หน้าแรก    ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบคำถาม    เข้าสู่ระบบ      


บ๊ายๆ GRIPEN อินเดีย ตัด กริพเพน ออกจากบ้าน IAF

โดยคุณ : TOP SECRET เมื่อวันที่ : 18/01/2009 12:50:05

  ไม่รู้ว่าข่าวจริงเท็จ แค่ไหน น่ะครับ........โปรดใช้ วิจารนยาน ในการแปล และ ตีความ

   5 in fray for IAFs $10-bn deal for 126 aircraft

 

The most eagerly anticipated contest for Indian Air Forces medium multirole combat aircraft (MMRCA) requirement for at least 126 aircraft has taken off with the technical evaluation committee (TEC) in the Air Headquarters having sent evaluation report to the ministry of defence.

Now, out of six only five contenders which last year responded to the two-part bid for the $ 10-billion deal, will go for the field trials, as one of the bidders has failed to meet the technology specifications mentioned in the request for proposal (RFP) for the 126 fighters for IAF.

According to sources, based on the recommendations made by the TEC, after examining the technical bids, the Swedish "JAS 39 Gripen" has failed to make grade on the technology front for the deal. "The recommendations were made last week and now the ministry of defence has to take a final decision on this," sources explained.

"The five bidders, including Boeings F/A-18E/F Super Hornet, Dassaults Rafale, Eurofighters Typhoon, Lockheed Martins F-16, Russian Aircraft Corporations (RACs) MiG with the MiG-35, are now expected to participate in the field trials that will start in a couple of months," said sources.

Apart from technical reasons, India also needs to balance its strategic interests well. The order is one of the largest global tender for defence aircraft at present. Government spokesman Sitanshu Kar said it wanted to make sure there was "maximum competition till the last stage... Also, our objective is to get the best equipment and platforms at the best price."

While India continues to have a close relationship with Dassault, which supplied the IAF with Mirage 2000 fighters in the 1980s, the Rafale of Dassault and the Typhoon from Eurofighter could likely struggle with the issue of cost. Both are relatively large, twin-engined platforms, which will significantly increase operating costs compared with the single-engined MiG-21 fleet it will replace.

The technological excellence of a modern MMRCA like the Eurofighter or the Rafale lies not in its airframe, engines, or flying performance, say experts. Instead, it has an advantage in avionics and in its net-centric capability, whereby the aircraft and its pilot are seamlessly integrated into an electronic battlefield management system.

Though the MiG-35 is seen by many as a strong contender, however, over the past year Indias relationship with Russia with regards to arms contracts has soured. Military analysts have pointed out that the two US contenders, though seem well placed in terms of price and capability, the biggest issue to both F-16s and Boeing Super Hornet platforms is the authorisation of technology transfer.

Chris Chadwick president of Precision Engagement and Mobility Systems of Boeing Integrated Defence Systems told FE, "We are very well positioned to establish a long-term relationship with the IAF and the ministry of defence."

"The RFP lays down that the first aircraft is supplied within 36 months of the contract being signed and the 18th within 48 months. The 19th aircraft, the first to be assembled in India, will come within 54 months. Thereafter, there will be an incremental increase with the last aircraft to be delivered by 2020,"said Boeing officials.

The Saab Gripen is single engined, which will keep operating costs low, upgrades are already being defined under the Gripen Demonstrator programme and acquisition costs are highly competitive. It is estimated that the operational cost of the JAS fighter is probably 50% lower than other aircraft in its class that is currently, or planned to be, in service.
 
  ข่าวจาก WEB http://www.f4forums.com/forums/showthread.php?p=111608




ความคิดเห็นที่ 1


   เสี่ยโย.....รู้สึกว่า ทำการตลาดในอินเดีย ไม่ได้สิน่ะ..........ก็ อินเดีย เขาต้องการ เครื่องบินรบ อเนกประสงค์ ขนาดกลาง

    ซึ่ง กริพเพน ไม่ตรงกับความต้องการเลย.......ไม่เป็นไรเสี่ย ยังเหลือ สนามแข่งขัน อีกหลายประเทศ สนามใหญ่ๆ ก็ บราซิล ( แต่คงจะแพ้ ราฟาล ) แน่เลย

   ตอนนี้เหลือ ผู้เข้าแข่งขัน อีก 5 บริษัท จาก 4 ประเทศ

1.MIG-35 จาก บริษัท RAC-MIG  โอกาสชนะโครงการ 40%

2.RAFALE จาก บริษัท DASSAULT โอกาสชนะโครงการ 25%

3.TYPHOON จาก Eurofighter GMBH โอกาสชนะโครงการ 15%

4.F/A-18E/F จาก BOEING  โอกาสชนะโครงการ  10%

5.F-16IN จาก LOCKHEED MARTIN โอกาศชนะโครงการ 10 %

  *โอกาสชนะโครงการ เป็นความคิดเห็นส่วนบุคคลครับ ( ความคิดเห็นของผมเองครับ )

