หน้าแรก    ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบคำถาม    เข้าสู่ระบบ      


KRI Makassar class LPD ของ ทร.อินโดนีเซีย

โดยคุณ : juldas เมื่อวันที่ : 01/02/2009 16:53:24

PAL launches mily LPD ship


Surabaya (ANTARA News) - PT PAL Indonesia launched Landing Platform Dock (LPD) worth 19.9 million US dollars ordered by the Defence Ministry for the Indonesian Navy.

"The LPD is the third of four ordered with Daewoo International Corporation and built by PT PAL Indonesia," defence equipment director general Air Marshal Eris Herryanto said here, Thursday.

The ministry ordered four LPDs through the export credit facility with Daewoo International Corporation, by signing a Manufacturing and Purchasing Contract on December 19, 2003.

Two of the ordered LPDs were built in Korea and are now already operating, meanwhile two others are built by PT PAL Indonesia as a technology transfer project.

The LPD launch was delayed nine times.

"PAL Indonesia`s readiness to accept the order was based on our experience, since 1980 our industry has built 150 ships of different sizes and types," said PT PAL Managing Director, Hars Susanto, during the LPD Launching.

PT PAL Indonesia has produced mercant ships of up to 50,000 DWT (Deadweight tonnes) and warships, with their length ranging from 14 meters, 28 meters and 57 meters and Fast Patrol Boats of many versions.

The third and fourth LPD built by PT PAL Indonesia was built specially with 100-mm guns and equipped with fire control system which enable for an effective self defence.

The LPD W000239 spesifications are, 125 m overall length, 4.9 m maximun draft, 15 knot maximum speed, 344 personel maximun embarkation and able to carry four helicopters.(*)

COPYRIGHT © 2008 ANTARA





ความคิดเห็นที่ 1


 

Daewoo International to Export 4 Warships to Indonesia
By Na Jeong-ju
Staff Reporter

Daewoo International Corp, a major Korean trading company, said Tuesday it has signed a $150-million contract to provide four warships to the Indonesian navy in what is viewed as a major step in boosting its presence in the naval technology business in Southeast Asian countries.

The four warships - three common landing platform docks (LPDs) and a command ship - will be exported to Indonesia from January for use by its navy in warfare and practice missions, the firm said.

The LPD is designed to transport troops into a war zone by sea using landing craft. It embarks, transports and lands soldiers and landing craft and can also be used for landings by helicopters.

Daewoo International said in a statement that the contract was a result of the know-how and capabilities it and its partners have built up in the military ship business. South Korea Dae Sun Shipbuilding and Engineering has manufactured two of the LPDs and will give technological support to Indonesian firms for the building of the remaining two, Daewoo said.

LPDs are emerging as key military items for Southeast Asian countries for enhancing naval defense capabilities, Daewoo International said, adding it expects mega deals from other nations in the coming months.

Daewoo International has been playing a bridging role between South Korean shipbuilding firms and the Indonesian navy for exports of naval technology. The firm signed a contract worth $50 million in 2000 to provide a multi-purpose hospital ship and tug boats to the Indonesian navy. In 2003 it won a $60-million Indonesian military project to enhance submarine facilities and naval warfare capabilities.

jj@koreatimes.co.kr
12-21-2004 16:45

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 06/09/2008 01:24:39


ความคิดเห็นที่ 2


ANTARA บอกว่า LPD ลำละ 19.9 ล้านยูเอส เปลี่ยนเป็นเงินไทยได้ 680 ล้านบาท ทำไมมันถูกจังครับ

ส่วนของไทย ตกลงจะหมั้นหมายกับหมวยสิงค์รึเปล่าครับ ? กองเชียร์รอฟังข่าวดีอยู่นะ...

 

โดยคุณ เสือใหญ่ เมื่อวันที่ 06/09/2008 01:09:32


ความคิดเห็นที่ 3


ทร.อินโดนีเซีย ทำสัญญาต่อเรือ LPD กับ เกาหลีใต้ เมื่อปี 2547 มูลค่า 150 ล้านเหรียญ โดยทำการต่อเรือที่ เกาหลีใต้ จำนวน 2 ลำ และต่อที่อินโดนีเซียเอง จำนวน 2 ลำ

รายละเอียดเรือชั้น Makassar Class

http://en.wikipedia.org/wiki/KRI_Makassar_class

เมื่อคำนวณ เป็นเงินบาท ณ ปี 2547 (สมมติที่ 40 บาทต่อ ดอลล่าร์) มูลค่าก็ประมาณ 6,000 ล้านบาท (ลำละ 1,500 ล้าน) ซึ่งดูแล้วทำไมราคามันถูกจัง หรือว่า มูลค่า 150 ล้านเหรียญนั้น เป็นเพียงเรือจำนวน 2 ลำที่ต่อจากเกาหลีใต้ รวมกับการถ่ายทอดเทคโนโลยี่การต่อเรือชั้นดังกล่าว ให้ อินโดนีเซีย โดยยังไม่รวมมูลค่าการต่อเรือที่อินโดฯ อีก 2 ลำ ครับ...

