January 2, 2009: In Shanghai, China, shipyard employees report that the Chinese Navy has ordered two 60,000 ton aircraft carriers, and preparations are under way to begin construction this year, with completion scheduled for 2015. Fifty Russian Su-33 jet fighters would be imported to serve on the new carriers. Chinese naval aviators would use the former Russian carrier Varyag as a training ship, to learn how to operate the Su-33s off carriers. Recently, Chinese officials visited Ukraine and inspected the naval aviation training facilities that were built there before the Soviet Union dissolved (and Ukraine was part of the Soviet Union). Ukraine wants to use those facilities to establish an international center for training carrier aviators.
Chinese admirals have said they need carriers to assure Chinese access to raw materials, especially oil, that comes by sea. China hopes to get key components for the carrier from Russian manufacturers. If that is possible, completion of the carriers might be speeded up by a year or two.
Three months ago, China announced that its first class of carrier aviators had begun training at the Dalian Naval Academy. The naval officers will undergo a four year course of instruction to turn them into fighter pilots capable of operating off a carrier. China already has an airfield, in the shape of a carrier deck, built at an inland facility. The Russians have warned China that it may take them a decade or more to develop the knowledge and skills needed to efficiently run an aircraft carrier. The Chinese are game, and are slogging forward.
A year ago, the Russian aircraft carrier Varyag was renamed the Shi Lang (after the Chinese general who took possession of Taiwan in 1681, the first time China ever paid any attention to the island) and given the pennant number 83. The Chinese have been refurbishing the Varyag, one of the Kuznetsov class that Russia began building in the 1980s, for several years now. It is expected to be ready for sea trials any day now.
Originally the Kuznetsovs were conceived of as 90,000 ton, nuclear powered ships, similar to American carriers (complete with steam catapults). Instead, because of the cost, and the complexity of modern (American style) carriers, the Russians were forced to scale back their goals, and ended up with the 65,000 ton (full load ) ships that lacked steam catapults, and used a ski jump type flight deck instead. Nuclear power was dropped, but the Kuznetsov class was still a formidable design. The thousand foot long carrier normally carries a dozen navalized Su-27s (called Su-33s), 14 Ka-27PL anti-submarine helicopters, two electronic warfare helicopters and two search and rescue helicopters. But the ship can carry up to 36 Su-33s and sixteen helicopters. The ship carries 2,500 tons of aviation fuel, allowing it to generate 500-1,000 aircraft and helicopter sorties. Crew size is 2,500 (or 3,000 with a full aircraft load.) Only two ships of this class exist; the original Kuznetsov, which is in Russian service, and the Varyag.
