ข่าว(อย่างไม่เป็นทางการ) จากการฝึก Red flag ที่รัฐเนวาด้าในสหรัฐ ที่อินเดียได้ส่งเครื่อง Su-30 MKI เข้าร่วมการฝึกจำนวน 8 ลำนั้น
แม้ว่าการฝึกจะมีข้อกำหนดจำกัดในการใช้คุณสมบัติของเครื่องบิน Su-30 อย่างเต็มที่ก็ตาม แต่ทางนักบินของสหรัฐและของนาโต้ก็ได้เห็นสมรรถนะมากพอจนตระหนักได้ว่าเครื่อง Su-30 ทุกรุ่นแม้แต่รุ่น MKI(อันน่าจะเป็นรุ่น Top) ก็ไม่ใช่เครื่อง super fighter อันเกินกำลังที่เครื่องบิน F-15 และ F-16 จะรับมือได้ โดยเครื่องบินที่อาจจะสามารถกำราบ Su-30 ได้อย่างสิ้นเชิงคือเครื่องบิน F-22
อันนี้ก็ถอดมาจากบทความนะครับ ไม่ได้คิดเอง(บรรดาสาวก Su-30 ก็อย่าเคืองกัน)
"แม้ว่าการฝึกจะมีข้อกำหนดจำกัดในการใช้คุณสมบัติของเครื่อง
บิน Su-30 อย่างเต็มที่"
เหมือนให้มวยไทย สู้กับ คิกส์บ๊อกซิ่ง โดยให้ ห้ามศอก ห้ามเข่า
ห้ามนู้ห้ามนี่ หรือป่าว?
รบจริง มีอะไรก็ต้องประเคนหมดนิ!
"เครื่อง Su-30 ทุกรุ่นแม้แต่รุ่น MKI(อันน่าจะเป็นรุ่น Top)
ก็ไม่ใช่เครื่อง super fighter อันเกินกำลังที่เครื่องบิน F-15
และ F-16 จะรับมือได้ "
ริบอาวุธเขาแล้วสู้ เหมือนให้มัดมือแล้วชก แล้วยังยากที่จะสู้
อย่างสบาย แสดงว่า SU30 นี่ เอาเรื่องทีเดียว!
ขอบคุณเสี่ยโยและคุณ Monsoon ครับ
ผมมองว่า มันเป็นแค่การฝึก ผมลองหาอ่านบทความของหลายสำนัก เนื้อหาก็ต่างกันนะ ถ้าจะเทียบกันมันพูดยากนะ เราไม่ได้พูดถึง ตัวเครื่องบินอย่างเดียว มันมีทั้ง Hardware, Software, Support, Logistics และ Infrastructure ด้วย ยังไม่พูดถึงงบประมาณและมิติทางด้านเวลา ที่สำคัญที่สุด ทรัพยากรบุคคล พูดง่ายๆ มันแค่การฝึก
คิดง่ายๆ ปัจจัยด้านมิติเวลา ซู-30 ใช้เวลาเตรียม Taxi นานกว่า เครื่องตระกูล เอฟ ราว 1 นาที ผมว่าเราน่าจะได้บทสรุปแล้วนะ
อย่าคิดมาก มันคือการฝึก
ต้องขอบคุณ เสี่ยโย และคุณ Monsoon สำหรับบทความนะครับ ผมลองหาอ่านจากหลายๆสื่อแล้ว ความคิดเห็นหลากหลาย
มันเป็นแค่การฝึกครับ สิ่งที่เราได้คือ ข้อเท็จจริง ไม่ได้มีนัยยะสำคัญมากกว่านี้ การรบจริงๆมีปัจจัยหลายอย่างครับ เครื่องตระกูล เอฟ หรือ ซู-30 มีข้อแตกต่างกันมาก เรายังไม่ได้พูดถึง Hardware, Software, Infrastructure, Support Systems, Logistics, Mannership, ระบบอาวุธ นักบิน หรือ มิติสัมพันธ์ต่างๆ เช่น เวลา ระยะทาง (เคยมีท่านสมาชิก กล่าวใว้ในกระทู้ก่อนหน้าแล้วครับ)
คิดง่ายๆ ข้อเท็จจริง คือ ซู-30 ใช้เวลา Taxi มากกว่า ตระกูล เอฟ ราว 1 นาที ยังไม่ต้องคิดถึงปัจจัยอื่น ไม่ต้องทำนายผลลัพธ์ครับ
....เอฟ-16 นี่บล็อคไหนแล้วใช้ตัวช่วยรึเปล่าน่ะครับ เช่นเอแวค กระเปาะต่างๆ ส่วนซู-30 มาโดดๆ ติดอาวุธแค่ระยะกลางและใกล้แบบเนี้ย
....ถึงมันจะฝึกก็เถอะ จะกลายแบบว่า เอแวคแจ้ง และ จ่ายถวายพานให้ เอฟ-16 สอยนี่น่ะสิ แล้วเอามาประโคมข่าวน่ะครับ
ยังมีอีกหลายปัจจัยครับ ที่ส่งผลต่อการรบในอากาศ
การรบจริงคงไม่ใช่บินมา 8 ลำ โดยปราศจากเครื่องที่ทำหน้าที่อื่นหรอกครับ
สุดท้ายก็แค่ประโคมข่าว
พอช่วง 2010 หลังจากที่ MKI ลองมาติด IBRIS แล้วก็จะรู้กันครับว่า ใครจะอยู่จะไประหว่าง F-22 กับ SU-30
N011M ยังขนาดนี้
แล้วเจ้า Irbis หรือ Snow Leopard ที่จะมาแทน N011M ช่วงปี2010เป็นต้นไปนี่ ไม่อยากจะคิดเลยว่าประสิทธิภาพมันจะขนาดไหน
ว่าแต่คุณดิ่งนรกพอจะทราบข้อมูลของมันบ้างหรือเปล่าครับ
N011M ยังขนาดนี้
