หน้าแรก    ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบคำถาม    เข้าสู่ระบบ      


เอาบันทึกเรือ่งการจัดซื้ออาวุธ ของกองทัพบก มาให้ดูกัน

โดยคุณ : Ronin เมื่อวันที่ : 03/04/2008 15:24:47

ลอง Search ไป Search มา ดันเจอบันทึก ไม่รู้ว่าความลับไหม  หากลับไม่น่าเอาขึ้นบนเวบ

 

หากอยากป้องกัน Robots ไม่ให้เก็บข้อมูล ให้ทำไฟล์ ชื่อ robots.txt และใส่ข้อมูลดังนี้

 

User-agent: 
Disallow: /data/information/RTAModernization/note-th/




ความคิดเห็นที่ 1


บันทึก 55. โครงการจัดหา ฮ.ฝึก โครงการปี 51 – 52 จำนวน 32  เครื่อง

        - ใช้เครื่องยนต์แก๊สเทอร์ไบน์  แรงม้าไม่น้อยกว่า 400  SHP   บรรทุกกำลังพลได้ไม่น้อยกว่า 4 นาย รวมนักบินเมื่อบรรทุกและมีเชื้อเพลิงเต็มถัง(MTOW) จะต้องมีความเร็วเดินทางสูงสุดไม่น้อยกว่า

120 น๊อต และพิสัยบินไม่น้อยกว่า 300 nm

 

        เงื่อนไขของโครงการ

1. มีการฝึกนักบินและช่าง เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้โดย จำนวน นักบิน 2 นาย,ต่ออากาศยาน 1 เครื่อง

    นักบินลองเครื่อง 2 นาย,  ครูการบิน 2 นาย, ช่างขั้นหน่วย ไม่น้อยกว่า 2 นาย,

    ช่างขั้นกลางจำนวน 4 นาย, 

2. ต้องแจ้งรายการและราคาของเครื่องมือซ่อมบำรุงประจำอากาศยานและบริภัณฑ์ภาคพื้น

3. ต้องแจ้งรายการและราคาของชิ้นส่วนซ่อมควบคู่  จำนวน 400 ชม.บิน  และ/หรือ 2 ปี ต่อเครื่อง

4. มีระบบไฟที่สามารถปฏิบัติงานด้วยกล้องมองกลางคืน (NVG)

5. ต้องแจ้งข้อมูลการผลิตและประเทศผู้ใช้งานทั่วโลก

6. ไม่เป็นเครื่องบินต้นแบบ

โดยคุณ Ronin เมื่อวันที่ 02/04/2008 12:25:36


ความคิดเห็นที่ 2


บันทึก 58. โครงการซ่อมปรับปรุง ฮ.ท.1

        - ทบ.มีเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป แบบ ฮ.ท.1 (UH1-H)ประจำการจำนวน 92 เครื่อง แต่อยู่ในสภาพงดบินเป็นจำนวนมาก เนื่องจากขาดแคลนชิ้นส่วนอะไหล่ที่ต้องเปลี่ยนตามระยะเวลามาเป็นเวลานาน โดย ทบ.มีความต้องการในการซ่อมบำรุง ฮ.ท.1 เพิ่มเติมอีกจำนวน 46 เครื่อง โดย ทบ.ใช้วิธีการซ่อมปรับปรุงตามมาตรฐานที่ ทบ.กำหนด  โดยจะเป็นลักษณะการยืดอายุการใช้งานให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องอย่างน้อยอีก 15 ปี โดยมีการตรวจสภาพและซ่อมบำรุงตามความจำเป็นแบบสมบูรณ์ (Completed Inspection and Repair As Necessary : IRAN) หรือการซ่อมบำรุงระดับโรงงาน(Program Depot Maintenance : PDM) หรือการซ่อมปรับปรุงเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ (Up Grade) โดยปี 49 ทบ.ได้จัดสรรงบประมาณในระยะที่ 1 จำนวน 16 เครื่อง และมีความต้องการในระยะที่ 2 และ ระยะที่ 3 ในปีงบประมาณ 2550 (ผูกพันข้ามปีงบประมาณ 2550-2552)จำนวน 15 เครื่อง  และ ในปีงบประมาณ 2551 (ผูกพันข้ามปีงบประมาณ 2551 – 2553)จำนวน 15 เครื่อง

