ข้อร้อง อย่ามีอะไรเลย โชว์พาวน์กันได้ ด่ากันได้ แต่อย่ายิงกันก็พอ ขอให้มันเป็นแค่การแสดงกำลังเพื่อการเจรจาเท่านั้น หนทางที่ถูกต้องคือการเจรจาและการฑูตเท่านั้น ไม่ใช่สงคราม
Incursion claims, two sides to meet Monday
BANGKOK POST AND AGENCIES
� |
Thailand and Cambodia will hold an urgent meeting of the General Border Committee (GBC) on Monday to defuse the growing tension over the listing of the old Preah Vihear temple as a World Heritage site.
The decision comes as both countries are sending troop reinforcements to the sensitive border area.
Lt-Gen Sujit Sithiprapa, commander of the Second Army in charge of the northeastern region, has closed Khao Phra Viharn national park in Kantharalak district of Si Sa Ket and sealed access to the border in the area, banning visitors from seeing the temple ruins from the Thai side.
The road is now closed from the forestry district office, which is 8km from the borderline at Pha Mor E-Daeng.
The closure means members of the anti-government Peoples Alliance for Democracy will be unable to go to the border today as planned.
Si Sa Ket governor Sanee Jittakasem suggested they stage a protest in the district town instead.
About 900 Cambodians living on the mountain where the temple is located have fled their homes for a safer spot lower down, according to Cambodian border unit commander Seng Vuthy.
Three Thai protesters remained in the disputed area to meditate at Wat Phra Viharn, about 200m from the stone staircases leading to the temple. They were released on Tuesday after being detained, but refused to leave the 4.6 square kilometre disputed area.
The GBC, set up by the two countries to solve border issues, will meet for talks in Sa Kaeo province, the Foreign Ministry said.
The committee is co-chaired by the defence ministers of both countries. But it was unclear whether Defence Minister Samak Sundaravej and his Cambodian counterpart Gen Teah Banh will attend the talks or send representatives. The meeting was set for next month. The decision to bring it forward underlines the worry felt by both governments over the growing tension.
Thailand started reinforcing its troops yesterday after army chief Gen Anupong Paojinda ordered the First Special Warfare Unit to stand by at their base in Lop Buri province, and be ready for an airlift to the border in case of an emergency, an army source said.
Troops from the Artillery Regiment and the Third Infantry Division were already on their way to stations close to the border. The reinforcements from the three units would number about 800. Some 150 paramilitary rangers are already in the disputed area.
Air force chief ACM Chalit Phukpasuk assigned F-16 jets to patrol the border in Si Sa Ket yesterday and questioned the detention of three protesters by Cambodian soldiers in the overlapping zone.
Ownership of the overlapping area is still open. As the boundary has not yet been established, does Cambodia have any right to arrest us if we enter the area? he said.
Pol Capt Soy Burin of the Cambodian border patrol unit said more Cambodian troops had been sent to guard the ruins.
Phnom Penh has 380 soldiers stationed at the temple, according to Cambodian government spokesman Khieu Kanharith.
Despite the presence of more troops at the border, Gen Anupong instructed soldiers to avoid a clash with Cambodian soldiers.
Lt-Gen Sujit insisted on the presence of Thai troops in the disputed area unless Cambodia moves its soldiers out.
If Cambodia does not withdraw its soldiers, we wont either, because it is the overlapping area, he said.
Mr Khieu Kanharith backed off his assertion on Tuesday that Thai troops had been captured in Cambodia, saying it was a misunderstanding.
Cambodian Prime Minister Hun Sen told the public to remain calm and not to inflame [the situation] or add fuel to the fire
Political tensions driving temple row | |||||
A week after the controversial listing of the ancient Preah Vihear temple as a World Heritage Site, the dispute that has flared up between Thailand and Cambodia is still causing tension. The 11th-Century Hindu temple lies along the border between the two countries, but in 1962 the International Court of Justice judged that it belonged to Cambodia. However the land surrounding the temple is still disputed, and the only practical access is from Thailand. The issue has stirred up nationalist emotions in an already sensitive political climate in both countries. Early on Tuesday three Thai protesters crossed into the temple - which remains closed - and were detained for a short time by Cambodian troops. The Cambodian authorities also say 40 Thai soldiers crossed into their territory briefly, although they are putting this down to confusion over the precise line of the border. For both sides there is more at stake than a temple. Cambodia is preoccupied with a hard-fought general election campaign, in which Prime Minister Hun Sen aims to extend his more than two decades in power. Last week he encouraged thousands of Cambodians to join a rowdy celebration of the temples new international status in the capital, Phnom Penh.
In Thailand feelings are running even higher; the government elected last December was already floundering under a combined assault by street demonstrators, unfavourable court verdicts and the parliamentary opposition. Its opponents have accused it of incompetence, and of being led by nominees of former Prime Minister Thaksin Shinawatra, who was deposed by a coup in September 2006. Now the government is being attacked for selling out the country over Preah Vihear, because it initially supported Cambodias bid to list the temple. One of Thailands top courts judged that decision to be unconstitutional, as it was in effect a treaty which needed parliamentary approval, and it has barred the government from offering any further co-operation with Cambodia. As a result Foreign Minister Noppodol Pattama was forced to resign last week, one of three ministers to lose his job over the past two months. Opposition from elite The volatile state of Thai politics is the principal reason the row has blown up. Thai society is still deeply polarised between those who support Mr Thaksin, and want him to stage a political comeback, and those who loathed his leadership style and mistrust the motives of the government, which is led by his party. The fact that before being appointed foreign minister, Mr Noppodol had been Mr Thaksins chief lawyer made his position particularly vulnerable.
His critics accuse him of putting his former clients business interests in Cambodia before the countrys interests over the temple, something he has strongly denied. That suspicion harks back to the five-and-a-half years Thaksin Shinawatra was in office. As an immensely wealthy and successful businessman himself, he promoted his can-do ethos around the country, especially in poorer rural areas. He believed in the global marketplace, and in exposing Thais to its risks and opportunities. He pushed hard to privatise state-owned industries and get free trade agreements with as many countries as he could. Inevitably he provoked opposition from those who felt they would lose out, or from those who felt he cared more about making money than about Thailands traditions and interests. The most vehement opposition to the Preah Vihear World Heritage bid comes from the same groups who objected to many of Mr Thaksins policies: the traditional, royalist and aristocratic elite and elements of the Bangkok middle class. Historical rivalry But there are also genuine historical grievances at play. The international court decision awarding Preah Vihear to Cambodia in 1962 was not unanimous. It rested largely on Thailands failure to protest against the French-drawn border line in the decades before. At the time it was mapped, a hundred years ago, Thailand had few skilled cartographers of its own.
The French colonial cartographers were supposed to draw the border along the forested edge of the Dangret Escarpment, but they veered in a few hundred metres to put the temple on the Cambodian side. It is not clear why the Thais did not object then. But it is worth remembering that in 1941 Thailand fought its only war of the 20th Century with French colonial forces over where the border with Cambodia should lie. A huge monument in the centre of Bangkok still commemorates that conflict. At different periods in the past Thai and Khmer empires have vied for dominance in the region; the town next to the famous Khmer ruins at Angkor Wat is Siem Reap, which means Siam [Thailand] flattened. Khmer-style temples like Preah Vihear still dot much of Thailands north-east. That historical rivalry still resonates today. Only five years ago the Thai embassy in Phnom Penh was burned down by an angry mob after a Thai actress was wrongly quoted as saying Angkor Wat should belong to Thailand. As it awaited news of the listing of Preah Vihear as a World Heritage site, the Cambodian government took the precaution of reinforcing security around the re-built Thai embassy. |
Thai-Cambodia stand-off continues | |||
Officials from Thailand and Cambodia have called for dialogue as a military stand-off at an ancient border temple enters its second day. Two hundred Thai and 380 Cambodian troops are said to be deployed at Preah Vihear temple, which sits on disputed territory along the border. The build-up happened after Cambodia said Thai troops had crossed to its territory - a charge Thailand denies. It comes days after Unesco listed the temple as a World Heritage Site. The International Court awarded Preah Vihear temple to Cambodia in 1962, but areas around it remain the subject of an ongoing border dispute. The Unesco move has reignited nationalist tensions, particularly in Thailand. Opposition forces are using the issue to attack the government - which initially backed the heritage listing. Misunderstanding The stand-off began on Tuesday, when Cambodian guards arrested three Thai protesters.
Thai troops then began crossing the border, Cambodia said. Thai military officials say their troops are deployed in Thai territory. On Wednesday, as troop numbers increased, officials from both sides sought to defuse the situation. I think its better to say this is some kind of misunderstanding, Cambodian government spokesman Khieu Kanharith said, when asked if the incident constituted a Thai invasion. The soldiers were interacting peacefully at the site, he said. Thai army commander General Anupong Paojinda, meanwhile, called for dialogue to resolve the row. There should be negotiations between the two countries. The problem has been unaddressed for a long time because there has been no demarcation of the border yet, he said. I want the problem to be solved, and the solution must be accepted by both countries. Local residents are reported to have left the site but so far the only casualty of the stand-off is a Thai soldier injured by a landmine - likely left over from when the Khmer Rouge occupied the site. |
ข้อร้อง อย่ามีอะไรเลย โชว์พาวน์กันได้ ด่ากันได้ แต่อย่ายิงกันก็พอ ขอให้มันเป็นแค่การแสดงกำลังเพื่อการเจรจาเท่านั้น หนทางที่ถูกต้องคือการเจรจาและการฑูตเท่านั้น ไม่ใช่สงคราม
^
^
หมายถึงคนในบอร์ดเหรอครับเสี่ย ^^
มุมมองของฝ่ายตรงข้ามมักจะทำให้เราไม่พอใจเสมอครับ
ผมเองก็มีอะไรอีกหลายอย่างไม่พอใจนะครับ
ไม่อยากพูดเหมือนกันหากพูดละก็จะไม่ส่งผลดีต่อผมและคนอื่นๆในบอร์ดเลยครับ
แน่นอนครับว่า แต่ละคนยึดติดกับเหตุผลของตน กับหลักฐานของตน กับข้อมูลการชี้แจงที่ตนได้รับทั้งนั้น โดยยากนักที่จะยอมรับของผู้อื่น
ฉะนั้นจะแสดงความเห็นไม่พอใจกันนี่ สิบล้านปีก็ไม่จบครับ
ผมขอเพียงให้ทุกคนยอมรับกติกาและใช้การเมืองนำการทหารก็พอครับ ........ เรื่องอื่นไม่มีความเห็น
กระทู้นี้พูดเฉพาะการเสริมกำลังทหารในแนวชายแดนเท่านั้นนะครับ ห้ามไปเรื่องอื่น
ขอตัดหัวข้อข่าวออกครับ
|
........................เซ็ง คันปากอยากพูด ..................แต่เพื่อความสงบไม่พูดดีกว่า ....เอาแค่ว่า น้ำผึ้งแหมะเดียวแท้ๆ
ว่าแต่ หน่วยไหนไปตรึงครับ .........เห็นแถวๆมัฆวานแลนด์เค้าบอกว่า พล.ร.6 ..................
อยากรู้ข้อมูลนิดหน่อยนะครับ
คือเพิ่งโทรศัพท์คุยกับน้าที่ประจำอยู่ที่ชายแดนตรงนั้น
เขาว่า ทหารไทยเคยไปกู้ระเบิดให้แล้ว ทำไมมันยังเหลือเยอะขนาดนี้ เขาว่ามันผิดปกติ
ตอนนี้คงต้องดูแหละครับว่า พื้นที่ทับซ้อนตรงนี้นี่ จะมีการเจรจายังไงกันมั่ง
ชาวบ้านเขมรเข้ามาอาศัยในพื้นที่ทับซ้อนได้ ตั้งบ้านเรือนได้ (บางคนก็บอกว่ามันพื้นที่ไทยด้วยซ้ำ)
ถ้าเช่นนั้น ในเมื่อยังไม่เป็นพื้นที่ที่ชัดแจ้ง ทหารไทยก็มีสิทธิ์ที่จะตั้งฐานตรงนั้นเหมือนกันครับ หุหุหุหุ
แต่หากว่าทางเขมรยิงมา จะว่าสาเหตุใดก็ตาม หากว่าสาเหตุดังกล่าว ไร้ศีลธรรม เหตุผล เราก็สมควรยิงตอบโต้ตามความเหมาะสมครับ
เป็นเรื่องที่กติกาโลกเขาก็เห็นว่าไม่เห็นผิดตรงไหน ที่ไหนเขาก็ทำ
ตรงพื้นที่ทัพซ้อน ตามมารยาทแล้วมันไม่ควรมีฐานของประเทศไหนทั้งนั้นครับ แต่ถ้าเขาเข้ามาตั้ง เราก็จำเป็นต้องเข้าไปตั้งเพื่อแสดงสิทธิ์ว่าเรายังคงอ้างสิทธิ์อยู่
แต่เรื่องกับระเบิด ไม่ใช่เรื่องผิดปกติครับ แถว ๆ นั้นมีกับระเบิดเป็นล้านลูก เขาบอกวากู้กัน 20 ปีก็ยังไม่รู้ว่าจะหมดหรือเปล่าเลยครับ
ผมก็มองจุดนั้นแหละครับ พื้นที่ทับซ้อนไม่ควรมีทหารมาตรึงกำลังกันมากมายนัก
แต่กัมพูชาเล่นส่งมาซะงั้นก็คงต้องตรึงกำลังกันตามความสมดุลย์ละครับ
(นี่ไม่รู้พวกของหนักไปเสริมกันมั่งยัง)
อืม เรื่องกับระเบิดนี่เยอะขนาดนั้นนี่น่ากลัวแฮะ พื้นที่ใกล้ๆมรดกโลก คนไปเที่ยวนี่ เหยียบตายนี่ท่าจะแย่ หวังว่าจะมีการจัดการเรื่องกับระเบิดให้หมดสิ้นไปซะทีนะเนี่ย...