โดยคุณ TOP SECRET เมื่อวันที่ 16/01/2009 04:57:32


ความคิดเห็นที่ 2


  ข่าวมีที่มา อีกหลาย WEB ครับ อ้างอิง

http://forum.milavia.net/index.php?topic=2346.0

http://www.militaryphotos.net/forums/showthread.php?t=149559

 

  แต่โครงการนี้ อยากให้ RAFALE เกิดจังเลยครับ ไม่อยากให้เครื่องบินที่มีประสิทธิภาพดีๆ อย่างนี้ แถมสวยด้วย ต้องปิดสายการผลิตเร็ว

  อาจมีโอกาสเกิด เพราะทาง ดัสโซลต์ อาจจะลดราคา RAFALE โดยการ ให้ อินเดีย ใช้เครื่องยนต์ KAVERI ENGINE ที่ อินเดีย กำลังพัฒนา มาใช้กับ เครื่อง LCA TEJAS มาใช้ กับ RAFALE ด้วย

  อาจจะช่วย ลดราคา มาไม่มาก ก็น้อย

โดยคุณ TOP SECRET เมื่อวันที่ 16/01/2009 05:05:43


ความคิดเห็นที่ 3


  อุตส่าห์ ไปโปรโมต ตรงป้าย รถเมล์........แต่ก็ไม่ได้ผล เพราะผู้ที่เลือก ไม่ใช่ประชาชน ตรงป้ายรถเมล์

  ทำไม ตอนที่จะขายให้ไทย ไม่เอามา โปรโมต ตรงป้าย รถเมล์ อย่างนี้บ้างล่ะ.........จะได้ถ่ายรูปเก็บไว้ แถมจะทำให้ ประชาชน สนใจเรื่อง เครื่องบิน มาอีกหน่อย


โดยคุณ TOP SECRET เมื่อวันที่ 16/01/2009 05:10:23


ความคิดเห็นที่ 4


เท่าที่ทราบข่าวนี้เป็นความจริงครับ ^ ^

 

หลุดไปอีกที่แล้วครับสำหรับ Gripen และที่จะตามมาอีกก็คือเดนมาร์คซึ่งน่าจะตามนอร์เวย์และเนเธอแลนด์ซึ่งไม่รู้จะไปแข่งทำไม (ที่นั่นหวยล็อคยิ่งกว่านอร์เวย์หลายเท่า) ..... หลัง ๆ Saab เริ่มส่ง Gripen ไปทั่ว บางตลาดเห็นชัดเจนว่าแพ้ตั้งแต่ยังไม่ลงแข่งก็ส่งไป ไปเป็นตัวปั่น offer ให้ประเทศนั้นได้ offer ดี ๆ จาก Lockheed อีก ซึ่งผมก็ไม่เข้าใจไอเดียของ Saab เหมือนกันครับ ผมว่าถ้า Saab ประเมินตัวเองดี ๆ แบบ EADS ที่ถอน Typhoon ออกจากการแข่งขันทุกประเทศที่รู้แน่ว่าไม่มีโอกาสน่าจะช่วยให้ Saab ฟุ่งเป้าไปที่ประเทศเป้าหมายที่มีโอกาสได้ดีขึ้น ..... เหมือน Saab เขามีไอเดียว่า มีคนติดต่อให้ Gripen มาแข่งเยอะแสดงถึงความสนใจต่อ Gripen ที่มากขึ้น ซึ่งสุดท้ายผลดีมันกลายเป็นผลเสียและย้อนกลับมาทำลายชื่อเสียงของ Gripen เสียเองเพราะดันไปแข่งในที่ ๆ มันไม่มีโอกาส

ตลาดที่ Saab ควรสนใจไม่ใช่ทุกตลาด Saab ต้องจับตลาดตัวเองและวางตำแหน่งของเครื่องตัวเองในตลาดโลกให้ได้ ..... Saab ต้องรู้ว่า Gripen เหมาะกับประเทศอย่างสวิสเซอร์แลนด์ โรมาเนีย โครเอเชีย หรือแม้แต่ฟิลิปปินส์ บัลแกเรีย สโลเวเนีย .... ไม่ใช่ไปหวังกับหวยล็อคอย่างนอร์เวย์ เนเธอแลนด์ เดนมาร์ค หรือประเทศที่แข่งไปก็ไร้ประโยชน์อย่างอินเดีย กรีซ หรือสิงคโปร์

