ภาพแรก ยังไม่มีอะไร แต่มันคือEA-18G
แต่สังเกตดู รูปนี้ มันคือ ........F-22 ครับพี่น้อง
อ่านข่าวเต็มๆได้ที่
http://www.flightglobal.com/blogs/the-dewline/2009/02/growler-power-ea-18g-boasts-f-.html
แต่แปลได้คร่าวๆคือ EA-18G ยิงเอฟ-22 ตกด้วย แอมราม หือ ....... ชักเห็นเค้าลางว่า เอฟ-22 จะอนาคตไม่สดใสเสียแล้ว
ไหนจะแพง พร้อมรบต่ำ แถมยังมากรณีนี้อีก อืมมมมมม
แล้วลองมาจับผิดภาพนี้ดูว่า มีอะไร ไม่ปกติ ตอบถูก ให้หอมไอ้เจ้าhelldiver 3ฟอด
ให้ดูอีกมุมนึง
แล้วจะมาเฉลยครับ
ปล. J-10 ลำนี้ สวยขึ้นเยอะเลย
UAV made in Japan
ไม่น่าจะเป้นแค่เป้าสำหรับซ้อมอย่างแหล่งข่าวบอก
อาวุธญี่ปุ่นดูน่าใช้ แต่เสียดายที่ส่งออกไม่ได้
Unmanned Aircraft Research System
At a TRDI display the author was able to attend in 2006, a TRDI brochure contained a small illustration of what looked like a jet powered unmanned aerial vehicle (UAV) that could also lead to an unmanned combat air vehicle (UCAV). At the time TRDI officials were reluctant to speak about the program other than to confirm the picture represented a program. But TRDI decided to release far more data in its November 2007, to include brochure information, a larger color illustration and a small model of the UAV. According to Japanese officials, the Unmanned Aircraft Research System UAV technology demonstrator program started in 2003 and will yield a completed prototype in 2008, with test flights to commence in 2009. It is intended to serve first as a technology demonstrator but TRDI officials concede that it may also be used for high-speed surveillance, as a target drone or as a decoy. The use of an odd looking faring over its optical surveillance turret is explained as necessary because a nose-mounted optics package would produce aerodynamic instability. But this use also suggests the UAV will be used for weapon targeting, inasmuch as the turret configuration will allow better in flight tactical flexibility. It will be powered by a U.S. made small turbojet produced by the Teledyne Company.
Unmanned Research: Poster from the recent TRDI exhibit on their Unmanned Aircraft Research System. Source; TRDI via RD Fisher
While the UAV is about the right size for a cruise missile, and sized to be carried under the wing of a F-15 fighter, Japanese officials are quick to deny that is an intended mission. The necessity for air launching is explained by the lack of a formal Japanese airspace control regulation regime for unmanned aircraft. While new regulations are being developed, such unmanned aircraft tests are to be confined to the island of Iwo Jima. This past summer TRDI successfully tested autonomous UAV control technologies in a modified Diamond powered glider.
Two UAV Views: A model of the TRDI Unmanned Aircraft Research System seen in early November 2007. Source: RD Fisher
The U.S., Europe, Britain, Sweden, Russia, South Korea, and China are also pursuing jet-powered UCAV technology demonstrator or actual UCAV programs. The first U.S. jet powered UCAV will emerge from the U.S. Navys UCAS-D program now led by Northrop Grumman. Russias Mikoyan company revealed a mock-up of its Skate attack UCAV at the 2007 Moscow Airshow. A Chinese AVIC-1 calendar issued at the 2006 Zhuhai Airshow contains a depiction of what may be a jet-powered UCAV technology demonstrator. Japans TRDI is also apparently investigating advanced UCAV concepts according to a brochure describing its future research.
Attached image(s)