เข้ามาช่วยเสี่ยโยทำมาหากิน
ต่อๆๆ
อีกหน่อย
แดดร้อนต้องหลบร่ม
ใครว่าเขมรจน ....... หัวปลีชุบทองเลยนะนั่น
ว่าแต่ทหารไทยสน Carl Gustav มั๊ย เสี่ยขายไม่แพง เอาค่าคอม 30% พอ ติดต่อเสี่ยได้นะ
ขาย Panzerfaust 3 มั่งดีมั้ยเนี่ย
หากเป็นพื้นที่ทับซ้อน ทำไมเค้ามีสิทธิ์จับกุม คนไทย
ฝั่งนู้นเค้าอ้างว่าไปบุกรุกพื้นที่เค้า
ฝั่งเราบอกว่าพื้นที่ทับซ้อน
แค่นี้ก็พอรู้ว่าเราอาจเสียดินแดนจริงๆแล้วครับ
มติครมปี 2505 พื้นที่ เราถึงบันไดขั้นที่162
แต่นี่เค้ายกรั้วมาถึงข้างล่าง แล้ว
น่าเสียใจมีคนไทยบางคนยังบอกว่าเราไปบุกรุกดินแดนเค้าอยู่เลย
ไม่อยากให้มีการ ยิงกัน แต่ว่า ต้องชัดเจนเขตแดนครับ ในอดีต รั้วเคยอยุ่ตรงไหนก็ต้องกลับไปตรงนั้น ไม่ใช่เค้าเค้ามายึดครอง ที่ดินของเรา แล้วก็ปล่อยเรื่อย อดีต จะเป็นยังไง คงต้องยอมรับ แต่นี่หากจะเฉยๆอีก จะคล้ายการครอบครองปรปักษ์ ไปแล้ว
เสี่ย แล้วปืนจาก Bofors เสี่ยรับ deal ไหมครับ
ตั้งตัวขายแข่งกับเสี่ยดีกว่า เอาของถูกจากจีนแดงพอ เพราะยิงแล้วทิ้งเลย กองไหนสนใจติดต่อด่วน ฮิ ฮิ ฮิ
(ทำไมเอาปืนใหญ่ตั้งไว้ในป่าหญ้าละครับ หญ้าคอมมิวนิสต์นี้ต้นสูงมากๆ พอๆกับต้นอ้อยเลย เอามาโชว์ให้เขาเห็นมั้งก็ดีนะ ได้อุ่นใจ เขาจะแขยงหน่อยๆนะ)
.....................
พี่ mikion ถ่ายมาจากป่ายูคาร์มุมไหนละนี้ หุหุหุ ข่มเล่นๆเนอะ
เห็นว่ามีเตรียมรถถังไว้ด้วยแหละ วู้ๆๆ ได้ออกงานมั้งแล้ว
พี่ charchar ผมว่าจะข้ามเข้าไปก็ยากนะครับ เพราะระเบิดแถวนั้นเยอะยิงกว่ากบ เขียด แถวนั้นรวมกันอีกครับ เอาแบบพี่ mikion ยิงระนาบปูพรมเอาก็พอ
คือตอนนี้ไม่เฉพาะที่เขาพระวิหารที่เสริมทหารนะครับ ตลอดแนวมีการเพิ่มอีกเท่าตัวครับ ตั้งแต่สระแก้วถึงอุบลฯ
ใครเห็นของดี แถวๆชายแดนเอามาอวดกันบ้างนะ
ตอนนี้ ไม่ว่าข่าวอะไรออกมา คงต้องเก็บข้อมูลเพื่อพิจารณาให้มากที่สุดครับ...และใช้ สติ อย่าเพิ่งใส่อารมณ์กันครับ...
เชื่อโดยส่วนตัวว่า ไม่ยิงกันหรอกครับ และคิดว่า สถานการณ์ใกล้จะสรุปจบแล้ว และคงเริ่มกระบวนการปักปันเขตแดนกันต่อไป แต่คงปักปันกันไม่ง่าย เพราะ เรามีรัฐธรรมนูญใหม่บังคับใช้อยู่
ผมกำลังคิดถึง พระราชวิเทโศบาย ของ ร.4 และ ร.5 ที่ทรงแก้ไขปัญหาเรื่องเขมรได้โดยไม่ต้องเสียกำลังครับ เราน่าจะศึกษากันมาก ๆ นะครับว่าทรงทำอย่างไร และ ทรงอดทนแก้ไขปัญหาได้ดีแค่ไหน
ถ้าว่ากันตามหลักการพิชัยสงครามแล้ว ชนะโดยไม่ต้องรบนี่คือ สุดยอดของกลศึกครับ
จากข่าวนี้เราบอกว่า .......... ทางเดียวที่จะทำให้ไทยถอนทหารอกจากพื้นที่คือกัมพูชาต้องเคลื่อนย้ายชาวกัมพูชาราว 500 คนในพื้นที่พิพาษออกไปเท่านั้นครับ
Army commander-in-chief General Anupong Paochinda is seen leaving Government House following his meeting with Prime Minister Samak Sundaravej, who is concurrently defence minister. Photo by The Nation |
ผมเล่นเว็บนี้ตั้งแต่ เว็บวิง21 ล่มบ่อยๆ จำได้รูปแบบเว็บตอนนั้นมันไม่ได้เป็นแบบนี้ สมัยก่อนมีกระทู้ให้อ่านทุกวัน กระทู้ดีๆก็เยอะ คนในบอร์ดน่ารักทุกคนครับ มีอยู่ช่วงหนึ่งเว็บนี้ชอบถกการเมืองบ่อยๆ หลังๆไม่ได้แระ แหะๆ สงสัยเป็นของต้องห้าม....แต่ที่อยากติอยู่อย่างหนึ่งนะครับ อยากให้เปิดรับความคิดที่แตกต่าง อยากให้เปิดใจรับสมาชิกใหม่ๆ บางคนพูดไม่ถูกหูก็ต้องยอมกันบ้าง ถอยกันคนละก้าวนะครับ จะเกลียดเหลี่ยม เกลียดเหล่ ชังเจ๊เพ็ญ เกลียดจมูกบาน เกลียดพันธมาร เก็บอุดมการณ์ตัวเองไปฆ่าฟันที่อื่น นะครับ ตอนนี้รักกันไว้ก่อน เรื่องอื่นไว้ทีหลัง
... จากคนที่อ่านเว็บนี้ทุกวัน เป็นเวลาหลายปี แต่ไม่เคยโพสต์...
ทุกคนมีความคิดเห็นแตกต่างกันได้แต่อย่าแตกแยกกันครับ...ก็พูดกันบ่อยๆ ซึ่งผมก็เห็นด้วย...ถ้าทุกสิ่งอย่างที่เรากระทำ พูด หรือแสดงความคิดเห็นกัน...ถ้ากระทำด้วยใจบริสุทธิ์ ไม่มีอคติใดๆ และด้วยใจที่เป็นกลาง และมองได้ลึกซึ้งในเรื่องราว โดยอาศัยข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ ความเป็นจริง และสภาพแวดล้อมต่างๆ มาประกอบ... แม้จะมีความเห็นที่แตกต่างกัน...แต่ถ้าจุดมุ่งหมายหลักร่วมกันคือยึดผลประโยชน์ชาติบ้านเมืองเป็นที่ตั้ง...ผมว่าผลสุดท้ายเราก็จะมีข้อสรุปที่ดีสำหรับทางออกของปัญหา และมีแนวทางที่ถูกต้องในการแก้ปัญหาชาติบ้านเมืองในด้านต่างๆ ได้...คราวนี้หล่ะครับเราก็จะพบความสว่างทางปัญญา... การแก้ปัญหาชาติบ้านเมืองก็จะถูกต้อง มีความผิดพลาดน้อยลง
ปล. ถ้าทุกคนมีจิตใจเมตตากรุณาต่อกันและกัน ไม่เบียดเบียน และเห็น แก่ตัว ผมว่าประเทศนี้ เมืองนี้ จะสุข สงบ ร่มเย็น มากเลยครับ
รายละเอียด :
กัมพูชาร้อนระอุ คนงาน ช.การช่าง 300 คนหนีตายกลับประเทศผ่านด่านช่องสะงำ ขณะที่เขมรเสริมเขี้ยวเล็บตะเข็บชายแดนร่วม 2,000 นายห่างไทย 2 กิโลเมตร การค้าชะงัก ทัวร์นำเที่ยว-ธุรกิจรถเช่าทรุดลูกค้าแจ้งยกเลิกสูญนับล้าน สถานการณ์ความร้อนแรงด้านเขาพระวิหาร ทำให้ช่วง 02.00-04.00 น.วันที่ 18 ก.ค.51 ทางกัมพูชาได้ส่งกำลังทหารตรึงแนวชายแดนกัมพูชา - ไทย ที่เชิงพนม อ.อัลลองเวง จ. อุดรมีชัย ห่างชายแดนไทยประมาณ 2 กิโลเมตร โดยใช้ทั้งรถบรรทุก รถยีเอ็มซี ขนทหารวางตามยุทธศาสตร์สำคัญ ๆ ทำให้ประชาชนของทั้งสองประเทศ ต่างรีบเดินทางกลับบ้านเกิด ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองช่องสะงำ ต.ไพรพัฒนา อ.ภูสิงห์ จ.ศรีสะเกษ ช่วงเช้าตั้งแต่เวลา 08.00 น. มีคนงานไทยบริษัท ช.การช่าง จำนวนประมาณ 250 -300 คน ที่ไปก่อสร้างเส้นทางหมายเลข 67 อัลลองเวง-เสียมราฐ ประเทศกัมพูชา แห่กันขนสัมภาระ ระยะทางประมาณ 135 กิโลเมตร ได้นำสิ่งของติดตัวกลับเข้าประเทศไทย โดยทิ้งอุปกรณ์เครื่องจักรกลหนัก - เบา ที่นำลงไปก่อสร้างมูลค่านับ 100 ล้านบาทไว้ เพื่อรอสถานการณคลี่คลายจึงจะกลับไปใหม่
ร.ต.อ.หญิงสุภาพ ศรีสุข หัวหน้าตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กล่าวว่า คนงานทั้งหมด ได้นั่งรถยนต์กระบะคันละ 5-6 คน ทยอยกันเดินทางกลับ โดยแจ้งว่ากลัวความรุนแรงด้านเขาพระวิหาร และการเมืองในประเทศกัมพูชาเอง เพราะอาจไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ได้ดำเนินการอำนวยความสะดวกคนไทยอย่างเต็มที่ คาดว่าขณะนี้คนงานได้เดินทางกลับมาทั้งหมดแล้ว นายหัตถชัย เพ็งแจ่ม รองประธานหอการค้าฝ่ายต่างประเทศ นักธุรกิจที่มีการค้าในประเทศกัมพูชาหลายอย่าง กล่าวว่า ขณะนี้ทางกัมพูชา ได้เคลื่อนกำลังพลประชิดชายแดนไทยจริง โดยมีการเคลื่อนกำลังจากกองพลใหญ่ที่ 2 เสียมเรียบ นำโดย พล.ท.อุย สะเพียบ เคลื่อนกำลังโดยรถยีเอ็มซี. รถบรรทุกใช้เวลาช่วงดึก นำกำลังวางประมาณ 2,000 นาย ตามจุดยุทธศาสตร์สำคัญ ๆ ตั้งแต่เสียมเรียบ -อ.อัลลองเวง เขาพระวิหาร และช่องสะงำ ห่างชายแดนไทยประมาณ 2 กิโลเมตร อ้างเพื่อดูแลความปลอดภัยประชาชน พ่อค้า และนักท่องเที่ยว ขณะนี้คนงานชาวไทย ที่ลงไปสร้างเส้นทางอัลลองเวง - เสียมราฐ จำนวน 200 -300 คน ได้เก็บอุปกรณ์เครื่องใช้ส่วนตัว ข้ามแดนกลับประเทศกันหมด เพราะเกรงว่าอาจจะเกิดความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน แม้ชาวเขมรเองที่มาทำงานฝั่งไทย ก็เดินทางกลับประเทศเช่นกัน ส่งผลให้การค้าช่วง 2 -3 วันซบเซาอย่างเห็นได้ชัด ทั้งที่ก่อนหน้านี้การค้าด้านด่านช่องสะงำคึกคักมากประชาชนเขมรเองแห่มาซื้อสินค้าไทยอย่างมาก โดยเฉพาะวันอังคาร วันพฤหัสบดี และวันอาทิตย์ที่มีตลาดนัด แต่เวลานี้กลับเงียบเหงา นายหัตถชัย กล่าวว่า สำหรับคนที่ไปท่องเที่ยว ไม่ควรพูดถึงเรื่องข้อพิพาทระหว่าง 2 ชาติ ควรเที่ยวอย่างมีมิตรภาพต่อกัน มิเช่นนั้น จะเกิดการต่อว่าซึ่งกันและกัน จะเป็นการจุดเชื้อเพิ่ม แนวโน้มความรุนแรงส่วนตัวเชื่อว่าไม่เกิดแน่ เพราะทั้ง 2 ฝ่ายเข้าใจตรงกันว่าเป็นเกมการเมืองเท่านั้น ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ที่บริเวณตลาดการค้าฝั่งไทยเงียบเหงา ไม่มีผู้คนจาก 2 ประเทศพลุกพล่านซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าแต่อย่างใด ส่วนที่ตัว อ.อัลลองเวง ประชาชนชาวเขมรประกอบการค้าขายเป็นไปอย่างปกติ รถยนต์ จักรยานยนต์รับจ้าง สอบถามผู้คนบอกเรื่องเขาพระวิหารเป็นเรื่องของรัฐบาล ส่วนประชาชนทำมาค้าขายตามปกติไม่กังวลอะไร ทหารเคลื่อนย้ายก็เป็นปกติทั่วไปชินเสียแล้ว สำหรับการก่อสร้างเส้นทางสายช่องสะงำ - อัลลองเวง -เสียมเรียบ ระยะทาง 167 ก.ม.(อยู่ในพื้นที่ประเทศไทย 16 ก.ม.ในกัมพูชา 151 ก.ม.) คณะรัฐมนตรีของไทย ได้มีมติวันที่ 10 มิ.ย.2547 ได้อนุมัติงบประมาณแบบให้เปล่ากับกัมพูชา จำนวนเงินรวม 229 ล้านบาท โดยทั้งโครงการจะแล้วเสร็จต้นปี 2552 โดย บริษัท ช.การช่าง เป็นผู้ดำเนินการก่อสร้าง โดยเส้นทางนี้เป็นโครงการเชื่อมการท่องเที่ยวระหว่างไทย-กัมพูชา ด้านอีสานใต้ และเป็นเส้นทางที่สั้นที่สุดในการเข้าถึงปราสาทนครวัด- นครทมที่สั้นที่สุด และเชื่อมเส้นทางเลียบชายแดนกัมพูชาที่ตัดตรงเข้าด้านหลังเข้าพระวิหาร ทัวร์นำเที่ยว-ธุรกิจรถเช่าทรุดลูกค้าแจ้งยกเลิก นายนิคม มักสิก ผู้ให้บริการรถตู้ รถทัวร์ให้เช่าทีมงานโชควรรณา จ.ศรีสะเกษ เปิดเผยว่า หลังจากที่สถานการณ์ความขัดแย้ง เริ่มทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ส่งผลให้ขณะนี้บริษัททัวร์ และธุรกิจรถตู้ และรถทัวร์ให้เช่าเริ่มได้รับผลกระทบบ้างแล้ว เนื่องจากลูกค้าที่จอง เพื่อนำลูกค้าไปเที่ยวที่นครวัด นครธม โดยใช้เส้นทางช่องสะงำ อ.ภูสิงห์ จ.ศรีสะเกษ-อ.อัลลองเวง จ.