็นการถ่ายทอดTechnologyระหว่างไทยกับจีนครับ
โดยระบบนี้ตุรกีก็ได้จัดหาและผลิตเองในประเทศภายใต้ชื่อ T-300 Kasirga ซึ่งระบบที่ไทยจะพัฒนาคงจคล้ายๆกันครับ
ตอนนี้ส่วนตัวคิดว่ายังค่อนข้างจะเร็วเกินไปที่จะกล่าวถึงการพัฒนาระบบจรวดทางยุทธวิถีในลักษณะ SRBM ในภูมิภาคนี้ครับ ซึ่งการจัดหาในหลายๆประเทศส่วนใหญ่ก็จะเป็นการจัดหา MLRS ครับเช่นล่าสุดที่มีข่าวมาเลเซียจัดหา Astros II 18ระบบเป็นต้น นอกจากนั้นการโจมตีในพิสัยไกลหลายๆประเทศจะใช้หลักนิยมของ บ.ขับไล่โจมตีมากกว่าครับ
และแล้วโครงการ Arrow 3 ก็โดนสหรัฐสอยร่วง ไปอีกเหมือนโครงการเครื่องบิน Lavi
ย้อนไปในปี 1987 อิสราเอลได้ยกเลิกโครงการเครื่องบินรบ Lavi ไป
มาปี 2009 อิสราเอลจะยกเลิกโครงการจรวด Arrow 3 อีกรึไม่
Raytheon SM-3 Could Replace Arrow-3 Anti Missile Program
by Martin Sieff
Washington DC (UPI) Apr 10, 2009
Israels Arrow-3 anti-ballistic missile may be one of the first victims of U.S. President Barack Obamas defense spending cuts.
Ynet, the Web site of the respected Tel Aviv daily Yediot Aharonot, reported Monday that U.S. funding for the Arrow-3 program is likely to be eliminated.
However, in compensation, the Obama administration is prepared to help Israel buy the U.S. Navys Standard Missile 3 anti-ballistic missile system instead, the report said. The SM-3 is built by Raytheon as its primary contractor.
Ynet said the U.S. Congress is expected to take up the issue soon, possibly as early as its next session.
Offering the SM-3 makes a lot of sense and could prove a wiser course of action for Israel than pushing ahead with the Arrow-3. The SM-3 is far more expensive per unit at $10 million to $12 million each, compared with the individual projected cost of the Arrow-3 at only $1.5 million to $2 million each. But the SM-3 is a mature technology whose costs will not rise unexpectedly. The Arrow-3 is still in the developmental stage, and no one knows how high its real costs will reach as opposed to the optimistic projections made for it.
Far more important from Israels point of view, SM-3s can be sold and deployed quickly, while the Arrow-3 is still at least three years away from operational deployment by the most optimistic assessment. But Iran already has a formidable intermediate-range ballistic missile arsenal and is now developing a far higher and faster intercontinental ballistic missile capability as well.
The SM-3 showed last year when it shot down a plunging U.S. satellite on Feb. 21, 2008, that it has the capability to destroy targets following the ballistic flight paths and with the speed and acceleration of an incoming ICBM. Ynet noted that the USS Lake Erie, a Ticonderoga-class guided-missile cruiser, destroyed the satellite by firing only a single SM-3, even though the target was plunging to Earth with a combined closing velocity of 22,780 mph at an altitude of 133 nautical miles above the Pacific Ocean.
Also, as we have noted in our analyses of the problems with Israels Iron Dome very-short-range anti-ballistic missile defense system, the Jewish state, with a land area comparable to New Jersey and a population of only around 6 million, is world-class at upgrading existing military technologies, but it does not have the resources to develop many new systems of its own.
This problem may be less in the case of the Arrow-3, which is planned as an exoatmospheric interceptor that can hit and destroy intermediate-range ballistic missiles 60 miles above the surface of Earth. But the Raytheon SM-3 is already an established, reliable technology with a long record of successful IRBM interceptions under its belt.
The threat Israel faces from a potentially nuclear-armed Iran became imminent in February when Tehran successfully launched its first communications satellite on its own multistage ballistic missile. In effect, as we have often noted, any nation with the capability to launch a satellite into orbit on its own multistage booster already has the intercontinental ballistic missile capability to send a nuclear weapon, not just to Israel, but also 9,000 miles to the Eastern Seaboard cities of the United States.
Ending U.S. funding for the Arrow-3 would be consistent with President Obamas well-documented skepticism about ballistic missile defenses. Defense Secretary Robert Gates proposed Monday a slashing of funding for the U.S. Missile Defense Agencys Kinetic Energy Interceptor and Airborne Laser programs -- moves that would in effect kill both of them.
However, Ynet suggested that Raytheon may have applied pressure as well to try to kill the Arrow-3.
Ynet reported that Israeli Defense Minister Ehud Barak, a strong enthusiast for the Arrow-3 program, recently met with a delegation of visiting U.S. senators and congressmen; following that meeting, he briefed a private meeting of his Labor Party, in which he warned of the pressures to kill the Arrow-3.
ข่าวรายงานว่าเงินสนับสนุนของสหรัฐสำหรับโครงการจรวดต่อต้านขีปนาวุธข้ามทวีป Arrow 3 ของอิสราเอล ดูท่าว่าจะถูกตัดออกไปแล้ว โดยคณะทำงานของประธานาธิบดีสหรัฐเตรียมที่จะช่วยเหลือให้อิสราเอลในการซื้อจรวด SM-3 ไปใช้แทนโครงการ Arrow 3
SM-3 นั้นเป็นอาวุธนำวิถีที่ใช้งานได้อเนกประสงค์กว่าระบบ Arrow ครับเพราะสามารถยิงได้ทั้งเป้าหมายที่เป็นขีปนาวุธ อากาศยาน และอาวุธปล่อยอื่นในขณะที่ Arrow ยิงได้เฉพาะขีปนาวุธเท่านั้น
แต่อย่างไรก็ตามราคาตัวจรวดนั้น Arrow ถูกกว่า SM-3 มากครับ ซึ่งนั้นคงทำให้อิสราเอลไม่พอใจสหรัฐฯในกรณีนี้ครับ