โดยคุณ Ronin เมื่อวันที่ 02/04/2008 12:26:23


ความคิดเห็นที่ 3


บันทึก 59. โครงการซ่อมปรับปรุง ฮ.ล.47

        - ทบ.มีเฮลิคอปเตอร์ลำเลียง แบบ ฮ.ล.47 (CH-47D)ประจำการจำนวน 6 เครื่อง แต่อยู่ในสภาพงดบินเป็นเวลานาน จำนวน 3 เครื่อง  เนื่องจากขาดแคลนชิ้นส่วนอะไหล่ที่ต้องเปลี่ยนตามระยะเวลา จึงเกิดปัญหาในการปฏิบัติงาน ดังนั้น ทบ.จึงมีความต้องการซ่อมใหญ่ ( Overhaul) ฮ.ล.47 จำนวน 3 เครื่อง ดังกล่าว โดยจะต้องทำการตรวจสภาพ ฮ.ล.47 แต่ละเครื่อง เพื่อให้ทราบสาเหตุของการชำรุดและดำเนินการซ่อมให้สามารถบินได้อย่างปลอดภัย โดยกำหนดเป็นความต้องการในปีงบประมาณ 2549 (ผูกพันข้ามปีงบประมาณ 2549 – 2550)

        - สำหรับ ฮ.ล.47 ทั้ง 3 เครื่องนี้ จำนวน 2 เครื่อง ชิ้นส่วนซ่อมหลักครบอายุการใช้งาน และอีก

1 เครื่อง ชิ้นส่วนซ่อมหลักครบอายุการใช้งานเนื่องจากการถอดสับเปลี่ยน (Cannibalization) และประสบอุบัติเหตุลงกระแทก (Hard Landing)

        รายการชิ้นส่วนซ่อมหลักโดยย่อ ที่ต้องการ

       1. FWD.ROTOR HEAD

        2. AFT.ROTOR HEAD

        3. ENG.TRANSMISSION

        4. FWD.SWASPLATE

        5. AFT.SWASPLATE

       6. SHOCK ABSORBER

        7. POWER TRANSFER UNIT

        8. STARTER ENG.

        9.  BLADE ASSY.FWD.

        10. BLADE ASSY.AFT.

หมายเหตุ

        - ไม่ได้แสดงรายการทั้งหมด

โดยคุณ Ronin เมื่อวันที่ 02/04/2008 12:27:11


ความคิดเห็นที่ 4


บันทึก 60 โครงการปรับปรุง รถเกราะ  วี  150


วัตถุประสงค์          ทบ.ต้องการซ่อมคืนสภาพ  รถเกราะ  วี  150  และปรับปรุงระบบเครื่องควบคุมการยิง ตามที่กำหนด จำนวน  113  คัน ( ลำเลียงพล  28  คัน,  .81 มม.  29  คัน, .90 มม.  56  คัน )

1. คุณสมบัติผู้ยื่นเสนอ

                1.1 เป็นบริษัท ที่มีขีดความสามารถหรือผลงานการปรับปรุง รถเกราะ  วี  150  โดยมีหลักฐานหรือเอกสารอ้างอิง ที่สามารถตรวจสอบได้

                1.2 มีฐานะทางการเงินที่เชื่อถือได้ โดยมีหลักฐานทางธนาคารที่กองทัพบกเชื่อถือ สามารถอ้างอิง หรือสอบถามเกี่ยวกับฐานะทางการเงินได้

2. สมรรถนะและขีดความสามารถของ รถเกราะ วี-150

                2.1 ลักษณะทั่วไป

         พลประจำ                                             2   นาย

         ผู้โดยสาร                                            12    นาย

         อาวุธ   ปก.   ขนาด                         7.62    มม.

                      .  ขนาด                                 81    มม.

            ปืนใหญ่    ขนาด                            90    มม.

         เครื่องยนต์                                   ดีเซล  V504,   8  สูบ  ระบายความร้อนด้วยน้ำ  202  แรงม้า 

                                                                ที่  3,300  รอบ/นาที

         เครื่องเปลี่ยนความเร็ว               แบบอัตโนมัติ,  4  ความเร็วเดินหน้า,  1  ความเร็วถอยหลังสมรรถนะ

               ความเร็ว  บนถนน                    89.6    กม./ชม.

                               ในน้ำ                               5     กม./ชม.