อุดรมีชัย -เสียมเรียบ -ปราสาทหินนครวัด นครธม ได้แจ้งยกเลิกการเช่ารถเป็นจำนวนมาก เนื่องจากไม่มั่นใจในสถานการณ์ปัจจุบัน บริษัททัวร์ที่จองเช่ารถตู้ และทัวร์ไว้ล่วงหน้าทั้งจาก จ.นครสวรรค์ ระยอง ชลบุรี เชียงใหม่ ประมาณ 4-5 กรุ๊ปทัวร์ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นทัวร์ของหน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จัดทัศนะศึกษา ขณะนี้ได้แจ้งยกเลิกทั้งหมด โดยเขาจะคำนึงในเรื่องของความปลอดภัยเป็นหลัก เพราะหากกรณีที่ทางกัมพูชาปิดด่านขณะที่มีกรุ๊ปทัวร์เข้าไปท่องเที่ยวก็อาจจะส่งผลกระทบ ดังนั้น ในสถานการณ์ตึงเครียดเช่นนี้เขาจึงไม่เสี่ยงที่จะนำลูกทัวร์เข้าไปเที่ยวนครวัด นครธม นายนิคม กล่าวต่อว่า ผลจากการยกเลิกกรุ๊ปทัวร์ในครั้งนี้ ส่งผลกระทบต่อธุรกิจเป็นอย่างมาก โดยทัวร์ที่ยกเลิกทำให้สูญเสียรายได้ไม่ต่ำกว่า 1 แสนบาท ทำให้ผู้ประกอบการรถเช่าขณะนี้ต้องเบนเข็มวิ่งในเมืองไทย หรือเบนเข็มวิ่งในเส้นทางแขวงจำปาสัก สปป.ลาว หรือเวียดนามแทน ส่วนในกรณีเขาพระวิหาร หากกัมพูชายังคงปิดประตูห้ามนักท่องเที่ยวขึ้นไปเที่ยวชมปราสาทพระวิหาร เชื่อว่าจะส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวของจังหวัดศรีสะเกษในระยะยาวแน่นอน ด้านนางรุจิรา เพียรตั้งกิจเจริญ ผู้จัดการ บริษัท อัปสราทัวร์ จำกัด จ.ศรีสะเกษ เปิดเผยว่า กรณีข้อขัดแย้งเขาพระวิหารนั้นในส่วนของบริษัทตนไม่ได้รับผลกระทบมากนัก เพราะส่วนใหญ่กรุ๊ปทัวร์ไม่ได้มุ่งเน้นมาชมปราสาทพระวิหาร แต่จะได้รับผลกระทบทางอ้อมในกรณีเส้นทางท่องเที่ยวนครวัด นครธม ซึ่งเป็นเขตรอยต่อไทย-กัมพูชา ด้าน อ.ภูสิงห์ จ.ศรีสะเกษ มากกว่า โดยขณะนี้กรุ๊ปทัวร์ที่จองรถทัวร์และรถตู้ได้แจ้งยกเลิกส่วนหนึ่ง แต่อีกส่วนหนึ่งที่จองการเดินทางในช่วงปลายเดือน ก.ค.และเดือน ส.ค.ก็ยังลังเลว่าจะยกเลิกหรือไม่ ซึ่งผลจากการแจ้งยกเลิกในครั้งนี้คาดว่าบริษัทจะสูญรายได้ไม่ต่ำกว่า 1 ล้านบาท เพราะส่วนใหญ่เป็นกรุ๊ปทัวร์ขนาดใหญ่ที่เดินทางไปท่องเที่ยวนครวัด นครธมแบบ 3 วัน 2 คืน อย่างไรก็ตาม เนื่องจากในช่วงนี้เป็นช่วงโลว์ซีซัน ทำให้กรุ๊ปทัวร์ที่จองเข้ามามีน้อย ประกอบกับความขัดแย้งชายแดนไทย-กัมพูชายังคุกรุ่นอาจทำให้ธุรกิจท่องเที่ยวได้รับผลกระทบบ้าง แต่ยังไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่ามาจากความขัดแย้งเรื่องปราสาทพระวิหาร คงต้องรอดูช่วงไฮซีซั่นในราวเดือน ต.ค.ว่าจะมีกรุ๊ปทัวร์ที่ต้องการเดินทางไปท่องเที่ยวยังกัมพูชาหรือไม่ หากไม่มีกรุ๊ปทัวร์ หรือมีแต่ลดน้อยลงจึงจะชี้ชัดว่ามีผลมาจากความขัดแย้งของไทย-กัมพูชา นางรุจิรา กล่าว ด้านนายศรีวรรณ เกียรติสุรนนท์ ประธานหอการค้าจังหวัดศรีสะเกษ เปิดเผยว่า ในด้านการค้าตามแนวชายแดน โดยเฉพาะบริเวณจุดผ่านแดนถาวรด่านช่องสะงำยังคงเป็นปกติอยู่ แม้จะมีกระแสข่าวว่าทางทหารกัมพูชาตรึงกำลังในพื้นที่ก็ตาม แต่เนื่องจากชาวกัมพูชาจึงพึ่งการนำเข้าสินค้าจากไทยเป็นหลัก ทั้งน้ำมันเชื้อเพลิง วัสดุก่อสร้าง สินค้าอุปโภคบริโภค ทำให้ยังคงมีพ่อค้าประชาชนชาวกัมพูชาข้ามมาซื้อสินค้าที่ฝั่งไทย แต่จำนวนประชาชนอาจจะลดลงบ้าง เนื่องจากบางส่วนเกิดความไม่เชื่อมั่น ส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวนั้น ก็อาจจะได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความขัดแย้งอยู่บ้าง ทำให้มีการแจ้งยกเลิกบริษัททัวร์และรถเช่า ซึ่งขณะนี้ทางภาคเอกชนทั้งหอการค้า สภาอุตสาหกรรม สภาการท่องเที่ยวและชมรมธนาคารก็ได้ประเมินสถานการณ์ที่เกิดขึ้นที่อาจจะส่งผลกระทบกับการค้า การท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง นายศรีวรรณ กล่าว |
โดยคุณ : newsevolution ( อ่าน : 12/ ตอบ : ) วันที่ : 2008-07-18 13:54:44 |
ขออนุญาตแจ้งข่าวด่วนครับ
หลายท่านอาจทราบท่าทีของทางกัมพูชาแล้ว สมเด็จฮุนเซ็นมีหนังสือถึงนายกรัฐมนตรีไทย ให้ไทยถอนทหารออกจากพื้นที่พิพาท เพราะกัมพูชาถือว่าพื้นที่นั้นเป็นพื้นที่ของกัมพูชา
ส่วนนายกรัฐมนตรีไทย ได้มีหนังสือตอบกลับสมเด็จฮุนเซ็นไปว่า พื้นที่ที่ชาวกัมพูชาได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณพื้นที่พิพาทและการมีกองกำลังทหารรักษาการอยู่ เป็นการละเมิดอธิปไตยของไทย
.....................................................
ล่าสุด
นายดอน ปรมัติถ์วินัย เอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรแห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ หรือ ยูเอ็น ณ นครนิวยอร์ก แจ้งว่า กัมพูชาได้ส่งหนังสือถึง องค์การสหประชาชาติ ให้ทางสหประชาชาติเข้ามามีบทบาทในกรณีพื้นที่พิพาทดังกล่าว ครับ
......................................................
จับตาดูท่าทีของยูเอ็นต่อกรณีนี้ต่อไปครับ
ส่วนตัวคิดว่า เขมร ก็ไม่กล้ายกเรื่องขึ้นศาลโลกหรือ UN หรอกครับ เพราะหลักฐานทางเราที่ท้วงไปมีชัดเจน ตั้ง 4 หนในรอบสิบ ๆ ปีที่ผ่านมา ล่าสุดก็เดือน เมษายน 2551 ที่ผ่านมาก็เพิ่งประท้วงไปเองหยก ๆ ก่อนกรณี ขึ้นทะเบียนปราสาทอีก
ถ้าเอาเข้าศาลโลก หรือ UNHCR จริง เขมรคงต้องตะแบงครั้งใหญ่ครับ
ต้องคอยดูการประชุมต่อไปครับ
พลจัตวาเจีย เคียว ผู้บัญชาการกองทัพบกจังหวัดพระวิหารของกัมพูชา เปิดเผยว่า มีความหวังเล็กน้อยเท่านั้นว่าการเจรจาระหว่างผู้แทนรัฐบาลไทยและกัมพูชา ในวันที่ 21 ก.ค.นี้ ที่ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว จะช่วยแก้ไขวิกฤตชายแดนของทั้ง 2 ประเทศ
การเจรจาดังกล่าวจะไม่ประสบผลสำเร็จ เพราะนายกรัฐมนตรีสมัคร สุนทรเวช ของไทยเน้นย้ำว่าพื้นที่รอบปราสาทเป็นพื้นที่ของไทย ทางกัมพูชาอยู่ในขั้นเตรียมพร้อมตลอดเวลา แต่ได้กำชับให้ทหารอดทน หลีกเลี่ยงการกระทำที่จะถูกตำหนิว่าเป็นฝ่ายเริ่มก่อสงคราม พลจัตวาเจีย เคียว กล่าว
นายเขียว ขันหะริธ รัฐมนตรีกระทรวงข่าวสารกัมพูชา กล่าวว่า การร้องเรียนองค์การ สหประชาชาติ (ยูเอ็น) นั้นไม่มีเจตนาให้ยูเอ็นเข้ามาแทรกแซง แต่เพื่อให้หันมาสนใจในปัญหาดังกล่าว
ขณะเดียวกัน พล.ท.ซก เพียบ หัวหน้าสำนักงานประสานงานชายแดนกัมพูชา-ไทย ของกัมพูชา เดินทางมาที่โรงแรมอินโดจีน อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว เพื่อตรวจความเรียบร้อยสถานที่จัดประชุม โดยเกรงว่าหากมีม็อบมาประท้วงจะทำให้การประชุมล้มเหลว
ด้านนายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค สส.พรรคประชาธิปัตย์ กล่าวเตือน พล.อ.บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ ผบ.สส. ตัวแทนฝ่ายไทย ว่า ให้ระวังกัมพูชามีวัตถุประสงค์แอบแฝงในการเจรจา เห็นได้จากการที่กัมพูชาส่งหนังสือถึงยูเอ็น ให้หันมาให้ความสนใจความขัดแย้งไทย-กัมพูชา แทนที่ควรจะรอการเจรจาในวันพรุ่งนี้ ซึ่งอาจทำให้ไทยถูกเข้าใจผิดจากนานาประเทศว่าละเมิดอำนาจอธิปไตยได้
สำหรับพื้นที่รอบปราสาทพระวิหาร พ.อ.ไชยอนันต์ คำชุ่ม รองเสนาธิการกองกำลังสุรนารี นำคณะสื่อมวลชนสำรวจพื้นที่เป็นครั้งแรก ซึ่งปรากฏว่าแม้ทหารติดอาวุธของทั้ง 2 ฝ่ายตรึงกำลังกันอยู่ แต่สถานการณ์เป็นปกติ ปราศจากความตึงเครียด อย่างไรก็ตามทั้ง 2 ฝ่ายยังคงมีการเสริมกำลังเพิ่มขึ้นเป็นระยะ
ไม่แน่ภารกิจกู้ระเบิดของทหารไทยอาจจะกลายเป็นหลักฐานสำคัญอันนึงในอนาคตก็ได้นะครับ
อ้างอิงจาก press release ของกระทรวงการต่างประเทศ
http://www.mfa.go.th/web/2642.php?id=25745
Thailand also has an obligation under the 1997 Ottawa Convention on the Prohibition of the Use, Stockpiling, Production and Transfer of Anti-Personnel Mines and on their Destruction to destroy all anti-personnel mines in mined areas under its jurisdiction or control
ไทยมีภาระผูกพันต้องทำตามอนุสัญญาอ็อตตาว่าว่าด้วยระเบิดสังหารบุคคลว่า เราต้องทำลายทุ่นระเบิดที่ฝังอยู่ในพื้นดินที่อยู่ในอนาเขตที่ไทยควบคุมเอาไว้และกฏหมายไทยครอบคลุม
น่าสนใจครับ ^ ^
โดยส่วนตัวผมคิดว่า ทางฮุนเซน คงไม่ยินยอม หรือประนีประนอมใดใด
ในช่วงนี้อย่างแน่นอน เนื่องจากหวังผลเรื่องคะแนนนิยม คะแนนเสียงในช่วงก่อนเลือกตั้ง ซึ่งจะมีในวันที่ 27 กรกฏาคมนี้ ดังนั้นถ้าสถานการณ์ยิ่งร้อนแรงมาก ก็มีผลในเรื่องชาตินิยมมาก ซึ่งส่งผลดีต่อ ฮุนเซ็น
ดูง่าย ๆ ขนาด สมรังสี ผู้นำฝ่ายค้านยังต้องโหนกระแส เขาพระวิหาร โดยขอให้คนเขมรที่หากินอยู่ในเมืองไทย ลุกขึ้นมาต่อสู้ เรียกร้อง หาเรื่องซวยจริง ๆ
ที่จริงแล้วเขมรที่หากินในเมื่องไทย ค่อนข้างระวังตัวมากนะครับ
ชาวเขมรทุกคนหลีกเลี่ยงที่จะคุยเรื่องนี้กับคนไทย (โดยเฉพาะแรงงานเขมรที่มาบตาพุด)
และดูตามรูปการณ์แล้ว ฮุนเซ็นนอนมาแน่ ๆ
ดังนั้นการเจรจาต่าง ๆ จะได้ข้อสรุปที่พอใจทั้ง 2 ฝ่าย คงต้องรอหลังจากเลือกตั้งครับ
เงื่อนไขของเราคือ .... ชาวบ้านกัมพูชาต้องออกไปจากพื้นที่ทับซ็อนเท่านั้นเราถึงจะถอนทหารนะครับ
Army commander-in-chief General Anupong Paochinda is seen leaving Government House following his meeting with Prime Minister Samak Sundaravej, who is concurrently defence minister. Photo by The Nation |
.....มุมมองที่พี่โต้งว่ามา น่าสนใจมากเลยครับ ถ้าจำไม่ผิดคราวก่อนฮุนเซ็นก็เล่นเรื่องชาตินิยม ได้ผลไปครั้งนึงแล้ว จนเลยเถิดไปเผาสถานฑูตเรา ... คราวนี้คงมามุข เดิมอีกแหละ......เพราะยังไงก็เป็นผลดีกับ ฮุนเซ็น เสร็จเรื่องเลือกตั้งในเขมร แล้วค่อยดูท่าทีที่แน่นอนอีกครั้งนึงดีกว่า...