แล้วเจ้า Irbis หรือ Snow Leopard ที่จะมาแทน N011M ช่วงปี2010เป็นต้นไปนี่ ไม่อยากจะคิดเลยว่าประสิทธิภาพมันจะขนาดไหน
ว่าแต่คุณดิ่งนรกพอจะทราบข้อมูลของมันบ้างหรือเปล่าครับ
Irbis Specifications
Dimensions: Antenna Diameter 900 mm
Performance: Azimuth Coverage 120 ° with both mechanical and electronically steering, Coverage in Elevation 60 °, Max Detection Range 400 km (216 nm) target RCS = 3 sqm, Max Engagement Range 150 km (81 nm), Small Air Target Detection Range 90 km (49 nm) target RCS = 0.01 sqm
Other: Engaged Aerial Targets 8 with RVV-AE missiles or two with semi-active guidance missiles, Tracked Aerial Targets 30
The Irbis, also known as Irbis-E, is an advanced X-band multi-mode phased array radar system developed by Tikhomirov NIIP for the Su-35 multi-purpose fighter aircraft. NIIP developed the new radar based on the Bars radar system provided to Su-30MKI/MKM/MKA aircraft. Its development started in 2004 and the first radar prototype entered flight tests onboard an Su-30MK2 aircraft acting as a test bed in early 2007. The resulting radar system will provide air-to-air, air-to-sea and air-to-ground (ground mapping, Doppler beam sharpening and Synthetic Aperture radar modes) modes with improved performance in intense clutter environments compared to Bars. In addition, Irbis has been designed to detect low- and super-low-observable/stealth airborne threats.
The Irbis multifunctional radar employs a 900mm passive phased array antenna mounted on a hydraulic actuator. With electronically steering, it can scan sectors of 60 degrees in both azimuth and elevation. Using the hydraulic actuator (mechanical steering), the azimuth coverage boosts to 120 degrees. It can detect and track up to 30 airborne targets with a Radar Cross Section (RCS) of three square meters at ranges of 400 kilometers using track-while-scan mode while engaging two targets with semi-active radar homing missiles or up to eight targets with active radar homing missiles. In the air-to-surface mode the Irbis provides clues allowing to attack a surface target with precision-guided weapons while scanning the horizon searching for airborne threats that can be engaged using active radar homing missiles.
Tikhomirov NIIP has provided the ability to spot super-low-observable targets with RCS = 0.01 square meters at ranges out to 90 kilometers. This capability might allow Su-35 aircraft to engage cruise missiles and unmanned aerial vehicles as well as fifth generation stealth fighter aircrafts such as the F/A-22 Raptor and F-35 Lightning II. NIIP and GRPZ will take care of the Irbis production with the first radar system slated for installation on the Su-35 in August 2007.
เรียนท่าน ขำขำวุ้ย
เอาราคามาเปรียบเทียบให้ดู
1. F-22 $355M
2. F-35 $122M
3. F-18G $105M
4. F-15E $100M
5. F-18 $94M
6. F-16 $60M
7. UAV Global Hawk $182M