               ระยะปฏิบัติการ

                               บนถนน                      800    กม.

                               ในภูมิประเทศ            644    กม.

                เกณฑ์ความสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง     

                                บนถนน                      2.5    กม./ลิตร

                               ในภูมิประเทศ             2.1    กม./ลิตร

                ความสามารถในการปีนลาด                        60   เปอร์เซ็นต์

                ความสามารถในการไต่ลาดด้านข้าง      30   เปอร์เซ็นต์

                ข้ามเครื่องกีดขวางได้สูง             910  มม.

 

2.2  รายละเอียดการซ่อมปรับปรุง

        2.2.1  ซ่อมคืนสภาพ รถเกราะ  วี  150 ทุกระบบ เพื่อให้มีขีดความสามารถเหมือนเดิมหรือดีกว่า กรณีข้อเสนอของบริษัท เป็นการปรับปรุงระบบต่าง ๆ ของ รถเกราะ วี-150 แตกต่างจากลักษณะเดิม สามารถดำเนินการได้   แต่เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จ จะต้องมีลักษณะเหมือนเดิมหรือดีกว่า และจะต้องมีการทดสอบ และรับรองรถต้นแบบจาก ทบ.ก่อน โดยจะต้องซ่อมระบบต่าง ๆ ดังนี้

                           -ระบบเครื่องยนต์ (ENGINE)

                           -ระบบเครื่องเปลี่ยนความเร็ว (TRANSMISSION)

                          -หีบเฟืองช่วย (TRANSFER)

                          -หีบเฟืองท้าย (DIFFERENTIAL)

                        -เฟืองขับขั้นสุดท้าย (FINAL DRIVE) 

                          -ระบบพยุงตัวรถ (SUSPENSION SYSTEM)

                          -ระบบตัวรถและอุปกรณ์ประกอบ (HULL & ACCESSORIES)

                        -ระบบระบายความร้อน (COOLING SYSTEM)

                        -ระบบไฟฟ้า

                        -ระบบเบรค

                           -ระบบบังคับเลี้ยว

                           -ระบบป้อมปืน และ ปถ.

        2.2.2  เครื่องควบคุมการยิงที่ใช้กับ  รถเกราะ วี-150 หลังปรับปรุง

                             กล้องเล็งสำหรับพลยิง   มีลักษณะดังนี้

                                   ลักษณะเฉพาะ  เป็นกล้องเล็งสำหรับพลยิง ใช้งานได้ทั้งกลางวันและกลางคืน โดยสามารถถอดแยกและติดตั้งกับป้อมปืนของ รถเกราะ วี-150 ได้ง่าย ซึ่งประกอบด้วย

                                                                -กล้องเล็ง

                                                                -เครื่องวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ แบบไม่เป็นอันตรายต่อดวงตา (EYESAFE  LASER  RANGEFINDER)

                                                                -อุปกรณ์ยึดกล้องเล็ง (INTERFACE  PLATE)            

                                                                -ชุดสายไฟ (CABLE SET)               

 

                                   ลักษณะเฉพาะทางเทคนิค  ใช้แรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสตรง  24 – 28 โวลท์  มีมาตรา

ประจำแก้ว ซึ่งสามารถใช้เล็งยิงกระสุนปืนใหญ่รถถัง ขนาด   90  มิลลิเมตร มีสวิตช์เลือกใช้งานกลางวัน/กลางคืน สามารถป้องกันน้ำและความชื้นได้ และมีอุปกรณ์ป้องกันแสงเลเซอร์ย่าน1,064 นาโนเมตร เพื่อป้องกันอันตรายต่อดวงตา กล้องเล็งประกอบด้วย

            -หัวกล้องเล็ง (HEAD PERISCOPE) กระจกหัวกล้องเล็งสามารถปรับมุมก้ม/เงย ได้ระหว่าง -10 องศา ถึง +50 องศา

                                     -ช่องสำหรับใช้งานเวลากลางวัน (DAY CHANNEL)

             -สามารถจัดปรับย่านการเห็น (FIELD OF VIEW) ได้ 2 ขนาด คือ 28 องศาและ 7 องศา

             -จัดปรับกำลังขยายได้ 2 ระดับ คือ 1.5 เท่า และ 6 เท่า

             -ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางช่องแสงออก (EXIT PUPIL) ไม่น้อยกว่า 6.5 มิลลิเมตร