ประชุมร่วมไทย-กัมพูชาไร้ข้อสรุป
โดย Post Digital 21 กรกฎาคม 2551 19:16 น.
ไทย-กัมพูชา ยังไม่ได้ข้อสรุป และไม่ถอนกำลังทหารทั้งสองฝ่ายพ้นเขาพระวิหาร
วันนี้ (21กรกฏาคม) พล.อ.บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และพล.อ.เตีย บัญห์ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ประเทศกัมพูชา ยอมรับว่า คงไม่สามารถถอนทหารออกจากพื้นที่ทับซ้อนปราสาทเขาพระวิหารได้ เนื่องจากติดข้อกฎหมาย
อย่างไรก็ตาม พล.อ.บุญสร้าง ปฏิเสธชี้แจงว่าข้อกฎหมายนั้นเป็นกฎหมายของไทย กัมพูชา หรือระหว่างประเทศ แต่สิ่งหนึ่งที่ตรงกัน คือ ต้องพยายามลดอุณหภูมิบริเวณชายแดน ซึ่งจะหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า ความรุนแรง
ด้วยการที่ทหารทั้งสองฝ่ายต้องระมัดระวังในเรื่องนี้
ด้านพล.อ.เตีย ที่ยอมรับว่า การลดอุณหภูมิบริเวณชายแดนทำได้ยาก โดยเป็นห่วง ส่วนบันทึกความตกลงระหว่างไทย-กัมพูชา เมื่อปี 2543 พล.อ.บุญสร้าง ยอมรับว่า มีการหยิบยกขึ้นหารือ แต่ไม่อธิบายว่าบันทึกน ี้จะสามารถนำไปสู่การคัดค้านหรือทักท้วงในเรื่องพื้นที่ทับซ้อนได้หรือไม่
http://www.posttoday.com/breakingnews.php?sec=breaking&id=250858
ยังไม่ใช้ลายพรางดิจิตอล ....................อืมมม
ขอเรียกร้องครับ ให้กองทัพใช้อาวุธที่เอาเงินภาษีของเราไปซื้อให้คุ้มค่าครับ ไม่ได้ต้องการให้รบกันนะครับ แค่เราเอา เอฟ ไปบินเล่นแถวนั้น หรือซ้อมรบใหญ่ซักครั้งในช่วงนี้ ทางด้านทะเลก็เอาเรือไปวิ่งเล่นแถวชายแดนทางทะเลทางเขมรเล่น ๆ เราก็ไม่ผิดอะไรนี่ครับ เครื่องบินก็ฝึกบิน เรือก็ลาดตระเวนพร้อมฝึก ทบ.ก็ซ้อมรบ ปกติ แบบที่ พล.ร.ที่ปราจีนฝึกเป็นประจำทุกปีที่ปราจีนก็ได้ครับ
Both Thailand and Cambodia claim territory that surrounds the temple
|
Cambodia has asked the UN Security Council for an emergency meeting to resolve a tense stand-off with Thailand near the site of an ancient temple.
For the past week, more than 500 Thai and 1,000 Cambodian soldiers have been stationed on opposite sides of disputed land near Preah Vihear temple.
The standoff began when the UN approved Cambodias application to have the complex named a World Heritage Site.
Bilateral talks on Monday failed to resolve the row.
A quickly-arranged foreign ministers lunch on Tuesday on the sidelines of the Asean regional meeting in Singapore also failed to produce any agreement, officials said.
Cambodia is seeking third-party mediation, but Thailand wants to resolve the dispute at a bilateral level, officials from both sides said.
Utmost restraint
At the heart of the dispute is a 4.6 sq km (1.8 sq mile) area around the 11th Century temple.
|
The International Court of Justice awarded Preah Vihear to Cambodia in 1962, but areas around it remain the subject of rival territorial claims.
Earlier this month Unesco listed the temple as a Cambodian World Heritage Site, reigniting nationalist tensions, particularly in Thailand.
Opposition forces there have been using the issue to attack the government - which initially backed the heritage listing. Foreign Minister Noppadon Pattama has resigned over the issue.
Thai troops moved into the area more than a week ago, after Cambodian guards arrested three Thai protesters, and since then both sides have increased their military presence.
The two nations attempted to reach an agreement on Monday, during bilateral talks on the opening day of the Asean regional summit in Singapore.
But officials said the discussions stalled over which maps should be used to settle ownership.
Singapore Prime Minister Lee Hsien Loong told the Asean meeting that both nations had promised to exercise utmost restraint and abide by international laws to resolve the issue amicably.
Shortly after that, Cambodia appealed to the United Nations to resolve the row in order to avoid armed confrontation.
The dispute comes at a difficult time for Thailand, which is due to take over the rotating chairmanship of Asean next week.
http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/7518741.stm
วานนี้ รัฐบาลกัมพูชาได้เคลื่อนไหวใน 3 เวทีการเมืองระดับนานาชาติครั้งใหญ่ กล่าวหาว่าไทยล่วงละเมิดเขตแดน โดยรองนายก รัฐมนตรีกัมพูชา ซึ่งประชุมร่วมกับผู้แทนสมาชิกถาวร 5 ชาติ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ได้ขอให้จัดประชุมนัดพิเศษ ซึ่งคาดว่าน่าจะประชุมกันในวันที่ 28 ก.ค.นี้
ขณะที่ สมเด็จฮุนเซน นายก รัฐมนตรีกัมพูชา ได้ส่งจดหมายไปยังยูเนสโก กล่าวหาว่ากองทัพไทยบุกรุกเขตแดนกัมพูชา บริเวณพื้นที่รอบปราสาทพระวิหาร การกระทำดังกล่าวเป็นภัยต่อสันติภาพของภูมิภาค และผิดกฎหมายระหว่างประเทศ
อีกทางหนึ่งนั้น รัฐมนตรีกระทรวงข่าวสารกัมพูชาก็ขู่ในระหว่างการร่วมประชุมอาเซียนที่สิงคโปร์ ว่า จะต้องยื่นเรื่องสู่ศาลโลกอีกครั้งเพื่อให้ได้ข้อยุติด้านการกำหนดเส้นแบ่งเขตแดน พร้อมกันนั้นก็ได้ขอให้ที่ประชุมอาเซียนเปิดประชุมนัดพิเศษเพื่อพิจารณาเรื่องนี้
ฝ่ายรัฐบาลไทย โดยนายสหัส บัณฑิตกุล รองนายกรัฐมนตรี ซึ่งร่วมประชุมอาเซียน ก็แก้เกมโดยปัดไม่ให้มีการประชุมนัดพิเศษ แต่ในที่สุดทุกฝ่ายก็ตกลงกันว่าให้เป็นการหารือกันโดยใช้คำว่า ไม่มีวาระ
เมื่อเปิดประชุมทางกัมพูชาก็เสนอให้อาเซียนตั้ง Contact Group แต่ประเทศอื่นๆ เห็นว่า สองประเทศควรพูดคุยกันเองก่อน
ต่อมานายวิทวัส ศรีวิหค อธิบดีกรมอาเซียน กล่าวว่า สมาชิก อาเซียนเห็นว่าถ้าหยิบยกเรื่องนี้เข้าไปสู่เวทีคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (ยูเอ็น) น่าจะทำให้อาเซียนสูญเสียความน่าเชื่อถือ จึงให้ยึดถ้อยแถลงของประธานอาเซียน ซึ่งให้เป็นเรื่องทวิภาคีไปก่อน
ในอีกทางหนึ่งนั้น ทูตไทยประจำยูเอ็นก็ได้ทำถึงคณะมนตรีความ มั่นคงฯ โต้แย้งกัมพูชาว่า การขึ้นทะเบียนมรดกโลกเมื่อวันที่ 7 ก.ค. เป็นการเสนอฝ่ายเดียว และเป็นการละเมิดสิทธิอธิปไตยของไทย
ช่วยเสี่ยหน่อย
จีนไม่เห็นด้วยยูเอ็นนัดประชุมฉุกเฉินเขาพระวิหารสิงคโปร์ติเขมรทำร้ายอาเซียน
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?id=42078&catid=1
เขมรร้องยูเอ็นประชุมฉุกเฉิน เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ผู้สื่อข่าวรายงานจากสิงคโปร์ว่า กัมพูชาเปิดฉากรุกทางการทูตครั้งใหญ่หลังการเจรจาในที่ประชุมคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (จีซีบี) เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคมที่ผ่านมา ไม่ประสบผล โดยนอกจากสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา จะทำหนังสือฟ้องร้องไปยังสำนักงานองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) แล้ว ยังยื่นเรื่องไปยังคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เรียกร้องให้จัดการประชุมฉุกเฉิน ในเวลาเดียวกัน นายฮอร์ นัมฮง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีต่างประเทศกัมพูชา ยังเคลื่อนไหวยื่นเรื่องเรียกร้องให้อาเซียนจัดตั้งทีมไกล่เกลี่ยข้อพิพาท และเชิญบรรดาทูตจากประเทศที่รับตำแหน่งอยู่ในคณะมนตรีความมั่นคงมาพบเพื่อแถลงกล่าวหาว่าไทยรุกรานดินแดนของตนอีกด้วย ผู้สื่อข่าวระบุว่า คณะผู้แทนไทยในการประชุมอาเซียนที่ประเทศสิงคโปร์พยายามหาทางออกในกรณีนี้ โดยขอหารือทวิภาคีเป็นกรณีพิเศษกับสิงคโปร์ ก่อนชี้แจงในที่ประชุมอย่างไม่เป็นทางการระหว่างการรับประทานอาหารกลางวันร่วมกันของรัฐมนตรีอาเซียนและประเทศคู่เจรจา สหัสเบรกอาเซียนแทรกแซง นายสหัส บัณฑิตกุล รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้าคณะฝ่ายไทยที่ร่วมประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเป็นวันที่ 2 ที่ประเทศสิงคโปร์ ให้สัมภาษณ์ภายหลังรับประทานอาหารกลางวันร่วมกับรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนว่า ตอนแรกมีการระบุให้จัดประชุมเป็นกรณีพิเศษ เพื่อพิจารณาคำร้องขอของกัมพูชาที่ให้ประธานอาเซียนตั้งกลุ่มรัฐมนตรีจากประเทศสมาชิกมาเป็นกลไกในการระงับข้อพิพาทระหว่างไทย-กัมพูชาในประเด็นปราสาทพระวิหาร แต่ไทยได้แสดงความไม่เห็นด้วยที่จะให้มีการประชุมเป็นกรณีพิเศษ เพราะอาจมีประเด็นทางกฎหมาย ที่เราไม่อยากให้ออกมาในรูปผูกมัดทางการเมือง แต่หากเป็นการพูดคุยระหว่างรับประทานอาหารกลางวัน โดยไม่มีการจดบันทึกและไม่มีเอกสารก็ตกลง เนื่องจากเราควรต้องเข้าไปอธิบายข้อมูลและเหตุการณ์ต่างๆ เพราะสถานการณ์ขณะนี้ไม่ได้เลวร้ายอย่างที่กัมพูชามีจดหมายแจ้งไปว่าอาจส่งผลกระทบต่อสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค นายสหัสกล่าวอีกว่า ในการพูดคุยกัน นายเกา กิม ฮวน รัฐมนตรีช่วยต่างประเทศกัมพูชาได้อธิบายว่า ในข้อเท็จจริงทั้งสองประเทศได้พูดคุยกันแล้วที่สระแก้ว ซึ่งส่วนใหญ่ตกลงกันได้แล้ว มีเพียงเรื่องกฎหมายที่ทั้งสองฝ่ายต้องไปหาข้อความที่เหมาะสมก่อนและจะมีการนัดประชุมครั้งต่อไปในเร็วๆ นี้ ซึ่งสอดคล้องกับแถลงการณ์ของประธานอาเซียนเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคมที่ผ่านมา ส่วนการตั้งกลุ่มประสานงานขึ้นมา ไม่ใช่ว่ากัมพูชาเสนอมาแล้วคนโน้นคนนี้เห็นด้วย แต่ที่สำคัญคือไทยต้องเห็นด้วย นอกจากนี้ เรายังบอกกับเขาว่าขณะนี้มันเร็วเกินไป ซึ่งหลายประเทศก็เห็นด้วยว่าควรต้องให้ทั้งสองประเทศคุยกันไปก่อน ตั้งคำถามอาเซียนใช่เวทีเจรจา? ในช่วงค่ำนายสหัสให้สัมภาษณ์อีกครั้งว่า ระหว่างการประชุมอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา และการประชุมสุดยอดอาเซียน กัมพูชายังคงใช้โอกาสพูดถึงปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งไทยก็ยังคงยืนยันอธิบายข้อเท็จจริงเช่นที่เคยพูดไป รวมทั้งยืนยันว่า พื้นที่ที่กัมพูชาบอกว่าถูกรุกราน ไทยถือว่าเป็นดินแดนไทย แต่เนื่องจากมีเวลาไม่มากนักหลังชี้แจง ทางคณะผู้แทนไทยได้เตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องทั้งหมด แจกจ่ายให้กับผู้ร่วมประชุมในทุกเวที นอกจากนี้ ตนยังแสดงความสงสัยด้วยว่า เวทีเหล่านี้เป็นเวทีที่เหมาะสมสำหรับการพูดถึงปัญหาดังกล่าวหรือไม่ ปธ.