ถูกตัดออกทีอินเดียมันก็สมควรแล้วล่ะครับ ^ ^


โดยคุณ Skyman เมื่อวันที่ 16/01/2009 06:01:28


ความคิดเห็นที่ 5


 เอาน่า พี่ SKYMAN ผมว่า GRIPEN มี โอกาสเกิด ในประเทศที่ มี เงินไม่เยอะ ( ไม่ค่อยมีเงิน นั่นเอง ) อีกหลายประเทศครับ

  พวก โครเอเชีย โรมาเนีย.................ถ้า อเมริกา ไม่มา มุข เดียวกันกับ ตอนที่ ขาย F-15K และ F-15SG ให้ เกาหลีใต้ และ สิงคโปร์ ตามลำดับ........ก็คือ ลด แลก แจก แถม ( 2 โครงการ RAFALE แพ้รอบชิง )

  แต่คู่แข่ง ในโครงการคือ F-16C/D  ผมว่า F-16C/D ราคาแพงกว่าก็จริง แต่ถ้า อเมริกา เสนอ อาวุธยุทโธปกรณ์ มากกว่า ที่ SAAB จะให้ได้ F-16 ชนะ แน่นอนครับ

  เหมือนกับที่  โมร็อคโก  เลือก F-16C/D แทน RAFALE ก็เพราะ แพ็คเกจ อาวุธ นี่แหล่ะครับ ทั้งๆที่ ตัวเก็งเป็น RAFALE แท้ๆ ( ความพ่ายแพ้ ครั้งที่ 3 )

  และก็อาจจะเกิดขึ้นกับ เครื่องจาก สวีเดน เช่นกัน..........ถ้า อเมริกา มี กลยุทธ์ ทางการตลาด ที่ดีกว่า.......ก็แบบว่าเขารวย แถมนิดแถมหน่อย ไม่เห็นเป็นไร

 

โดยคุณ TOP SECRET เมื่อวันที่ 16/01/2009 06:25:02


ความคิดเห็นที่ 6


ในด้านทาง Technic อากาศยานนั้นไม่ใช่เรื่องที่น่าแปลกที่ Gripen จะถูกตัดออกจากโครงการจัดหา MMRCA ของอินเดียครับ เพราะคุณสมบัติของ Gripen ซึ่งเป็น บ.ขับไล่เบาเครื่องยนตร์เดียวนั้นค่อนข้างจะไปซ้ำซ้อนกับโครงการพัฒนา บ.ขับไล่เบาแบบ HAL Tejas หรือ LCA ที่อินเดียพัฒนาเองมากครับ

และโดยคุณสมบัติที่ต้องการของโครงการโดยร่วมนั้นอินเดียต้องการ บ.ขับไล่ขนาดกลางซึ่งมีขนาดน้อยกว่า Su-30MKI ซึ่งเป็น บ.ขับไล่โจมตีพิสัยไกลหลักแบบหนึ่งของกองทัพอากาศ ซึ่ง บ.ที่ขนาดใกล้เคียงกันของยุโรปทั้ง Typhoon และ Rafale นั้นอาจจะเสียเปรียบเรื่องความซ้ำซ้อนกับ Su-30MKI ร่วมถึงราคาที่แพง ถ้าเทียบกับ MiG-35 ของรัสเซียซึ่งมีขนาดกลางและราคาถูกกว่าสามารถจัดหาได้เป็นจำนวนมากเพื่อทดแทนฝูง บ.MIG-21 ที่อินเดียใช้งานอยู่เป็นจำนวนมาก

อย่างไรก็ตามเนื่องจากในกองทัพอากาศอินเดียเองก็มีกระแสต่อต้านความน่าเชื่อถือของ บ.จากรัสเซียออกมาบ่อยๆ(MiG-21 นั้นประสบอุบัติเหตุตกบ่อยมาก) ร่วมถึงความสัมพันธ์ทางทหารกับบสหรัฐฯที่พัฒฯขึ้นมากทั้งการจัดหา บ.ลำเลียง C-130 และ บ.ลาดตระเวนทางทะเล P-8 ในอนาคตของอินเดีย ซึ่งก็เป็นไปได้เช่นกันว่า บ.ขับไล่ของสหรัฐฯคือ F-16IN และ F/A-18F อาจจะมีโอกาสในโครงการ MMRCA ก็ได้ครับ

โดยคุณ AAG_th1 เมื่อวันที่ 16/01/2009 08:20:04


ความคิดเห็นที่ 7


ขอแนะนำเสี่ยครับ เรื่อง Marketing นี่ ต้องลด แลก แจก แถม ยังไม่พอครับ ถ้าได้ ของแถมแบบ ทอ. เชค อะจึ๋ย ๆ ขาว อวบ ใหญ่ ถึงเนื้อถึงตัว ไม่ต้อง Lobby ให้เหนื่อยครับ 

ส่วนตัว Gripen อดแหมๆ
ข่าววงในยังไม่มีแพรม Schedule ของพวกเสธ สแนดิเนเวี่ยนเลยทั้งหลายเลย