The Chinese have been in touch with Russian naval construction firms, and may have purchased plans and technology for equipment installed in the Kuznetsov. Some Chinese leaders have quipped about having a carrier by 2010 (this would have to be a refurbished Varyag). Even that would be an ambitious schedule, and the Chinese have been burned before when they tried to build new military technology in a hurry.
จีนสั่งต่อเรือบรรทุกเครื่องบินขนาด 60,000 ตันจำนวน 2 ลำจะลงมือสร้างในปีนี้ กำหนดเสร็จในปี 2015 โดยจะสั่งเครื่อง Su-33 จำนวน 50 ลำมาประจำบนเรือ
60,000 ตัน นี่แบบ full load หรือยังครับ ถ้ายังไม่ใช่ full load ก็อาจจะหมายความว่า full load จะอยู่อาจถึง 75,000 - 80,000 ตันเลยนะครับ ก็จะไปมีขนาดพอๆกับเรือชั้น คิตตี้ฮอว์ค ของอเมริกัน แต่ดูจากความจุเครื่องบินขับไล่ขนาด SU-33 ที่เก็บได้ถึง 50 เครื่องนี่ มันไม่ใช่เล็กๆเลยนะครับ น่าจะกว่า 300 เมตรล่ะ เพราะเรือบรรทุกบ.อเมริกันชั้น นิมิต เองก็สามารถบรรจุบ.ขนาดใหญ่อย่าง F-14 ได้ราวๆ 45 - 50 เครื่อง
ผมว่าแผนแบบก็ไม่หนีไปจากเรือชั้น Varyak หรอกครับ และที่ varyak เองบรรทุกบ.ได้น้อยทั้งๆที่มีขนาดพอๆกับเรือชั้นคิตตี้ฮอว์ค ก็เพราะว่าต้องเสียพื้นที่โรงเก็บไปให้แท่นยิงอาวุธครุยส์ VLS ตรงกลางลานบินไป แบบว่าเรือชั้นนี้มีหลักนิยมต่างจากอเมริกา คือ เรือบรรทุกบ.ต้องสามารถป้องกันตัวเองได้เต็มที่แม้ว่าจะไม่มีเครื่องบินประจำบนเรือเลย อำนาจการยิงนี่พอๆกับเรือลาดตระเวน ดังนั้นจึงต้องเสียพื้นที่จำนวนไม่น้อยให้กับระบบอาวุธ เพราะเขาว่าไม่อยากให้เรือบรรทุกบ.เป็นแค่เป็ดลอยน้ำเมื่อต้องสูญเสียเครื่องบินทั้งหมดไปในการรบแบบเรืออเมริกัน
จีนอาจจะใช้หลักนิยมของอเมริกาก็ได้นะครับ คือ เน้นให้เรือบรรทุกบ.เป็นแค่สนามบินลอยน้ำ มีระบบอาวุธแค่ป้องกันตัวเฉพาะจุด ซึ่งอำนาจการยิงไม่ได้ดีไปกว่าเรือฟรีเกต 1 ลำ แต่พึงพาเรือรบที่เป็นฉากในการป้องกันทุกรูปแบบ อย่างว่า ก็ได้แต่เดาดังนั้นรอชมกันต่อไป
ประวัติศาสตร์เริ่มซ้ำรอยซะแล้วสิ นึกถึงตอนที่ญี่ปุ่นเรืองอำนาจแล้วสะสมกองเรือบรรทุกบ.แข่งกับอเมริกาจนเรียกได้ว่า บนโลกใบนี้มีแค่อเมริกาและญี่ปุ่นที่มีกองเรือบรรทุกบ.ที่ทรงอำนาจที่สุดในโลก(รวมทั้งเครื่องบินประจำเรือด้วย) ส่วนอังกฤษนั้นเรือกว่าครึ่งในสมัยสงครามโลก อเริกาซิกแซกต่อให้ครับ แบบว่าประจำการแค่สัปดาห์ สองสัปดาห์ก็ปลดประจำการขายต่อให้อังกฤษเฉยเลย
แก้ไขครับจาก
"ส่วนอังกฤษนั้นเรือกว่าครึ่งในสมัยสงครามโลก"
เป็น
"ส่วนอังกฤษนั้นเรือบรรทุกบ. กว่าครึ่งในสมัยสงครามโลก"
...เรือบรรทุกอเมริกา นั้นมีประสบการณ์ในการวางกำลังทั้งทางเรือคุ้มกันและทางอากาศ ซึ่งกองเรือ1ลำจะมีเรือหลายระดับป้องกันและโจมตีได้จากระยะไกลด้วย จรวดครูซและแซม อีกเรื่องคือ บ.ข.ประจำเรือประเภทต่างๆ ที่ช่วยอุดช่องว่างในการทำการรบมากขึ้น โดยเฉพาะ เอแวค อย่าง อี-2 ซึ่งมีพิสัยกวาดแจ้งเตือนมากกว่า เฮลิกซ์ และ เครื่องทำ อีซีเอ็ม อย่าง เอฟ-18 จี
....ถ้าจีนทำตามแบบอเมริกาต้องมีเครื่องบินข้างต้น ประมาณเนี้ยล่ะ แต่ค่อนข้างจะใช้งบประมาณ
.....ส่วนรัสเซียก็แบบที่เราเห็นๆ เรือ1ลำสามารถต่อกรกับ กองเรือได้ ด้วยขีปนาวุธติดหัวรบนิวเคลียร์ประจำ บ.ข. และใช้ยุทธศาสตร์เรือดำน้ำ เข้าทำการรบโดยการชี้เป้าด้วย บ.ลาดตระเวณระยะไกล ส่วนกองเรือก็ไม่มากแต่เน้นทำการรบได้ครอบคลุมทั้งระยะใกล้และไกล ในเรือ1ลำ น่ะครับ....แต่ต้องรอดูไปก่อน
.....ทีนี้ ต้องมาลุ้นว่า เกาหลีใต้และญี่ปุ่นใครจะมี เรือบรรทุกเครื่องบินก่อนกัน แต่ญี่ปุ่นเขาพร้อมมานานแล้วล่ะ