ซัดใช้ยูเอ็นทำร้ายอาเซียน นายสหัสกล่าวด้วยว่า สิงคโปร์ในฐานะประธานอาเซียน ได้ออกเอกสารสองฉบับ ฉบับแรกเป็นแถลงการณ์ของรัฐมนตรีต่างประเทศสิงคโปร์ ส่วนฉบับที่ 2 เป็นจดหมายที่สิงคโปร์ในฐานะประธานอาเซียน ตอบข้อเรียกร้องของนายฮอร์ นัมฮง รัฐมนตรีต่างประเทศกัมพูชา ระบุว่า ที่ประชุมอาเซียนยังมั่นใจในกระบวนการของจีบีซี ที่สองฝ่ายจะหารือกันต่อไปในอนาคต อย่างไรก็ดี สิงคโปร์ได้ย้ำว่า หากจัดการกับเรื่องดังกล่าวไม่เหมาะสมจะส่งกระทบกับความน่าเชื่อถือของอาเซียน และหากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเร่งรีบเกินไปในการนำเรื่องดังกล่าวเข้าสู่ที่ประชุมคณะมนตรีความมั่นคง ถือเป็นการทำร้ายจุดยืนของอาเซียน และทำให้การหาข้อยุติสำหรับประเด็นดังกล่าวยืดเยื้อและยุ่งยากมากยิ่งขึ้น นายสหัสยังได้หารือทวิภาคีกับนายหยาง เจียฉือ รัฐมนตรีต่างประเทศจีน หนึ่งในสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคง และเปิดเผยภายหลังว่า จีนไม่เห็นด้วยที่จะนำเรื่องดังกล่าวเข้าสู่ที่ประชุมคณะมนตรีความมั่นคง เพราะมองว่าจะทำให้เกิดความยุ่งยากในระยะยาว ดังนั้น ควรต้องให้ทั้งสองฝ่ายหารือกันก่อน อย่างไรก็ตาม สำนักข่าวเกียวโดรายงานว่า นายฮอร์ นัมฮง รัฐมนตรีต่างประเทศกัมพูชา ได้แจ้งกับนักการทูตในกรุงพนมเปญว่า คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีกำหนดที่จะจัดการประชุมฉุกเฉินตามข้อเรียกร้องของกัมพูชา ภายในวันที่ 28 กรกฎาคมนี้ ในขณะที่นักการทูตบางรายเชื่อว่าไม่น่าจะเป็นอย่างที่กัมพูชากล่าวอ้าง แต่น่าจะเป็นการประชุมเพื่อพิจารณาว่าจะรับหรือไม่รับพิจารณาเรื่องนี้มากกว่าอย่างอื่น สมัคร ปิดปากข้อสรุปไทย-เขมร ที่ทำเนียบรัฐบาล ก่อนการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) จะเริ่มขึ้น นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ปฏิเสธที่จะให้สัมภาษณ์ผู้สื่อข่าวที่พยายามสอบถามถึงผลการเจรจาของคณะกรรมการชายแดนทั่วไปไทย-กัมพูชา (จีบีซี) ระหว่าง พล.อ.บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด (ผบ.สส.) กับ พล.อ.เตีย บันห์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมกัมพูชา ถึงปัญหาการบุกรุกพื้นที่ทับซ้อนบริเวณชายแดนเขาพระวิหารระหว่างไทยและกัมพูชา ที่ยังไม่ได้ข้อสรุปและมีการตรึงกำลังทหารทั้ง 2 ประเทศบริเวณดังกล่าว ตั้งป.ป.ช.ทั้งคณะไต่สวนครม. วันเดียวกัน นายกล้านรงค์ จันทิก โฆษกคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) กล่าวภายหลังประชุมคณะกรรมการ ป.ป.ช. ว่า ที่ประชุมมีมติตั้งคณะกรรมการไต่สวนคณะรัฐมนตรี (ครม.) ทั้งคณะ กรณีที่กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและ ส.ว. ยื่นขอให้ดำเนินคดีอาญาจากมติ ครม.ที่สนับสนุนการลงนามในแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชา กรณีเขาพระวิหาร โดยให้ ป.ป.ช.ทั้งคณะเป็นผู้ดำเนินการไต่สวน และให้ น.ส.สมลักษณ์ จัดกระบวนพล กรรมการ ป.ป.ช. เป็นผู้รับผิดชอบสำนวน บุญสร้าง ชี้2ฝ่ายเพิ่มทหาร พล.อ.บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด (ผบ.สส.) ให้สัมภาษณ์ผ่านทางรายการ จมูกมด ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 7 ถึงกรณีที่กัมพูชาจะเสนอให้มีการประชุมนอกรอบอาเซียน โดยอ้างว่าฝั่งไทยมีการเพิ่มกำลังทหารว่า มันก็เพิ่มด้วยกันทั้ง 2 ฝ่าย ที่เขาพูดไม่ผิดที่บอกว่าเราเพิ่ม แต่เขาไม่ได้บอกว่าเขาเพิ่มมากกว่า ทีตัวเองไม่พูดถึง เป็นเรื่องของกระทรวงการต่างประเทศต้องพูดคุยกัน เขาทันกัน ตนพูดคงไม่ค่อยเหมาะ และคงไม่มีการตั้งคณะกรรมการไกล่เกลี่ยเรื่องแผนที่ เพราะเขายืนยันไม่ใช้แผนที่ของเรา แม้จะหาคนไกล่เกลี่ยมา เขาก็ไม่ยอมอยู่ดี หวังหลังเลือกตั้งเขมรคุยง่ายขึ้น พล.อ.บุญสร้างกล่าวว่า กัมพูชาไม่ได้ขอให้มีการหารือหลังการเลือกตั้งวันที่ 27 กรกฎาคม ส่วนจะมีหรือไม่ขึ้นอยู่กับผู้บังคับบัญชาของสองฝ่าย การหาข้อสรุปต่างๆ ของกัมพูชาขึ้นอยู่กับผู้บังคับบัญชาระดับบนมากๆ หากเขามีจุดยืนอย่างข้างต้น คงยากมาก คิดว่าปัญหายังไม่จบ และคงจะต้องหาคนมาพูดคุยเจรจากับสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา เมื่อถามว่า นายกฯเชื่อว่าหลังการเลือกตั้งน่าจะคุยกันรู้เรื่องมากกว่านี้ใช่หรือไม่ พล.อ.บุญสร้างกล่าวว่า รู้สึกว่าเชื่ออย่างนั้น แต่คิดว่าบรรยากาศต้องดีขึ้นแน่นอน เมื่อถามย้ำว่า เมื่อพรรครัฐบาลเขมรชนะเลือกตั้งยิ่งคุยกันได้ง่ายขึ้นใช่หรือไม่ พล.อ.บุญสร้างกล่าวว่า ผมว่าง่ายเลย น่าจะพูดกันได้ไม่ยาก เพราะต้องยอมรับว่ากัมพูชาเขาอ่อนไหวยิ่งกว่าของเรา อย่างเรื่องเส้นเขตแดน เพราะประชาชนของเขาคิดว่าประเทศกัมพูชาล้อมรอบด้วยประเทศใหญ่ที่รังแกเขา ทั้ง เวียดนาม และไทย ดังนั้น จึงอ่อนไหวในเรื่องเขตแดนตลอดเวลา จากนั้น พล.อ.บุญสร้างให้สัมภาษณ์สถานีโทรทัศน์ช่อง 3 อีกครั้งว่า การหาข้อยุติไม่ได้มาจากพื้นฐานที่ทั้งสองประเทศใช้แผนที่คนละฉบับ โดยกัมพูชาใช้แผนที่ของฝรั่งเศส ขณะที่ไทยใช้ระบบสันปันน้ำของสหรัฐ และข้อที่ยอมไม่ได้คือ ถ้อยคำที่จะให้ตกลงกัน ไม่ใช่ว่า เขารับไม่ได้ ที่เราจะไปอ้างสิทธิทั้งหมด แค่เราอ้างว่ามีส่วนเขาก็รับไม่ได้ คำพูดในนั้นจะเป็นลักษณะอย่างนั้น เขาก็ไม่ยอม เราก็ไม่ยอม และคิดว่าไม่ล้มเหลว คือ มีความสบายใจด้วยกันทั้งสองฝ่ายว่าทหารที่เผชิญหน้ากันอย่าให้เลวร้ายกว่านี้อีก และไม่ไปเพิ่มกำลังทหารเข้ามา พล.อ.บุญสร้างกล่าว และว่า ตอนนี้คนไทยต้องใช้สติปัญญา อย่าใช้อารมณ์ หาทางออกอย่างสร้างสรรค์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องทำหน้าที่ให้ดีและรอบคอบ เปิดเผย โปร่งใสต่อประชาชน แต่ปรากฏว่า งานนี้กลับตีกันเองทำให้แพ้ภัยให้กับต่างประเทศด้วย ผบ.ทร.ชี้ไม่เกี่ยวพท.ทับซ้อนทะเล ที่ราชนาวีสโมสร พล.ร.อ.สถิรพันธุ์ เกยานนท์ ผู้บัญชาการทหารเรือ (ผบ.ทร.) กล่าวว่า ปัญหานี้จะไม่กระทบกับพื้นที่ทับซ้อนทางทะเล เพราะเป็นอีกเรื่องหนึ่งต่างหาก ต้องมีคณะกรรมการคุยกันอีกชุดหนึ่ง ทั้งนี้ พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลมีเยอะ เจรจากันมาโดยตลอด พื้นที่ทับซ้อนเป็นพื้นที่ใหญ่มีผลประโยชน์อยู่ เจรจากันมาหลายครั้งยังไม่ลงตัวเหมือนกัน แต่ไม่มีเรื่องขัดแย้งกัน คนละเรื่องกับเขาพระวิหาร คาดสหัสนั่งเก้าอี้บัวแก้ว รายงานข่าวจากทำเนียบรัฐบาล เปิดเผยว่า ในการปรับคณะรัฐมนตรี (ครม.) ครั้งนี้ คาดว่า นายสหัส บัณฑิตกุล รองนายกรัฐมนตรี จะได้รับแต่งตั้งให้ควบตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แม้ว่านายวิกรม คุ้มไพโรจน์ จะมีประสบการณ์รับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ แต่มีจุดอ่อนคือใกล้ชิด พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มากเกินไป อาจมีปัญหาในการบริหารงานเหมือนนายนพดล ปัทมะ อดีตรัฐมนตรีการต่างประเทศ มทภ.2ลงพื้นที่เยี่ยมกำลังพล เวลา 11.00 น. ที่บริเวณผามออีแดง อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ พล.ท.สุจิตร สิทธิประภา แม่ทัพภาคที่ 2 เดินทางเข้าพื้นที่ เพื่อเยี่ยมกำลังพลซึ่งปฏิบัติหน้าที่อยู่บริเวณชายแดนด้านเขาพระวิหาร พร้อมให้สัมภาษณ์ว่า กรณีที่ทหารเข้าปฏิบัติการในพื้นที่ตรงนี้ ยืนยันว่าเป็นพื้นที่ที่มีปัญหา ซึ่งยังไม่ชัดเจนในเรื่องเขตแดนว่าของใครอยู่ตรงไหน เมื่อยังไม่ได้ข้อยุติเราก็ดูแลร่วมอยู่กันไป แต่เราถือว่าเราจะรักษาความเป็นเพื่อนไว้ จะไม่ใช้ความรุนแรงต่อกัน ก็สรุปแค่นี้ วุฒิสภาเล็งตั้งกมธ.วิสามัญศึกษา เมื่อเวลา 08.30 น. วุฒิสมาชิก 8 คน ในคณะกรรมาธิการ (กมธ.) การต่างประเทศ นำโดย ม.ร.ว.ปรียนันทนา รังสิต รองประธาน กมธ. และนายศรีศักร วัลลิโภดม นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี ได้เดินทางลงพื้นที่เขาพระวิหาร อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ โดยนายเสนีย์ จิตตเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ บรรยายสรุปสถานการณ์ความตึงเครียดตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ตอนหนึ่งระบุว่า มีความเข้าใจผิดว่าพื้นที่ 4.6 ตารางกิโลเมตรเป็นพื้นที่ทับซ้อน แต่ในที่นี้ขอเรียกว่าเป็นพื้นที่ไทย แต่ยังไม่มีการปักปันเขตแดนชัดเจน และข้อตกลงระหว่างประเทศกำหนดว่า ห้ามดัดแปลงสภาพภูมิประเทศในส่วนที่ไม่ทราบว่าพื้นที่เป็นของใครชัดเจน แต่ปี 2541 มีชาวบ้านกัมพูชาเข้ามาสร้างบ้าน ซึ่งผู้ว่าฯศรีสะเกษขณะนั้นทำหนังสือไปยังกระทรวงต่างประเทศเพื่อประสานให้กัมพูชาย้ายคนออกไป แต่ 4-5 ปีที่ผ่านมา มีชาวกัมพูชาอพยพเข้ามามากขึ้น จนถึงขณะนี้มีประมาณ 130 หลังคาเรือน และกำลังสร้างวัดแก้วสิขเรศวรอีกด้วย ด้านนายศรีศักรได้เสนอให้ในพื้นที่เตรียมแผนไม่ให้มีการรุกเข้ามาบริเวณสระตราวและบาราย เพราะจุดนี้จะถือเป็นการยึดเมือง ส่วนนายคำนูณ สิทธิสมาน ส.ว.สรรหา เสนอว่า วุฒิสภาอาจมีการตั้ง กมธ.วิสามัญ เพื่อมาศึกษาเรื่องนี้โดยเฉพาะ และเสนอให้รื้อบ้านเรือนของชาวกัมพูชาบริเวณนั้นออกไป จนกว่าจะปักปันเขตแดนแล้วเสร็จ นอภ.กันทรลักษ์โทษ บัวแก้ว นายประเสริฐ อร่ามศรีวรพงษ์ นายอำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ กล่าวว่า ก่อนที่กัมพูชาจะขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก กัมพูชาได้เชิญตัวแทนทูตประเทศต่างๆ ที่มีอำนาจในการตัดสินสำรวจพื้นที่และให้ข้อมูลด้านเดียว แต่กระทรวงการต่างประเทศของไทยไม่เคยทำแบบนี้ แถมมองตัวแทนประเทศเหล่านี้เป็นศัตรู เมื่อขึ้นเวทีประเทศเหล่านั้นเลยไม่ช่วยเหลือไทย ทหารไม่ให้ 8 ส.ว.ขึ้นพระวิหาร เวลา 14.00 น. คณะ ส.ว.ทั้ง 8 คน ได้เดินทางไปยังค่ายสุรนารีเพื่อฟังการบรรยายจากผู้แทนกองกำลังสุรนารี โดยไม่ยอมให้ผู้สื่อข่าวร่วมเข้าฟังด้วย จากนั้นคณะได้เดินทางไปยังอุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร โดยหยุดอยู่ที่ศูนย์ประสานงานนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็นทางขึ้นผามออีแดง โดย ม.ร.ว.ปรียนันทนาได้พยายามขอร้องทหารให้พาขึ้นไปยังโบราณสถานโดยรอบที่อยู่ในดินแดนไทย เพื่อที่จะนำมาเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา แต่ฝ่ายทหารปฏิเสธ โดยอ้างว่าในบริเวณนั้นมีกองกำลังทหารประจำการในจุดต่างๆ ซึ่งเป็นความลับในเชิงยุทธศาสตร์ความมั่นคง ไม่สามารถให้คนทั่วไปขึ้นไปได้ แม้แต่แม่ทัพภาคที่ 2 ยังขึ้นได้สูงสุดแค่จุดที่ ส.ว.อยู่เท่านั้น จ.ม.เปิดผนึกให้2ฝ่ายใช้สันติวิธี วันเดียวกัน พระไพศาล วิสาโล พร้อมด้วยนักวิชาการ นักศึกษา ประชาชนทั่วไป รวม 78 คน อาทิ นายชาญวิทย์ เกษตรศิริ อดีตอธิการมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) นายเกษียร เตชะพีระ จากคณะรัฐศาสตร์ มธ. นายอุกฤษณ์ ปัทมานนท์ สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำจดหมายเปิดผนึก เรียกร้องให้ใช้สันติวิธีเพื่อแก้ไขปัญหาเขตแดนไทย-กัมพูชา โดยมีข้อเสนอ 1.ให้สังคมไทยยอมรับคำตัดสินศาลโลกว่าปราสาทพระวิหารและพื้นที่ตั้งปราสาทอยู่ในอำนาจอธิปไตยของกัมพูชา การปฏิเสธนอกจากจะทำให้ไทยเป็นรัฐอันธพาล ยังนำประเทศสู่สงครามโดยไม่เกิดประโยชน์ 2.วิงวอนให้เจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายทั้งไทยและกัมพูชา ยึดแนวทางสันติวิธีในการแก้ปัญหา 3.ให้กลุ่มการเมืองยุติปลุกปั่นกระแสคลั่งชาติที่อาจนำไปสู่สงครามระหว่างประเทศ พันธมิตรหวั่นบานปลาย ที่สะพานมัฆวานรังสรรค์ นายพิภพ ธงไชย แกนนำกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย กล่าวว่า รัฐบาลอ่อนต่อเกมนี้ เรื่องราวที่เกิดขึ้นเพราะรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ปล่อยให้มีการผลักดันชาวกัมพูชาเข้ามาปักหลักทำกินบริเวณชายแดนประเทศไทย และปล่อยปละละเลยมานาน เรื้อรังมานาน เพราะอดีตนายกฯเกี่ยวข้องกับการมีผลประโยชน์ทับซ้อน พ.ต.ท.ทักษิณจึงไม่ใช้การทูตและการทหารเป็นตัวผลักดันประชาชนกัมพูชาออกจากพื้นที่ รัฐบาลจะต้องมีท่าทีที่แข็งกร้าวมากกว่านี้ เรื่องนี้จะกลายเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและจะนำไปสู่การโต้แย้งในระดับสากลจะทำให้บานปลายในที่สุด