                                   -ระยะห่างระหว่าตากับเลนส์ (EYE RELIEF) ระหว่าง 25-30 มิลลิเมตร

           -สามารถปรับระยะชัดของชุดเลนส์ตา (EYEPIECE FOCUS) ได้ตั้งแต่  -3  ถึง  +2 ไดออพเตอร์ หรือดีกว่า

                                    -มีระยะโฟกัสตั้งแต่ 25 เมตร ถึงระยะอนันต์ (INFINITY) หรือดีกว่า

            -สามารถจำแนกเป้าหมายรถถัง (RECOGNITION RANGE) ได้ไม่น้อยกว่า 4,000 เมตร

             -มีความละเอียดของภาพ (ON-AXIS RESOLUTION) ไม่น้อยกว่า 0.05 mR.

                        ช่องสำหรับใช้งานเวลากลางคืน (NIGHT  CHANNEL)

                                       -ใช้หลอดภาพแบบขยายแสง  2nd  GEN SUPER หรือดีกว่า

                                       -มีกำลังขยาย (MAGNIFICATION) ไม่น้อยกว่า 4 เท่า

                                       -ย่านการเห็น (FIELD OF VIEW) ไม่น้อยกว่า 8.4 องศา

                                       -ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางช่องแสงออก (EXIT PUPIL) ไม่น้อยกว่า 7.5 มิลลิเมตร

               -ระยะห่างระหว่างตากับเลนส์ (EYE RELIEF) ระหว่าง  25 – 30 มิลลิเมตร

               -สามารถปรับระยะชัดของชุดเลนส์ตา (EYEPIECE  FOCUS) ได้ตั้งแต่ -0.75 ถึง + 0.15 ไดออพเตอร์ หรือดีกว่า

              -มีความละเอียดของภาพ (ON-AXIS RESOLUTION) ไม่น้อยกว่า  0.12 mR.

              -สามารถจำแนกเป้าหมายรถถัง (RECOGNITION RANGE) ได้ไม่น้อยกว่า 600 เมตรในสภาวะท้องฟ้าโปร่ง

                                    -เครื่องวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ แบบไม่เป็นอันตรายต่อดวงตา (EYE SAFE LASER RANGEFINDER) ซึ่งให้พลังงานแสงเลเซอร์ในย่าน 1,535 นาโนเมตร

                                      -สามารถวัดระยะได้ตั้งแต่ 300 เมตร จนถึง9,995 เมตร โดยผู้ใช้สามารถปรับลดหรือเพิ่มระยะได้ครั้งละ  5  เมตร

              -มีความแม่นยำ     5  เมตร

              -สามารถเลือกแสดงระยะของเป้าหมายได้  2  แบบ คือ ระยะของเป้าหมายแรกและระยะของเป้าหมายสุดท้าย

              -พลังงานเลเซอร์ที่ส่งออก อยู่ระหว่าง 3 ถึง 4  mJoules

              -สามารถวัดระยะเป้าหมายที่ซ้อนเหลื่อมหน้า-หลัง ในระยะห่างกันตั้งแต่ 25 เมตรขึ้นไปได้

              -มีความผิดพลาดในการวัดระยะ (FALSE ALARM RATE) ไม่มากกว่าร้อยละหนึ่ง

              -การวัดระยะปกติสามารถทำการยิงแสงเลเซอร์เพื่อวัดระยะเป้าหมายได้ 1 ครั้ง ทุก ๆ 5 วินาที และในกรณีฉุกเฉินสามารถกดวัดระยะได้ทุก ๆ  3  วินาที  แต่ไม่มากกว่า 20 ครั้ง
ใน
100 วินาที

 

                        -ข้อกำหนดอื่น ๆ

                            -เป็นของผลิตใหม่อยู่ในสภาพเรียบร้อย ไม่เคยใช้งานมาก่อน และสามารถใช้ราชการได้ทันที

                            -มีหนังสือรับรอง วัน เดือน ปี ที่ผลิตหลอดภาพจากบริษัทผู้ผลิต

                            -มีคู่มือการใช้งาน และคู่มือการซ่อมบำรุงระดับหน่วยใช้ เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มอบให้อย่างละ 2 ชุด ต่อกล้องเล็ง 1 ชุด

                            -มีคู่มือซ่อมบำรุงระดับหน่วยสนับสนุนโดยตรง,  ระดับหน่วยสนับสนุนทั่วไป และระดับคลัง  เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มอบให้จำนวน 2 ชุด ต่อกล้องเล็ง 1 ชุด

                            -มีคู่มือการส่งกำลังเป็นภาษาอังกฤษ สำหรับหน่วยใช้และหน่วยสนับสนุน มอบให้จำนวน    2 ชุด ต่อกล้องเล็ง 1 ชุด

3. แผนการสาธิต

                3.1 นำยุทโธปกรณ์เข้ามาสาธิต ณ  กรซย.ศอ.สพ.ทบ.