สำหรับ LM และ Boeing ตอนนี้ ไม่ได้ทำ Marketing ครับ เขาทำ Market Dumping แค่เขาต้องการลดความเสี่ยงในอนาคต บอกได้คำเดียว ตายหยังเขียดทุกเจ้า เรื่องบนหน้ากระดาษที่เปรียบเทียบสมรรถนะอาจจะสู้กันได้หรือดีกว่า แต่ โลกแห่งความเป็นจริงช่างโหดร้าย ซะนี่ สงสารพวกค่ายยุโรปจริงๆ เสียดาย ประเทศเรา ... ไม่อยากพูดถึง
โดยคุณ yaiterday เมื่อวันที่ 16/01/2009 08:41:33


ความคิดเห็นที่ 8


อ่าว กลายเป็นว่าเป็นข่าวเต้าครับ Gripen ยังไม่ถูกตัดออก - - ....... ยังไงก็รอเขาทดสอบเครื่องอีกที ......... แต่ยังไงผมก็ยังยืนยันที่พูดไปน่ะครับ Gripen ไม่รอดหรอกที่อินเดีย


Gripen Denies It Failed MMRCA Evaluation


Jan 16, 2009

Gripen is denying a news report in a local daily claiming the company will be left out of field trials for India’s Medium Multi-Role Combat Aircraft (MMRCA) competition because it didn’t make the grade with the Indian Air Force’s Technical Evaluation Committee.

The technical report is said to have been submitted to the Indian ministry of defense in mid-November of last year. It now has to be approved by the ministry before the field trials can begin.

Eddy de la Motte, director of Gripen International in India, told Aerospace DAILY, “Whether any of the competitors has failed to meet the cut for field evaluation or not is a question that should be put to the Indian Air Force. We firmly believe the report does not have any basis and the news is incorrect.

“Gripen meets or exceeds every operational requirement raised by the IAF in all roles — air-to-air fighter, [beyond visual range/within visual range], air-to-surface land and sea, and reconnaissance,” de la Motte added.

The six contenders for the 126-aircraft program also include Boeing’s F/A-18E/F, Lockheed Martin F-16, EADS Eurofighter, Dassault Aviation’s Rafale and the Russian Aircraft Corporation’s (RAC) MiG-35.

“It defeats the purpose for the air force not to experience all the six aircraft,” one senior official said. “We have nothing to lose to check them all out.” This substantiates another source that tells Aerospace DAILY that all six contenders are scheduled to participate in hot/cold trials beginning in April.

There has been speculation that with India’s indigenous Light Combat Aircraft slated to enter production in 2012, the Gripen acquisition may become extraneous. However, Gripen says it is not competing with the LCA. “In fact, the LCA program could benefit immensely from this array of technology, which Saab is happy to transfer,” de la Motte said.

The Gripen IN is a medium-weight multi-role fighter aircraft with a maximum takeoff weight 16.5 ton. The company says it is on schedule for delivery ahead of the other aircraft in contention for the MMRCA program.

Gripen has indicated that a “wide range of state-of-the-art weapons can be sourced from manufacturers worldwide, giving the Indian Air Force freedom of choice by avoiding sole source supply constraints.”

Photo: Gripen

http://www.aviationweek.com/aw/generic/story_channel.jsp?channel=defense&id=news/GRIP011609.xml&headline=Gripen%20Denies%20It%20Failed%20MMRCA%20Evaluation
โดยคุณ Skyman เมื่อวันที่ 16/01/2009 22:12:31


ความคิดเห็นที่ 9


.....ความน่าจะเป็นของโครงการนี้ผมว่า ราฟาลและ มิก-35 น่าจะเป็นหนึ่งในตัวเลือกที่ อินเดียสนใจน่ะครับ  เนื่องจาก อินเดียมี มิราจ-2000 และ มิก-29 เค และซู-30 ซึ่งน่าจะทำให้เป็นหนึ่งในตัวเลือกที่อินเดียยังไว้ใจ ต่ำๆก็ราคาล่ะ นอกจากนั้น อินเดียก็พึ่งสั่ง มิก-29เคมาประจำการ เรื่องความไม่มั่นใจนั้นส่วนตัวว่าคงไม่มีผลมากน่ะครับ  และไม่ทับกับแบบอากาศยานตัวอื่น

...แต่ก็ต้องรอดูกันไป

โดยคุณ MIG31 เมื่อวันที่ 16/01/2009 23:44:13


ความคิดเห็นที่ 10


ถ้าเรามีเงินมากขนาดอินเดีย...เราก็คงไม่เลือกjasเหมือนกันนะผมว่า
โดยคุณ OMAGA เมื่อวันที่ 18/01/2009 01:50:05