สหัส โชว์ฟอร์มว่าที่ รมต. บัวแก้วสกัดอาเซียนตั้งทีมไกล่เกลี่ยตามคำขอเขมร โยนคำถามใช่เวทีแก้ปัญหาหรือ? สิงคโปร์ออก จ.ม.ในฐานะ ปธ.ตำหนิกัมพูชาทำร้ายอาเซียนกรณีให้ยูเอ็นประชุมฉุกเฉิน จีนก็ไม่เห็นด้วย ป.ป.ช.ตั้งคณะไต่สวนครม.ไฟเขียวแถลงการณ์
คลิกอ่าน - สหัส แจง กัมพูชาไม่หยุดแค่นี้ แต่จะเดินหน้าไปทุกเวที
คลิกอ่าน - ท่าทีเลขาธิการยูเอ็นต่อเหตุพิพาทไทย-กัมพูชา
- ฮอร์ นัมฮงใส่ไฟไทยคุกคามเขมร
- ฮุน เซน ร่อน จ.ม.ถึงยูเนสโก กล่าวหาไทยคุกคามสันติภาพในภูมิภาค
จีนไม่เห็นด้วยถกในยูเอ็น
ภายหลังการประชุม นายสมัครยังคงไม่ตอบคำถามผู้สื่อข่าวว่าได้รับรายงานผลการเจรจาจีบีซีหรือไม่ โดยเดินไปขึ้นรถทันที เพื่อเดินทางไปเข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระราชวังไกลกังวล จ.ประจวบคีรีขันธ์
พระวิหาร 3
ที่พรรคประชาธิปัตย์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร และหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ กล่าวว่า นายกฯควรจะเร่งปรับคณะรัฐมนตรีเพื่อให้มีรัฐมนตรีการต่างประเทศโดยเร็ว เพื่อมาเร่งแก้ปัญหาพื้นที่ทับซ้อนรอบปราสาทพระวิหาร ขณะนี้เหมือนกับไทยไม่ได้กำหนดทิศทางภายในให้ชัดเจนจากฝ่ายนโยบายคือนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีการต่างประเทศ ทำให้เจ้าหน้าที่แต่ละฝ่ายจะปฏิบัติลำบาก
เอิ๊ก ๆ ขอบคุณครับ ....... เหอๆ ผมเพิ่งเขียนวิจารณ์เกมส์รุกของเขมรไปใน Blog ไม่นักว่ามันจะรวดเร็วทันใจขนาดนี้
ท่านสหัส ผมมองท่านอยู่ตลอดนะครับ ........... เอาใจช่วยนะครับท่าน
กลไลที่เราทำอยู่กำลังเริ่มเห็นผลอย่างช้า ๆ แล้วครับ ดูเหมือนว่าตอนนี้กัมพูชากำลังเริ่มเพลี้ยงพล้ำกับเกมส์ของตัวเอง ยิ่งถ้าพรุ่งนี้ Security Council ไม่รับไต่สวนแล้วล่ะก็ งานนี้ถือว่าเกมส์เริ่มพลิกแล้วล่ะครับ .......... เห็นไหมใจเย็น ๆ เล่นเกมส์ของเราไป อย่าไปตามเกมส์ของเขารับรองเดี๋ยวมันจะเข้าทางเราเอง นี่แค่ก้าวแรก เราต้องดำเนินการต่อไปครับ
PREAH VIHEAR
P Penh wont budge
By Supalak Ganjanakhundee
The Nation
Singapore
Published on July 23, 2008
Cambodian delegates adamant on French map; seek UN, Asean help to end stand-off
East Asia Summit foreign ministers hold hands during the East Asian Summit Foreign Ministers Consultations in Singapore yesterday.
Cambodia yesterday launched a diplomatic offensive against Thailand following the failure to resolve the week-long military stand-off at the disputed Preah Vihear Temple.
Gen Boonsrang Niumpradit, supreme commander of the Thai armed forces, meanwhile, said more Cambodian troops had been stationed at the border after both countries failed to reach an agreement on Monday.
Boonsrang, who led a Thai delegation to a consultation meeting with Cambodian counterparts, said Cambodia had been adamant on its position, particularly regarding the use of a French-drawn map demarcating the two countries border.
As a result, the Cambodian side, led by Defence Minister Tea Banh, did not accept Thailands conditions for resolution of the border dispute.
Thousands of Thai and Cambodian soldiers are currently on alert at the border.
As for Cambodia, its representatives yesterday asked Asean and the United Nations to convene special sessions to help resolve the grave border stand-off.
However, Thailand wanted to use bilateral mechanisms to try to end the row, saying it was too early to take the issue to regional or international levels.
Gen Boonsrang said a resolution to the conflict should be easier to reach after Cambodia holds its general election on Sunday (July 27).
In addition, he said both countries should consider sharing interests to end the dispute.
The Thai-Cambodian row was discussed over lunch yesterday by the 10-member Asean grouping in Singapore, where foreign ministers met on the sidelines of a ministerial conference.
Singapores foreign minister George Yeo invited all ministers to the session after Cambodian foreign minister Hor Namhong proposed that an Asean Inter-Ministerial Group, made up of foreign ministers of Singapore, Indonesia, Vietnam and Laos, should try to help end the Thai-Cambodian dispute.
The Singaporean minister also told his Cambodian counterpart it was too soon to ask the UN to deal with the issue.
Thailands deputy prime minister Sahas Bunditkul, who led the Thai delegation here, only joined the lunch session on condition that it had no official agenda and that no records or documents of any kind would come out of the meeting.
Sahas insisted that the General Border Committee (GBC) of Thailand and Cambodia, and other bilateral talks, would fix the conflict.
Asean has offered its facilities to Cambodia and Thailand, but only in the event that the two sides need further support to find a solution. For now, we feel its premature, Sahas told reporters after the lunch. The situation was not as grave as painted by Cambodia, he said.
The Cambodian foreign minister earlier asked the UN Security Council to hold an emergency meeting next Monday to discuss measures to help resolve the conflict.
The Cambodian ambassador to the US also handed letters to the presidents of the UN Security Council and the General Assembly about Cambodias request.
Cambodian spokesman Khieu Kanharith said Phnom Penh would also seek a ruling from the International Court of Justice (ICJ) for boundary demarcation, but the Thai Foreign Ministrys permanent secretary Norachit Sinhaseni said this was unlikely.
The ICJ ruled in 1962 that the 11th-century Hindu temple was part of Cambodia, but it became an issue of conflict after the temple was listed as a World Heritage site despite a late objection from Thailand.
http://www.nationmultimedia.com/2008...s_30078777.php
-----------------------------------------
Asean stays out of border row
Group says bilateral talks must find answer
THANIDA TANSUBHAPOL & ACHARA ASHAYAGACHAT
The Association of Southeast Asian Nations (Asean) yesterday shot down a call by Cambodia for the regional grouping to intervene and help end its dispute with Thailand over their overlapping border area.
Singapore Foreign Minister George Yeo, the current chairman of Asean, told Cambodian Deputy Prime Minister Hor Namhong in a letter of the need to end the tension through bilateral talks.
The letter dated yesterday was a reply to Hor Namhongs proposal sent from Phnom Penh on Monday asking the 10-member bloc to set up a contact group to mediate the problem. The letter said Thai military forces were building up at the border.
Singapore, Indonesia, Vietnam and Laos were named by the Cambodian government to form an ad hoc panel.
But Mr Yeo argued the two countries should give the bilateral process a chance to end their spat.
The proposal for an Asean Contact Group found favour with a number of foreign ministers, but there was also a general view that the bilateral process should be allowed to continue, and there is still no consensus for the formation of such a group, the letter said.
The Cambodian call for Asean intervention follows a complaint to the United Nations Security Council on Thursday that Thai troops had intruded on its soil near the Preah Vihear temple.
The Thai government countered that the area belonged to Thailand.
Both referred to the disputed 4.6-square-kilometre area between Kantharalak district in Si Sa Ket province and Cambodias Preah Vihear province.
Cambodia cited a map drawn in 1908 as the basis of its claim to ownership of the contested area. The map was used by the International Court of Justice when it ruled in 1962 that Thailand should hand the temple to Cambodia.
But Foreign Ministry spokesman Tharit Charungvat said yesterday the international court did not decide the borderline between the two countries in that area.
The first meeting, led by Supreme Commander Gen Boonsrang Niempradit and Cambodian Defence Minister Tea Banh on Monday in Sa Kaeos Aranyaprathet district, could not find a solution to the row. But both promised military restraint and that no more troops would be sent to the area.
They agreed to hold another meeting of the General Border Committee next month after the Cambodian general election on Sunday.
The Cambodian Foreign Ministry said yesterday that in order to avoid armed confrontation, Phnom Penh would ask for an emergency meeting of the UN Security Council to find a solution.
We need a third party to solve this problem, Cambodian government spokesman Khieu Kanharith told AFP.
But Asean members were fretting about taking the issue to the council, saying it could harm attempts to resolve the problem, according to Mr Yeo.
They [Asean foreign ministers] also emphasised to me that if the parties concerned are too quick to resort to the UN Security Council, this would do harm to Aseans standing and may actually make the resolution of this issue more difficult, he said in the letter.
Although the Security Council has not made any move since the Cambodian complaint, the Foreign Ministry had officials ready to send to the UN to help Thai diplomats if the council wants explanations from Thailand, a senior ministry official said.
Thai ambassador to the UN Don Pramudwinai on Monday handed a letter to Vietnam, current chairman of the Security Council, and 14 other members confirming Thailands intention to resolve the dispute through bilateral talks.
UN Secretary-General Ban Ki-moon expressed concern yesterday over the rising tension, calling on both sides to peacefully resolve the situation.