3.2 จัดเจ้าหน้าที่ไปชมการสาธิต    บริษัท

4. ระยะเวลาดำเนินการ  ปีงบประมาณ 51 - 53 

5. การถ่ายทอดเทคโนโลยี

                5.1 มอบข้อมูล เอกสาร  พิมพ์เขียว เครื่องมือที่ใช้ในการปรับปรุง

5.2 ให้เจ้าหน้าที่ กรซย.ศอ.สพ.ทบ. ร่วมดำเนินการ  และรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างการ  ปรับปรุง   

6. การฝึกศึกษา

                6.1 มอบคู่มือการฝึกศึกษา

                6.2 ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน

                6.3 ฝึกอบรมช่างซ่อมบำรุงระดับสนับสนุนโดยตรง, สนับสนุนทั่วไป และ ระดับคลัง

7. การส่งกำลังและซ่อมบำรุง

                7.1 มอบคู่มือการส่งกำลังและซ่อมบำรุง ครบทุกระดับขั้นการซ่อมบำรุง และคู่มือประจำยุทโธปกรณ์

                7.2 รับประกันการสนับสนุนชิ้นส่วนซ่อม อย่างต่อเนื่องต่อไปได้อีกไม่น้อยกว่า 15 ปี

                7.3 มีรายการชิ้นส่วนซ่อมควบคู่ ที่มีมาพร้อมยุทโธปกรณ์ 2 ปี

                7.4 มอบเครื่องมือทดสอบและเครื่องมือพิเศษ

8. ข้อเสนออื่น ๆ

                8.1 การปรับปรุงใช้บุคลากร เครื่องมือ    เครื่องจักร  โรงงาน     และสิ่งอำนวยความสะดวก ของกองทัพบก   ( กรซย.ศอ.สพ.ทบ. )  เป็นสถานที่ดำเนินการดัดแปลงเท่านั้น   ทั้งนี้การดำเนินการ จะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนด ระเบียบ และมาตรฐานรักษาความปลอดภัยของกองทัพบก

                8.2 บริษัทสนับสนุน  วิศวกร  ชิ้นส่วนซ่อม และวัสดุช่วยผลิต   ในการปรับปรุงทุกรายการ

                8.3 บริษัทสนับสนุนงบประมาณค่าเบี้ยเลี้ยง ค่า สป.3 และอื่นๆ ที่ใช้ในการทดสอบหลังการปรับรุง

                8.4 บริษัทรับผิดชอบในการจัดหา เครื่องมือ เครื่องจักร ที่ต้องใช้เพิ่มเติมระหว่างการซ่อมปรับปรุง

โดยคุณ Ronin เมื่อวันที่ 02/04/2008 12:28:02


ความคิดเห็นที่ 5


บันทึก 61 โครงการปรับปรุง ถ.เบา 21


วัตถุประสงค์           ซ่อมคืนสภาพ ถ.เบา 21 จำนวน 128  คัน ทุกระบบ และปรับปรุงเครื่องควบคุมการยิง ตามที่กำหนด

1. คุณสมบัติผู้ยื่นเสนอ

                1.1 เป็นบริษัท ที่มีขีดความสามารถหรือผลงานการปรับปรุง ถ.เบา 21 โดยมีหลักฐานหรือเอกสารอ้างอิง ที่สามารถตรวจสอบได้

                1.2 มีฐานะทางการเงินที่เชื่อถือได้ โดยมีหลักฐานทางธนาคารที่กองทัพบกเชื่อถือ สามารถอ้างอิง หรือสอบถามเกี่ยวกับฐานะทางการเงินได้

2. สมรรถนะและขีดความสามารถของ ถ.เบา 21

     2.1 ลักษณะทั่วไป

            เครื่องยนต์                                แก๊สโซลีน  jaguar  6 สูบ ระบายความร้อนด้วยน้ำ

                                                                มีกำลังไม่น้อยกว่า 195 แรงม้า ที่ 5,000 รอบ/นาที

            เครื่องเปลี่ยนความเร็ว            TN 15X      7  ความเร็วเดินหน้า,  7  ความเร็วถอยหลัง

            ความเร็ว

                                                                บนถนน                ไม่น้อยกว่า            50  ไมล์/ชม. (80 กม./ชม.)