ญี่ปุ่นเองคงจะไม่น่าจะมีการต่อเรือบรรทุกเครื่องบินแท้ๆออกมาครับ เพราะติดข้อจำกัดในรัฐธรรมนูญที่กองกำลังป้องกันตนเองหามีอาวุธทางรุกโดยตรงในลักษณะรุกรานประเทศอื่นได้ แต่ถ้าดูจากเรือพิฆาตบรรทุก ฮ.ชั้น Hyuga (DDH-181) แล้วไม่ใช้เรื่องยากที่ญี่ปุ่นจะต่อเรือบรรทุกเครื่องบินใหม่ได้เอง ถึงแม้ว่าญี่ปุ่นจะประกาศว่าเรือชั้นนี้ไม่รองรับปฏิบัติการของ บ.ปีกตรึงเพราะดาดฟ้าบางเกินไปก็ตาม(เรือพิฆาตอะไรดาดฟ้ายาวทั้งลำระวางขับน้ำตั้ง 18,000ตัน จริงๆแล้วเรือชั้นนี้ควรจะเรียกเป็นเรือบรรทุก ฮ./บัญชาการ มากกว่าครับ)
ในส่วนของเกาหลีใต้นั้นการต่อเรือ LPD ชั้น Dokdo ก็แสดงให้เห็นถึงความพร้อมในการต่อเรือขนาดใหญ่ที่สามารถรองรับปฏิบัติการของอากาศยานขึ้นลงทางดิ่งได้หลายลำครับ แต่ในปัจจุบันนั้นเกาหลีใต้คงไม่น่าจะมีแผนชัดเจนในการต่อเรือบรรทุกเครื่องบินขณะนี้ครับ เพราะโครงการด้านการจัดหากำลังทางเรือสำคัญๆยังมีอีกมาก เช่นการจัดหาเรือ KDX-III ให้ครบ การจัดหาเรือทดแทนเรือตรวจการณ์ และเรือฟริเกตเก่าเป็นต้น ซึ่งในส่วนเรือบรรทุกเครื่องบินสำหรับเกาหลีใต้นั้นถ้ามีคงจะเป็นโครงการในระยะยาวครับ
คำตอบสำหรับท่าน neosiamese เรื่อง Full load และท่าน MIG31 เรื่องใครกำลังต่อเรือบรรทุกเครื่องบินอยู่บ้าง คงหาได้จากข่าวนี้
January 2, 2009
All of a sudden, six nations are building aircraft carriers (the U.S., Britain, France, Russia, India and China.) For over half a century, most of the carrier building took place in the United States. Russia built some, without much success, towards the end of the Cold War. Britain and France built a few, and several other nations (like India and Brazil), bought second had British carriers so they could maintain one or two in service.
But now six nations are planning or building new carriers, most of them a bit smaller (about 60,000 tons) than the larger U.S. ones (100,000 tons). Britain recently delayed construction, for a year or two, of its two new carriers, but is still determined to go ahead. France has a new one in the works, as does India. China has been cagey about its carrier plans, but all indications are that it is definitely headed that way. Russian admirals are speaking openly about building four or more additional carriers (Russia already has one of its last Cold War carriers refurbished and in service.) The current global economic recession is delaying, but not cancelling, some of these carrier building plans.
Why all this sudden interest in carriers? Partly its because the United States has consistently demonstrated the usefulness of having a carrier that can quickly show up off a troublesome coast. Moreover, the 2001 operation in Afghanistan was a success partly because carriers were there, using smart bombs, to deliver a decisive amount of firepower. Thus demonstrating that, with the new, more precise weapons, one carrier can have a much more decisive impact than in the past. But partly its because of the end of the Cold War, and a tremendous growth in world economies. Russia, China and India have larger GDPs, and defense budgets, than they have ever had. Gotta spend it on something, and carriers are a sign that youve joined the Big Boys Club.
คอยติดตามชมตอนต่อไป...