In Singapore, Cambodian Deputy Foreign Minister Kao Kim Hourn took the border issue to talks with China, Japan and South Korea, which hold meetings with Asean, prompting Deputy Prime Minister Sahas Bunditkul to clarify the matters with those countries.
http://www.bangkokpost.com/230708_Ne...008_news01.php
ผบ.สส.ติงเขมรร้องศาลโลกทำปรองดองยาก
โดย Post Digital วันที่ 23 กรกฎาคม 2551
สหประชาชาติประชุม พรุ่งนี้ พิจารณารับไต่สวนกรณีข้อพิพาทไทย-เขมรหรือไม่ ด้าน ผบ.สส. ชี้กัมพูชาร้องไปทั่วทำให้การปรองดองทำได้ยาก
นายดอน ปรมัตถ์วินัย เอกอัครราชทูต และผู้แทนถาวรไทยประจำสหประชาชาติ กล่าวว่า คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติจะจัดประชุมฉุกเฉินกรณีข้อพิพาทพื้นที่ทับซ้อนบริเวณเขาพระวิหาร ว่าเป็นความต้องการของกัมพูชาที่ต้องการให้สหประชาชาติประชุมฉุกเฉินในวันที่ 28 กรกฎาคมนี้ โดยในวันพรุ่งนี้ (24 ก.ค.) กระบวนการแรกในสหประชาชาติจะเริ่มขึ้น เพราะหนังสือของกัมพูชาจะเวียนถึง 15 ประเทศสมาชิก ซึ่งที่ประชุมก็จะพิจารณาดูว่าจะดำเนินการตามที่ร้องขอหรือไม่ ในส่วนของประเทศไทยได้ทำหนังสือเวียนไปแล้วเช่นกัน โดยระบุว่าปัญหาดังกล่าว ทั้งสองฝ่ายกำลังดูแลอยู่ และมีปัญหากันมานานแล้ว
นายดอน กล่าวว่า เรื่องดังกล่าวสหประชาชาติจะรับไต่สวนหรือไม่ ขึ้นอยู่กับความสนใจของแต่ละประเทศเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่าเป็นอย่างไร ซึ่งประเทศไทยต้องติดตามผลดังกล่าวจึงจะดำเนินการต่อไป ทั้งนี้ หากมีประชุมจริง ผลจะเกิดประเทศไทยจะเป็นอย่างไร แต่เราบอกแล้วตั้งแต่ต้นว่าไม่อยากให้มีการประชุม เพราะเหมือนกระทบฐานของอาเซียน
ด้าน พล.อ.บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด กล่าวก่อนเดินทางไปร่วมประชุมคณะกรรมการระดับสูงที่ประเทศอินโดนีเซีย ถึงกรณีพิพาทปัญหาปราสาทพระวิหาร ระหว่างไทย-กัมพูชาว่า จะใช้โอกาสนี้ชี้แจงทำความเข้าใจกับอินโดนีเซีย ยืนยันว่าการหารือระดับทวิภาคียังเป็นช่องทางที่เหมาะสมในการแก้ปัญหานี้ แต่หากการหารือคณะกรรมการชายแดนทั่วไป หรือ จีซีบี ไม่เป็นผล ก็ควรให้ผู้นำระดับสูง 2 ประเทศหารือ เนื่องจากมีอำนาจตัดสินใจ
ควรทำจากเล็กไปหาใหญ่ ไม่ใช้วิธีการแบบหว่านไปทั่ว เพราะจะทำให้เกิดความสับสน ทั้งนี้หากมีจุดยืนที่ไม่สามารถปรองดองกันได้แล้ว การดำเนินการในระดับสูงเช่นไร ก็มีความปรองดองกันได้ยากผบ.สส.กล่าว
เมื่อถามว่า หากกัมพูชาจะนำกรณีพื้นที่ทับซ้อนขึ้นศาลโลก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด กล่าวว่า ไทยต้องระวังเพราะมีบทเรียนจากอดีตมาแล้ว แต่ไทยก็มีสิทธิเลือกจะขึ้นศาลโลกคู่กัมพูชาหรือไม่ก็ได้
ผู้บัญการทหารสูงสุด กล่าวว่า กระทรวงการต่างประเทศต้องเร่งชี้แจงให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องต่อนานาชาติ โดยขณะนี้จำนวนทหารไทยในพื้นที่มีน้อยกว่าทหารกัมพูชา จึงไม่น่าหวั่นวิตกต่ออธิปไตยหรือการเสียบูรณภาพแห่งดินแดนตามที่กัมพูชาชี้แจงต่อนานาชาติ ทั้งนี้ในการประชุมจีซีบี ไทย-กัมพูชา ยืนยันว่าจะไม่มีการเพิ่มกำลังทหารในพื้นที่ ขณะเดียวกันตนเองก็ได้กำชับไม่ให้ทหารไทยกระทำการใดๆ เป็นเหตุจุดชนวนให้สถานการณ์ตึงเครียด
UN รับกรณีเขาพระวิหารเป็นวาระฉุกเฉิน ข่าว 12.00 น. Posted on Wednesday, July 23, 2008 |
นายดอน ปรมัตถ์วินัย เอกอัครราชทูตและผู้แทนถาวรไทยประจำสหประชาชาติ (UN) บอกว่า สหประชาชาติ ได้บรรจุคำร้องของประเทศกัมพูชาที่ต้องการให้สหประชาชาติเข้ามาเป็นตัวกลางในการไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทปัญหาเขาพระวิหารเป็นวาระฉุกเฉินแล้ว โดยการดำเนินการของกัมพูชาในเรื่องนี้เป็นไปตามข้อบังคับของยูเอ็น ที่เมื่อมีประเทศร้องเรียนปัญหาเข้ามาสามารถเรียกประชุมฉุกเฉินได้ ซึ่งเป็นเรื่องที่ประเทศไทยไม่คาดคิดมาก่อน โดยขณะนี้ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมดกำลังหาแนวทาง เพื่อกำหนดท่าทีที่ชัดเจนของไทย ทั้งนี้ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ซึ่งเป็นหน่วยงานโดยตรงในการพิจารณาเรื่องดังกล่าว มีสมาชิกทั้งหมด 15 ประเทศ โดยมีจีน, ฝรั่งเศส, สหรัฐอเมริกา, รัสเซีย และอังกฤษ เป็นสมาชิกถาวร และอีก 10 ประเทศจะหมุนเวียนกันไป โดยขณะนี้มีประเทศเวียดนาม เป็นประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ซึ่งเป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียเพียงประเทศเดียวที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกอยู่ในขณะนี้ ซึ่งไทยมีความหวังจากท่าทีของเวียดนามที่ในขณะนี้ยังวางตัวเป็นกลางในเรื่องนี้ |
confirm เสี่ยโยครับ รับแล้ว
UN Security Council to discuss Thai-Cambodia dispute: ambassador
BANGKOK (AFP) The UN Security Counil is expected to discuss a tense military standoff between Cambodia and Thailand this week, Thailands ambassador to the United Nations said Wednesday.
Don Pramudwinai said the Security Council meeting on Thursday was set to discuss the week-long issue involving troops from both countries facing off near an ancient temple on their border.
I have been informed that the UN has included Preah Vihear (temple) on the emergency agenda to be discussed at the Security Council meeting tomorrow (Thursday), he told reporters here.
The comments follow a call from the Cambodian government on Tuesday for the world body to help broker a solution to the standoff.
Two days of diplomacy between the countries failed to make any headway in the controversy centred on disputed land around the ruins of the 11th century Hindu temple overlooking Cambodias jungle.
More than 500 Thai troops are facing off against at least 1,000 Cambodian soldiers over the small patch of land near the temple, that belongs to Cambodia but has sparked decades of tensions with Thailand.
Thailands chief negotiator to the crisis called for a leaders summit, saying an existing General Border Committee (GBC) of officials from the two countries would not be enough to solve the problem.
Its unlikely that the conflict could be settled at the GBC meeting, he told reporters.
At this stage I think its rather the leaders who must hold a summit as they are the decision makers, Boonsrang said, adding that Thai troops had been ordered to remain peaceful.
Thailand and Cambodia both claim their soldiers remain on their own soil, stationed by a small Buddhist pagoda at the foot of the mountain leading to the Preah Vihear temple.
Boonsrang also said there was now urgent need for Thailand to appoint a new foreign minister to tackle the dispute after Noppadon Pattama resigned in a legal battle two weeks ago.
The dispute erupted after three nationalist Thai protesters were arrested last week for jumping a barbed-wire fence to reach the temple, prompting armed troops to head to the border.
The World Court ruled in 1962 that Preah Vihear belongs to Cambodia. But the easiest entrance lies in Thailand.
http://afp.google.com/article/ALeqM5hMblsITAsmaG2i_ncYAssbbtB7Gw
ผมลองไปดูในตารางการประชุมแล้ว ว่างวันจันทร์ครับ อังคาร-พุธ ติดเรื่อง Somalia
http://www.un.org/Docs/sc/pow.pdf
น่าคิดว่า พอวันพฤหัส ขึ้นเดือนหน้า ท่านประธานจะเปลี่ยน คนเป็นเบลเยี่ยม ครับ ไม่แน่ใจว่า จะมีผลอะไรต่อท่านประธานเดือนนี้ ที่เป็นเวียตนามหรือไม่นะครับ หวังว่า จะเป็นอย่างที่เสี่ยบอกว่าวางตัวเป็นกลาง
เอ ... คุยพรุ่งนี้ไม่ใช่เหรอครับท่าน ^ ^
I have been informed that the UN has included Preah Vihear (temple) on the emergency agenda to be discussed at the Security Council meeting tomorrow (Thursday), he told reporters here.
คุยพรุ่งนี้เลยวู้ย รวดเร็วทันใจดีแท้ ^ ^
รอติดตามแล้วกันครับผม
At least three of the five permanent members of the UN Security Council agree it is premature for the body to discuss the row between Thailand and Cambodia over Preah Vihear Temple, Deputy Prime Minister Sahas Banditkul said yesterday.
Sahas, who led the Thai delegation to an Asean meeting, discussed the issue yesterday with US Secretary of State Condoleezza Rice and Russian Foreign Minister Sergei Lavrov on the sidelines of the Asean Ministerial Meeting.
Sahas met and discussed issues with his Chinese counterpart, Yang Jiechi, on Tuesday after Phnom Penh asked the Security Council to convene a special session on the stand-off.
Three permanent members of the Security Council whom I have met with here said Cambodia had been in too much of a hurry in putting the issue before the UN. Thailand and Cambodia can resolve the problem bilaterally, Sahas told reporters.
Don Pramudwinai, Thailands permanent representative to the UN, said the world body would include Cambodias request in an emergency session today.
A formal discussion of the row may take place next week, he said.
We expected this to happen, because it is in line with UN regulations. Now we are discussing the matter, Don said in a telephone call from New York.
The Security Council has 15 members. Its five permanent members are China, France, US, Russia and the UK. The other 10 are chosen on a rotational basis.
Vietnam and Indonesia are presently among the non-permanent members.
Sahas also discussed the issue with Vietnamese Foreign Minister Pham Gia Khiem, whose country currently chairs the Security Council, and Indonesian Foreign Minister Hassan Wirajuda.
Both agreed the row should not be put to the Security Council as long as bilateral mechanisms were available for resolving it, he said.
I gave all of the ministers Ive met here the facts of the matter, and I did not blame Cambodia for its move, he said. Due to time limitations, I also handed them fact sheets about the situation and our position on it. In Bangkok, Prime Minister Samak Sundaravej said Thailands diplomatic position would take a defensive stance until Cambodia finished its general election next Sunday.
Let Cambodia carry on. Were not being harmed. I hope theyll calm down after the election. I will talk [to Cambodian Prime Minister Hun Sen] later, he said.
http://www.nationmultimedia.com/2008/07/24/headlines/headlines_30078829.php
เยี่ยม ค่อยใจชื้นขึ้นมาหน่อย
ประเทศไทยที่การฑูตนั้น เก่งมาตลอด นับหลายร้อยปีทำให้ประเทศไทยรอดพ้นวิกฤตหลายต่อหลายครั้ง
อย่าให้เสียในยุคผม สู้เค้า...