                                                                ในน้ำไม่น้อยกว่า                   4  ไมล์/ชม. ( 6.44 กม./ชม.)

                        ความจุถังน้ำมันเชื้อเพลิง                           423  ลิตร

                        ระยะปฏิบัติการ                                           400 ไมล์ (640 กม.)

                        เกณฑ์ความสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง  ( แก๊สโซลีน)  422  ลิตร

                                                                บนถนน                                1.6          กม./ลิตร

                                                                ในภูมิประเทศ      0.6          กม./ลิตร

                        มุมถึงลาด                                                      26  องศา

                        มุมจากลาด                                                    21.5  องศา

                        ความสามารถในการปีนลาด                     60  เปอร์เซ็นต์

            อาวุธหลัก      ปืนใหญ่               76  มม.

                                     ปก.ร่วมแกน        7.62  มม.

                                     เครื่องยิงระเบิดม่านควัน  ข้างละ 4 ท่อ

2.2  รายละเอียดการซ่อมปรับปรุง

        2.2.1  ซ่อมคืนสภาพ ถ. ทุกระบบ เพื่อให้มีขีดความสามารถเหมือนเดิมหรือดีกว่า กรณีข้อเสนอของ

บริษัท เป็นการปรับปรุงระบบต่าง ๆ ของ ถ. แตกต่างจากลักษณะเดิม สามารถดำเนินการได้ แต่เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จ จะต้องมีลักษณะเหมือนเดิมหรือดีกว่า และจะต้องมีการทดสอบ
และรับรองรถต้นแบบ จาก ทบ
.ก่อน โดยจะต้องซ่อมระบบต่าง ๆ ดังนี้

                        -ซ่อมคืนสภาพระบบต่าง ๆ ทุกระบบ เพื่อให้มีขีดความสามารถเหมือนเดิมหรือดีกว่า

                           -ระบบเครื่องยนต์ (ENGINE)

                           -ระบบเครื่องเปลี่ยนความเร็ว (TRANSMISSION)

                        -เฟืองขับขั้นสุดท้าย (FINAL DRIVE) 

                          -ระบบพยุงตัวรถ (SUSPENSION SYSTEM)

                          -ระบบตัวรถและอุปกรณ์ประกอบ (HULL & ACCESSORIES)

                        -ระบบระบายความร้อน (COOLING SYSTEM)

                        -ระบบไฟฟ้า

                        -ระบบเบรค

                           -ระบบบังคับเลี้ยว

                           -ระบบป้อมปืน และ ปถ.

        2.2.2  เครื่องควบคุมการยิงที่ใช้กับ ถ.เบา 21 หลังจากการปรับปรุง

                        2.2.2.1 กล้องเล็งสำหรับผู้บังคับรถ   มีลักษณะดังนี้

                                   ลักษณะเฉพาะ  เป็นกล้องเล็งสำหรับผู้บังคับรถ ติดตั้งกับ ถ.เบา 21 (SCORPION) ทีมีใช้ใน ทบ.ไทยปัจจุบัน ใช้งานได้ทั้งกลางวันและกลางคืน โดยสามารถถอดแยกและติดตั้ง
กับ ถ
.เบา 21 ได้ง่าย ซึ่งประกอบด้วย

                                                                -กล้องเล็ง

                                                                -อุปกรณ์ยึดกล้องเล็ง (INTERFACE PLATE)

                                                                -ชุดสายไฟ (CABLE SET)                                                               

                                   ลักษณะเฉพาะทางเทคนิค  ใช้แรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสตรง 24 – 28 โวลท์  มีมาตรา