ส่วนอันนี้เป็นจรวดต่อต้านเรือรบ ความเร็วเหนือเสียงXASM-3
....J-10 จากที่ดูๆนั้น รูปแรกไม่แน่ใจ(แต่ค่อนข้างจะแน่ใจว่าเป็น รุ่น aกับB )รุ่นA ไม่มีระบบ IRS-T ที่ด้านหน้า แต่ในภาพมี(ซึ่งเคยเห็นรุ่น B ต้นแบบมี) และ ท่อ Air intake ทำมุม มากกว่ารุ่น A ที่มุมตัดตั้งฉากเหมือนเครื่อง Lavi แพนหางด้านหลัง(ขอโทษครับเรียกไม่ถูก) จะแตกต่างจากรุ่น A ที่อยู่ข้างท่อน่ะ ส่วนบนยอดแพนหางดิ่งก็ต่างจากรุ่น A ที่เป็นมุมตัด ซึ่งน่าจะเป็น ระบบ ECM โค้งๆนูนๆน่ะ
...บริเวณกรวยจมูกก็เรียว เคยอ่านว่าจีนจะใช้เรดาห์ AESA
..ลองดูตามรูปที่วงๆไว้น่ะครับ ระหว่างรุ่น A กับ B
ที่คุณ สเตอร์โมวิก พูดมีเหตุผลดีครับ แต่เขาก็ต้องดูถึงความคุ้มค่า เทคโนโลยีและอื่นๆอีกมากครับ เพราะ อยู่ดีๆเขาคงไม่ถ่ายทอดให้เราง่ายๆ แต่ถ้าได้ร่วมกันวิจัยพัฒนาละก็ผมว่าก็ค่อนข้างน่าสนใจทีเดียวครับเรื่องการส่งออกนั้น ก็คงต้องดูว่าเรามีกำลังผลิตมากแค่ไหน จะเจาะตลาดยังไง ผมว่านะอนาคตอันใกล้ ตลาด UAV คงดุเด็ดเผ็ดมันเป็นแน่แท้
ปล.คุณ MIG31 ตอบไปก่อน....ผมเลยอดหอมแก้มพี่ โจ๊กเลย....เหอะๆ ฮาๆครับ
ถ้าจำได้หลายๆท่านคงทราบว่าการซ้อมรบร่วมโดยการจำลองการต่อสู้ระหว่าง F/A-18E/F Super Hornet กับ F-22 เมื่อหลายปีก่อนนั้น ผลคือ Super Hornet สามารถยิง F-22 ตกครับ ทั้งๆที F-22 น่าจะเหนือกว่าในด้านความคล่องตัวและสมรรนะของระบบ ซึ่งการที่ EA-18G ยิง F-22 ตกในการจำลองในก็น่าเชื่อว่า F-22 น่าจะมีข้อบกพร่องในด้านใดด้านหนึ่งครับทั้งอากาศยานหรือความพร้อมของนักบิน(เพราะเครื่องยังใหม่มาก) อย่างไรก็ตามกองทัพอากาศสหรัฐฯคงไม่ยอมให้โครงการจัดหาและพัฒนา F-22 นั้นยกเลิกโดยง่ายครับ
ข่าวการกลับมาเปิดสายการผลิต บ.OV-10 ใหม่นั้นมีมาก่อนหน้านี้แล้วพักหนึ่งครับ ซึ่งทางนาวิกโยธินสหรัฐฯนั้นมีเจ้าหน้าที่บางส่วนเห็นว่า บ.แบบนี้มีคสวามสำคัญในการต่อต้านภัยคุกคามระดับต่ำอยู่ และน่าจะส่งออกให้หลายๆประเทศได้ครับ แต่อย่างไรก็ตาม บ.OV-10 สามารถแข่งขันกับ บ.โจมตีใบพัดแบบอื่นๆที่ทันสมัยกว่าอย่าง Super Tucano หรือ AT-6 ได้หรือก็เป็นเรื่องที่น่าสงสัยครับ
ส่วนตัวเชื่อว่าตามรัฐธรรมนูญของญี่ปุ่นและหลักการปฏิบัติของหน่วยงานพัฒนาด้านความมั่นคงของญี่ปุ่นเองนั้นคงจะไม่สามารถที่จะทำการวิจัยพัฒนาหรือถ่ายทอด Technology ด้านการพัฒนาอาวุธใดๆให้แก่ประเทศอื่นได้ครับ เพราะขัดต่อหลักการป้องกันตนเอง ซึ่งในส่วนยานพาหนะหรืออากาศยานที่ผลิตเพื่อส่งออกในงานพลเรือนนั้น ญี่ปุ่นก็จะระวังอย่างมากที่จะไม่ให้สิ่งที่ส่งออกนั้นๆถูกนำไปใช้ในทางทหารโดยติดอาวุธครับ เพราะฉนั้นการพัฒนาและถ่ายทอด Technology การพัฒนาอาวุธของญี่ปุ่นแก่ไทยนั้นไม่น่าจะเป็นไปได้ครับ
OV-10 ในตอนสงครามอ่าวครั้งล่าสุดนี่ อเมริกาเองก็ให้ความสนใจ และมีการอัพเกรด ตั้งแต่เครื่องยนต์ให้มีกำลังขับสูงขึ้น ใช้อาวุธนำวิถีต่างๆเช่น เฮลไฟร์ ปืนกล M-197 เป็นต้น และระบบอำนายการรบที่ทันสมัย เนื่องจาก บ.จ.และฮ.จ. อย่าง AH-64/A10 มีค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานที่สูงมากครับ และก็เสี่ยงต่ออาวุธนำวิถี (ตกทีก็จ่ายแพง) ซึ่งจำได้ว่ากำหนดให้เป็นรุ่น D
....แต่เดิมคุณลักษณะของ OV-10 คือบินได้นาน ทนทาน อาวุธก็หนักพอตัว หากเทียบกับ บ.ฝ.แบบ T-6 ,Super tucano แล้ว ยังเป็นรองแค่ความคล่องตัวน่ะครับ
การปรับรูปโฉมของท่อรับอากาศเข้า ย. ของ J-10B น่าจะทำให้ บ.รุ่นนี้มีค่า RCS เมื่อมองจากด้านหน้าต่ำลงครับ ท่อรับอากาศแบบนี้จะช่วยปกปิดกังหันของ ย. ที่สะท้อนคลื่นเรดาร์ได้ครับ
F-22 ดูแล้ว อเมริกา โฆษนาชวนเชื่อ ซ่ะเกินความเป็นจริง
การรบแบบ DOGFIGHT ผมว่ามันคงจะไม่เหนือกว่าเครื่องบินขับไล่ยุคใหม่ๆ สักเท่าไหร่
ดีไม่ดี สุดยอดเครื่องบินรบ อาจจะเป็น SU-35 ที่ติด เรดาร์ IRBIS-E ของ รัสเซีย ก็เป็นได้
ยิ่งที่อ่านจากข้างบน คือ ยิงด้วย AMRAAM.............คือยิง จากระยะไกล
แล้ว คุณสมบัติ STEALTH ของ F-22 มันมีความน่าเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด
ผมมองแล้ว คิดว่า บข.21 ของ ทอ.ไทย น่าจะมองไปที่ F/A-18E/F BLOCK II หรือ BLOCK III
มีต่อ