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 06/09/2008 01:00:52


ความคิดเห็นที่ 4


รูปจาก militaryphoto

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 06/09/2008 01:03:04


ความคิดเห็นที่ 5


แล้วของ ทร.ไทย   หวย ออกรึยังครับ ?

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 06/09/2008 01:04:13


ความคิดเห็นที่ 6


จากข่าวตอนเซ็นสัญญา...(ภาษาอังกฤษ งู ๆ ปลา ๆ) หมายถึง 150 ล้านเหรียญ คือ เรือจำนวน 2 ลำ กับถ่ายทอดเทคโนโลยี่สำหรับเรืออีก 2 ลำ  ให้ อินโดนีเซีย รึเปล่าครับ ? ถ้าผมเข้าใจอย่างนั้น ก็เท่ากับราคาลำละประมาณ 3,000 ล้านบาท ส่วน 19.9 ล้านเหรียญ ผมว่าคงเป็นมูลค่าส่วนแรกของสัญญารึเปล่าครับ....

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 06/09/2008 01:29:40


ความคิดเห็นที่ 7


Two of the ordered LPDs were built in Korea and are now already operating, meanwhile two others are built by PT PAL Indonesia as a technology transfer project.

เข้าใจถูกต้องแล้วครับ 2ลำต่อในเกาหลี ส่วนอีก 2ลำต่อในอินโดฯ เป็นโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี่

โดยคุณ monsoon เมื่อวันที่ 06/09/2008 13:14:18


ความคิดเห็นที่ 8


เห็นเรือยกพลขึ้นบกของ อินโดแล้วก็ปลื้มกับเขา

แต่ขอสอบถามเพิ่มเติมว่า ตอนสมัยเราต่อเรือรบหลวง

จักรีนฤเบศ

 ที่เราต่อเรือเพราะต้องการเรือรบสำหรับกู้ภัยทางทะเล และต่อต้านกับ

พายุเกย์ ต่างๆ แต่ทำไมไหงออกมากลายเป็นเรือบรรทุกเครื่องบินไปได้ครับ  จำได้เลาๆว่า สเปนเสนอแบบมาแล้วเราก็สนองโดยพลันหรือเปล่าครับ ทำไมไม่ยักกะเอา เรือยกพลขึ้นบกแทนละครับเนี่ย

อยากทราบเหมือนกัน

โดยคุณ siamman18 เมื่อวันที่ 08/09/2008 01:41:39


ความคิดเห็นที่ 9


ช่วงที่จัดหา 911 ในครั้งแรก กระทรวงกลาโหม ขณะนั้นน่าจะเป็น พล.อ.ชวลิต ก็มีนโยบายให้ กองทัพเรือ ก้าวสู่ความเป็น BLUE NAVY กองทัพเรือจึงมีแผนจัดหา เรือบรรทุก ฮ. ข้อมูลไมแน่ใจ แต่กำหนดความต้องการไว้ 2 ลำ แต่งบประมาณสามารถจัดหามาได้ 1 ลำ...

และได้คัดเลือกแบบของ เยอรมัน ไว้...แต่เนื่องจากติดปัญหาเรื่องสถานะทางการเมืองของประเทศไทย (ผลต่อเนื่องจากการรัฐประหารนั่นแหล่ะ)...จึงไม่สามารถจัดหาได้...ต่อมา สเปน ได้เสนอแบบเรือมา โดยมี สกีจัมพ์ เป็นของแถม และเสนอขายพร้อม บ.แฮร์ริเออร์ ด้วย...เลยได้มากลายเป็น 911....

ส่วนเรื่องการจัดหา 911 ด้วยสาเหตุพายุเกย์...ผมว่าเป็นเรื่องข้ออ้างของ ประเทศไทย มากกว่า เนื่องจากการถูกต่อต้านจากการรัฐประหารของไทย...

แม้แต่ปัจจุบัน ทร. จัดหา MH-60S ยังต้องใช้เหตุผลเป็น ฮ.เพื่อกู้ภัย และค้นหา มากกว่าเหตุผลทางการทหาร...เหตุผลเดิม คือ สมดุลทางทหารจของภูมิภาค และผลต่อเนื่องจากการรัฐประหารของไทย...สภาครองเกรส ของสหรัฐ จึงยอมให้จัดหามาประจำการได้....

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 08/09/2008 06:29:02