((อนาคต อะไรมั่งที่จีนยังไม่มี..แต่usa มี))
ภาพลายเส้นที่แสดงรูปว่าเรือชั้น Hyuga นั้นสามารถเก็บและรองรับปฏิบัติการของ F-35 ได้นั้น เป็นเพียงภาพตัดต่อโดยบุคคลภายนอกเท่านั้น ไม่ใช้ภาพที่เป็นทางการ ดังนั้นจึงต้องยืนยันข้อมูลทางการของญี่ปุ่นเป็นหลักครับ และระบบ Radar Phase Array ที่ติดตั้งบนเรือนั้นก็เป็นระบบที่ญี่ปุ่นพัฒนาเองครับถ้าจำไม่ผิดคือแบบ FCS ไม่ใช้ AEGIS
จริงเรื่องเกี่ยวกับเรือขนาดใหญ่ของ JMSF ที่สามารถรองรับปฏิบัติการของ บ.ปีกตรึงได้นั้นก็เห็นมีมานานตั้งแต่ต่อเรือระบายพลชั้น Osumi (LST-4001) ซึ่งเป็นเรือ LPD ดาดฟ้าเรือยาวตลอดลำว่ารองรับปฏิบัติการของ AV-8 ได้นานแล้วครับ ซึ่งมีการยืนยันจากทางการญี่ปุ่นว่าเรือชั้นนี้ไม่รองรับปฏิบัติการของ บ.ปีกตรึงได้เช่นกันครับ
แต่ปัจจุบันญี่ปุ่นยังไม่มีแนวคิดที่จะจัดหา บ.ปีกตรึงขึ้นลงทางดิ่งไม่ว่าจะเป็น AV-8 หรือ F-35 ครับ ซึ่งถ้ามองจากข้อจำกัดด้านรัฐธรรมนูญแล้วการออกแบบเรือก็คงไม่รอบรับแต่แรกตามนั้นครับ
....การที่ญี่ปุ่นต่อเรือ ที่มีดาดฟ้ายาวตลอดลำ เป็นการแสดงให้เห็นว่า ญี่ปุ่นมีขีดความสามารถ ต่อเรือบรรทุกเครื่องบินได้แค่เพิ่มความมั่นคงให้ดาดฟ้าเท่านั้น โดยบางบอร์ดในต่างประเทศ ให้ความเห็นว่า ออกแบบเป็นเรือพิฆาต บรรทุก ฮ. แต่ไม่มีขีดความสามารถในการต่อตีเป้าหมายทางเรือรบ ได้เลยและป้องกันทางอากาศอีกด้วย แต่มีเพียงแซม อย่าง ซีสแปโรว์ ในท่อยิง วีแอลเอส เท่านั้น นอกนั้นเป็น ฮ.หมด อาจจะเป็นการเพิ่มภาระให้กับกองเรือ ยกเว้น จะต่อเรือขนาดเดียวกับ Hyuga และจัดหา เอฟ-35 มาประจำการ โดยไม่ใช้ขนาดเรือแต่ สร้างขนาดเดียวกันกับHyuga แต่หลายลำ ให้ทำการรบครอบคลุม และประหยัดกว่า เรือใหญ่ๆ1ลำน่ะครับ
....อันนี้ก็เป็นความเห็นทั่วไป แต่ต้องมารอดูล่ะ
ขอบคุณ คุณ AAG th1 สำหรับข้อมูลครับ
By Philip Ewing - Staff writer
Posted : Monday Jan 5, 2009 18:37:04 EST
China plans to begin building two aircraft carriers next year, a Japanese newspaper reported Wednesday, in what would be its first attempt at fixed-wing naval aviation and a potentially major new variable in the strategic calculus of the Pacific.
........................... Blah Blah Blah........................
Chinas carriers if the Japanese report is accurate would likely be comparable to the Royal Navys Queen Elizabeth-class ships, now just beginning construction. Slightly larger, at 65,000 tons, the Queen Elizabeth is designed for a complement of around 1,400 sailors, including its ships company and air wing, and designed to carry about 40 strike aircraft, plus additional helicopters, according to Combat Fleets of the World.
Because the Chinese carriers are smaller and shorter-ranged than their American counterparts, the U.S. shouldnt view them as a threat, the Chinese naval official told the Asahi Shimbun.
แหมมีการออกตัวไว้ก่อนด้วยว่า สหรัฐไม่ควรเห็นว่าเรือบรรทุกเครื่องบินจีนเป็นภัยคุกคาม