I still read this page and its make me know thats it USA and USSR still help us
นายดอน ปรมัตถ์วินัย เอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรไทยประจำสหประชาชาติ ให้สัมภาษณ์ว่า การประชุมใช้เวลากว่า 1 ชั่วโมง นั้น ที่ประชุมไม่มีข้อยุติและมีเสียงแตก ซึ่งหมายถึงข้อเรียกร้องตามที่กัมพูชาเสนอเข้ามา ยังไม่สามารถพิจารณาให้สิ้นสุดไปได้ว่า ควรจะดำเนินการต่อไปอย่างไร เพราะเมื่อมีเสียงใดเสียงหนึ่งไม่เห็นด้วย ก็จะไม่ถือเป็นข้อยุติ เนื่องจากต้องมีเสียงเป็นเอกฉันท์ โดยเฉพาะประเทศที่เป็นสมาชิกถาวรใน UNSC ซึ่งได้มีการขอเลื่อนการพิจารณาไปเป็นเวลา 10.00 น. วันนี้ ตามเวลาในนครนิวยอร์ก (ประมาณ 21.00 น. วันนี้ ในประเทศไทย) เชื่อว่าจะหาข้อสรุปได้
ทั้งนี้ ประเทศที่ไม่เห็นด้วยที่จะนำเรื่องเข้าหารือในประชุมคณะมนตรีฯ คือสหรัฐอเมริกา ซึ่งถือว่าเป็นประโยชน์ต่อไทย เพราะเรื่องนี้จะได้ไม่ผ่านทะลุเข้าไปจนถึงจุดที่คาดการณ์ไม่ได้และอาจจะบานปลายต่อไป โดยเห็นว่าควรให้ไทย-กัมพูชา เจรจากันเอง
ขณะที่ประเทศฝรั่งเศส ต้องการให้คณะมนตรีความมั่นคงฯ เป็นผู้คุมสถานการณ์และมีบทบาทเข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหาดังกล่าว โดยไม่เน้นการเจรจาทวิภาคี
ขณะที่เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำองค์การสหประชาชาติ เปิดเผยว่า สมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงฯ จะหยิบยกประเด็นประสาทพระวิหาร กลับมาพิจารณาอีกครั้งในวันนี้ ซึ่งส่วนตัวรู้สึกวิตกต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และมองว่า คณะมนตรีความมั่นคงฯ ควรจะตัดสินใจในเรื่องนี้โดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อหาทางคลี่คลายปัญหาอย่างจริงจัง ตามที่กัมพูชาร้องขอมา เพราะแม้จะสนับสนุนให้เป็นหน้าที่อาเซียน ในการรับบทเป็นคนกลางเข้าคลี่คลายปัญหา แต่คณะมนตรีความมั่นคงของยูเอ็น ก็มีหน้าที่ต้องช่วยบรรเทาข้อขัดแย้งเช่นกัน ในฐานะเป็นผู้รับรองสันติภาพและเสถียรภาพระหว่างประเทศ ซึ่งกรณีข้อพิพาทระหว่างไทยกับกัมพูชาถ้าปล่อยไว้อาจก่อให้เกิดผลร้ายแรงตามมาได้
ด้านนายนิโคลาส ที ดามเมน รองเลขาธิการอาเซียน กล่าวถึงข้อพิพาทปราสาทพระวิหารขณะนี้ว่า เป็นเรื่องของ 2 ประเทศ ซึ่งเปรียบเสมือนพี่น้องกันที่จะเจรจาแก้ปัญหากันเอง โดยที่อาเซียน หรือองค์กรอื่น ยังไม่ควรเข้าไปแทรกแซง จนกว่าทั้งสองประเทศจะร้องขอ ซึ่งเชื่อว่าทั้ง 2 ประเทศ สามารถแก้ปัญหานี้ได้
น.ส.คอนโดลีซซา ไรซ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของสหรัฐ แสดงท่าทีแนะให้รัฐบาลไทยและกัมพูชาดำเนินมาตรการเปิดการประชุมแบบทวิภาคี เพื่อแก้ไขกรณีพื้นที่ทับซ้อนตามแนวชายแดนของทั้ง 2 ประเทศตามแนวทางในปัจจุบันต่อไป แทนที่จะผลักดันประเด็นปัญหาดังกล่าวไปสู่ การพิจารณาของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเนื่องจากเห็นว่ายังไม่ถึงเวลาอันสมควร อีกทั้งเห็นว่าทั้งไทยและกัมพูชา รวมทั้งอาเซียน เอง ต่างก็กำลังเปิดการเจรจาเพื่อหาช่องทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวอยู่ทั้งนี้ ท่าทีของรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐ มีขึ้นหลัง นายสหัส บัณฑิตกุล รองนายกรัฐมนตรีได้ออกมาเปิดเผยว่ารัฐบาลสหรัฐ และอีก 2 ประเทศสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ซึ่งประกอบด้วย จีน และ รัสเซียได้ออกมาระบุว่า รัฐบาลกัมพูชา รีบร้อนเกินไปในการนำประเด็นดังกล่าวเข้าสู่การพิจารณา ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
http://www.posttoday.com/breakingnews.php?sec=breaking&id=251484
แทรกนิดนะครับ จากกระทู้ล่าสุดของคุณสกายแมน ที่ว่าฝรั่งเศสไม่เล่นกับเรา ครับ นี่ละมังครับที่เป็นสาเหตุให้อาวุธหลักของฝรั่งเศสไม่ค่อยจะได้เกิดในกองทัพไทยซักเท่าไร อย่าง เครื่องบิน เอทีอาร์ นั่นผมว่า ทอ.คงเห็นมั้งครับว่า สายการบินในไทยมีใช้อยู่หลายสายทำให้ง่ายต่อการฝึกและซ่อมบำรุง หรืออย่าง เอ 319 เจ้าปัญหาก็ไม่ได้เกิดมาจาก ทอ.โดยตรง แต่กับอาวุธหลัก นั่นอ่ะ กองทัพไทยไม่เคยจะเหลียวมองเลย เท่าที่ติดตามไม่แม้กระทั่งอยู่ในตัวเลือกด้วยซ้ำ ผิดถูกยังงัยก็ขออภัยด้วยครับ
^
^
^
เหอ ๆ เขาก็แซว ๆ กันว่าเพราะฝรั่งเศสทำกรรมไว้กับเราเยอะล่ะครับ กรรมเลยสนอง ^ ^ ....... แต่ผมว่าเป็นเพราะอาวุธฝรั่งเศสเองด้วยครับ ดันแพงแบบไร้สาระแบบนั้น ไม่รู้จะซื้อมาทำไม อิอิอิ
ข่าวด่วนจ๊าาาาาาาา ............ กัมพูชายินดีเลื่อนการเสนอข้อเสนอของตนเข้าไปใน UNSC แล้วครับ และไทยกับกัมพูชาจะทำการเจรจากันอีกครั้งในวันจันทร์ หลังจากการเลือกตั้งพอดี
ปกติผมจะไม่พูดคำนี้นะครับ แต่คราวนี้จะขอพูดหน่อยว่า ........... เห็นไหม ผมบอกแล้ว เราต้องอดทน อย่าไปเล่นตามเกมส์เขา อย่าไปเชียร์ให้รบ อย่าไปด่า ๆ ๆ ...... เงียบอย่างเดียว ให้กลไลการฑูตของเราทำงาน
และวันนี้มันก็ทำงานแล้วครับ ....... ตอนนี้เราคงต้องรอการพูดคุยที่จะเกิดขึ้นในวันจันทร์ว่าผลออกมาจะเป็นอย่างไร .... แต่ ณ ตอนนี้ผมพูดได้เลยว่า เราชนะมาแล้ว 2 ยกครับ ^ ^
By Ek Madra
PHNOM PENH (Reuters) - Cambodia and Thailand will hold more talks on Monday aimed at resolving a smoldering border dispute over a 900-year-old temple, officials said on Thursday after their two leaders spoke on the phone.
Thai Prime Minister Samak Sundaravej told reporters in Bangkok that his Cambodian counterpart, Hun Sen, had agreed to withdraw a complaint to U.N. Security Council, but Cambodian officials denied this.
Hun Sen only agreed to delay its request for an emergency U.N. meeting on the spat that has sparked fears of a military clash, government spokesman Khieu Kanharith said.
We have decided to postpone our complaint to the United Nations Security Council, but that does not mean we withdraw it, he told Reuters.
We want to see how far Thailand goes with this process, he said after this weeks talks in Thailand ended in failure.
In New York, Cambodias U.N. Ambassador Sea Kosal sent a letter to Vietnamese Ambassador Le Luong Minh, the president of the U.N. Security Council this month, asking him to postpone a planned emergency council meeting on the dispute pending the result of the meeting of the two foreign ministers.
The emergency council session was originally expected to take place next week.
The Thai and Cambodian foreign ministers will hold Mondays negotiations in the Cambodian tourist town of Siem Reap, home of the famed Angkor Wat temples.
At the heart of the dispute is a 1.8 square mile stretch of scrubland around the Preah Vihear temple on a jungle-clad escarpment that forms a natural boundary between the southeast Asian countries.
The temple itself is claimed by both countries but was awarded to Cambodia in 1962 by the International Court of Justice in The Hague, a ruling that has rankled in Thailand ever since.
OPPOSITION TO U.N. INVOLVEMENT
France and Vietnam had said on Wednesday the United Nations Security Council would hold a special meeting in response to a Cambodian request for it to take up the issue. But France said council members wanted ASEAN to mediate if possible, and for the two sides to continue bilateral negotiations.
Thailand said it had the support of China, Russia, the United States, Vietnam and Indonesia against the need for Security Council intervention.
Even if it avoids stepping into the imbroglio, it is not clear what the U.N. could do other than issue a statement telling Bangkok and Phnom Penh to sort out the kerfuffle.
The chairman of the Association of South East Asian Nations (ASEAN) said on Thursday there was no need to involve the U.N. in what should be a bilateral matter.
It should not have to go to the U.N. Security Council, George Yeo, who is also Singapores foreign minister, told reporters at an ASEAN meeting on Thursday.
We should not let a small issue -- that was a non-issue in the past -- become a big issue.
Politics has played a key role in fuelling the fracas on both sides of the border.
Nationalism frequently rears its head in Cambodia, especially around election time, and there is a general election in the country on Sunday.
But analysts say domestic Thai politics are mainly to blame for the eruption of the dispute, which stems from Cambodias successful bid to have the ruins listed as a World Heritage site, a source of pride for Cambodia but an outrage for many Thais.
Bangkoks initial support for the heritage listing was seized on by anti-government groups who whipped up a nationalist fervor in their attempt to unseat the government of Prime Minister Samak Sundaravej. His foreign minister resigned over the issue.
(Additional reporting by Sukree Sukplang from Khao Pra Viharn, Nopporn Wong-Anan in Bangkok and Louis Charbonneau at the United Nations; Writing by Darren Schuettler; Editing by Alan Raybould and Alex Richardson)
http://www.reuters.com/article/worldNews/idUSBKK6449320080724?pageNumber=3&virtualBrandChannel=0
โดย Post Digital วันที่ 24 กรกฎาคม 2551
สมัคร เผย นายกฯกัมพูชา ยอมถอนเรื่องข้อพิพาทออกจาก ยูเอ็นแล้ว เตรียมให้ รัฐมนตรีต่างประเทศ ทั้ง 2 ประเทศ ตั้งดต๊ะเจรจา 28 ก.ค.นี้
นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี และ รมว.กลาโหม กล่าวว่า ได้โทรศัพท์หารือกับสมเด็จฮุนเซ็น นายกรัฐมนตรีกัมพูชา แล้วโดยได้รับการแจ้งว่ากัมพูชาจะถอนคำร้องกรณีข้อพิพาทปราสาทพระวิหารจากเวทีคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ(UNSC) ขณะที่ไทยและกัมพูชาจะส่งรัฐมนตรีต่างประเทศเข้าร่วมหารือ 2 ฝ่ายที่เสียมเรียบในวันที่ 28 ก.ค.นี้ ซึ่งทางกัมพูชาจะยืนยันท่าทีว่าจะยุติเรื่องดังกล่าวอย่างไร
เพิ่งโทรศัพท์คุยกับฮุนเซ็นเสร็จเมื่อตะกี้ ตกลงว่าวันที่ 28 กรกฎาฯจะมีการประชุมระดับรัฐมนตรีต่างประเทศที่เสียมเรียบ นายสมัคร กล่าว
และว่า ปัญหาก็คือไทยจำเป็นต้องมีรัฐมนตรีต่างประเทศที่จะเข้ามาทำหน้าที่แทนนายนพดล ปัทมะ ก่อนวันที่ 28
เข้าทางเขมรเจ้าเล่ห์ [25 ก.ค. 51 - 03:19]
|
สิ้นสุดการหารือ รมว.ต่างประเทศไทย - กัมพูชา หลังถกมาราธอนกว่า 11 ชม. เผยผลเจรจาสองฝ่ายพร้อมถอนทหารจากพื้นที่วัดลดเผชิญหน้า ร่วมเก็บกู้กับระเบิดแนวชายแดน เล็งจัดประชุม คกก.เขตแดน ฮอ นัม ฮง แถลงผลเจรจาประสบความสำเร็จ
วันนี้ (28 ก.ค.) เมื่อเวลา 22.00 น. การหารือร่วมระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยและกัมพูชา ถึงกรณีข้อพิพาทพื้นที่ทับซ้อนชายแดนไทย-กัมพูชา ที่โรงแรมอังกอร์พาเลซ รีสอร์ทแอนด์สปา ณ เมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา ได้เสร็จสิ้นลงแล้ว ภายหลังมีการพบปะหารือระหว่างสองฝ่ายใช้เวลานานกว่า 11 ชม.ตลอดทั้งวันที่ผ่านมา
โดยผลของการเจรจามีการตกลงร่วมกันเบื้องต้นประกอบด้วย ด้านความมั่นคงที่ทั้งสองฝ่ายตกลงจะใช้ความอดทนอดกลั้นไม่ใช้ความรุนแรง พร้อมทั้งสั่งให้ถอนกำลังทหารของทั้งสองฝ่ายออกจากพื้นที่วัดคีรีสุขสวาย บริเวณปราสาทพระวิหาร เพื่อแสดงการใช้สันติวิธีในการแก้ปัญหา พร้อมกับจะร่วมกันเก็บกู้กับระเบิดบริเวณแนวชายแดนเพื่อพัฒนาพื้นที่ นอกจากนี้ตกลงจะจัดให้มีการประชุมคณะกรรมเขตแดน (เจบีซี) ในเร็ววันนี้
อย่างไรก็ตามก่อนหน้าจะมีผลสรุปเบื้องต้นดังกล่าว นายฮอ นัม ฮง รองนายกรัฐมนตรีและรมว.ต่างประเทศกัมพูชา แถลงภายหลังการหารือว่า ดีใจที่การประชุมก้าวหน้าได้ผลดี ถือว่าประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดี แสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ 2 ประเทศในการแสวงหาสันติภาพ ที่ประชุมครั้งนี้เป็นครั้งแรก แต่ไม่ได้เป็นครั้งสุดท้าย
ผู้สื่อข่าวรายงานด้วยว่า ภายหลังนายฮอ นัม ฮง กล่าวแถลงจบ และจะเป็นการแถลงของนายเตช บุนนาค รมว.ต่างประเทศของไทย เจ้าหน้าที่ของกัมพูชากลับเชิญสื่อมวลชนทั้งหมดให้ออกจากห้องแถลงข่าว จึงไม่สามารถรายงานคำแถลงของ รมว.ต่างประเทศของไทยได้
จากนั้น นายเตช ให้สัมภาษณ์ว่า ได้รายงานเรื่องนี้ให้ นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี รับทราบแล้ว และเตรียมจะสรุปผลการหารือเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อนำเข้าที่ประชุม ครม.วันพรุ่งนี้ (29 ก.ค.) ต่อไป.
http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=171701&NewsType=1&Template=1
Emerging after a marathon talk, Cambodias Foreign Minister Hor Nam Hong said they agreed that both sides should exercise utmost restraint and seek futher peaceful solution to solve the problem.
However Hor Nam Hong did not elaborate how to adjust the military presence in the area.
The military adjustment would not afftect to sovereignty over the territory and has no implication to the boundary demarcation, he said.
He and his Thai counterpart; Tej Bunnag, hold a meeting at a hotel in Cambodias Siem Reap province on Monday, which was the second of its kind to solve the border tension around the temple.
The meeting started at about 10am and ended almost 12 hours later. Both delegations had to postpone their flights, pending the negotiation.
They agreed both side should exercise utmost restraint and seek futher peaceful solution to solve the problem, Hor Nam Hong said.
Both sides also support de-mining and land demacration in the area.
The first meeting in Thailands Sa Kaew which was chaired by Thai Supreme Commander Gen Boonsang Niempradit and Cambodias Deputy Prime Minister and Defence Minister Gen Tea Banh ended without solution.
http://www.nationmultimedia.com/2008/07/28/national/national_30079222.php