ประจำแก้ว ซึ่งสามารถใช้เล็งยิงกระสุนปืนใหญ่รถถัง ขนาด 76 มิลลิเมตร มีสวิตช์เลือกใช้งานกลางวัน/กลางคืน สามารถป้องกันน้ำและความชื้นได้ และมีอุปกรณ์ป้องกันแสงเลเซอร์ย่าน1,064 นาโนเมตร เพื่อป้องกันอันตรายต่อดวงตา กล้องเล็งประกอบด้วย

                                หัวกล้องเล็ง (HEAD PERISCOPE) กระจกหัวกล้องเล็งสามารถปรับมุมก้ม/เงย ได้ระหว่าง -10 องศา ถึง +50 องศา

                                ช่องสำหรับใช้งานเวลากลางวัน (DAY CHANNEL)

                -สามารถจัดปรับย่านการเห็น (FIELD OF VIEW)ได้ 2 ขนาด คือ 28 องศา และ 7 องศา

               -จัดปรับกำลังขยายได้ 2 ระดับ คือ 1.5 เท่า และ 6 เท่า

                -ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางช่องแสงออก (EXIT PUPIL) ไม่น้อยกว่า 6.5 มิลลิเมตร

                                      -ระยะห่างระหว่างตากับเลนส์ (EYE RELIEF) ระหว่าง 25-30 มิลลิเมตร

             -สามารถปรับระยะชัดของชุดเลนส์ตา (EYEPIECE FOCUS) ได้ตั้งแต่  -3   ถึง+2   ไดออพเตอร์ หรือดีกว่า

                                      -มีระยะโฟกัสตั้งแต่ 25 เมตร ถึงระยะอนันต์ (INFINITY) หรือดีกว่า

              -สามารถจำแนกเป้าหมายรถถัง (RECOGNITION RANGE) ได้ไม่น้อยกว่า 4,000 เมตร

              -มีความละเอียดของภาพ (ON-AXIS RESOLUTION) ไม่น้อยกว่า 0.05 mR.

                                ช่องสำหรับใช้งานเวลากลางคืน (NIGHT  CHANNEL)

                                       -ใช้หลอดภาพแบบขยายแสง  2nd  GEN SUPER หรือดีกว่า

                                       -มีกำลังขยาย (MAGNIFICATION) ไม่น้อยกว่า 4 เท่า

                                       -ย่านการเห็น (FIELD OF VIEW) ไม่น้อยกว่า 8.4 องศา

                                       -ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางช่องแสงออก (EXIT PUPIL) ไม่น้อยกว่า 7.5 มิลลิเมตร

               -ระยะห่างระหว่างตากับเลนส์ (EYE RELIEF) ระหว่าง  25 – 30 มิลลิเมตร

               -สามารถปรับระยะชัดของชุดเลนส์ตา (EYEPIECE  FOCUS) ได้ตั้งแต่ -0.75 ถึง + 0.15ไดออพเตอร์ หรือดีกว่า

                                      -มีระยะโฟกัสตั้งแต่ 25 เมตร ถึงระยะอนันต์ (INFINITY) หรือดีกว่า

              -มีความละเอียดของภาพ (ON-AXIS RESOLUTION) ไม่น้อยกว่า  0.12 mR.

              -สามารถจำแนกเป้าหมายรถถัง (RECOGNITION RANGE) ได้ไม่น้อยกว่า  600 เมตร ในสภาวะท้องฟ้าโปร่ง

                        -ข้อกำหนดอื่น ๆ

                            -เป็นของผลิตใหม่อยู่ในสภาพเรียบร้อย ไม่เคยใช้งานมาก่อน และสามารถใช้ราชการได้ทันที

                            -มีหนังสือรับรอง วัน เดือน ปี ที่ผลิตหลอดภาพจากบริษัทผู้ผลิต

                            -มีคู่มือการใช้งาน และคู่มือการซ่อมบำรุงระดับหน่วยใช้ เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มอบให้อย่างละ 2 ชุด ต่อกล้องเล็ง 1 ชุด

                            -มีคู่มือซ่อมบำรุงระดับหน่วยสนับสนุนโดยตรง,  ระดับหน่วยสนับสนุนทั่วไป และระดับคลัง  เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มอบให้จำนวน 2 ชุด ต่อกล้องเล็ง 1 ชุด

                            -มีคู่มือการส่งกำลังเป็นภาษาอังกฤษ สำหรับหน่วยใช้และหน่วยสนับสนุน มอบให้จำนวน   2 ชุด ต่อกล้องเล็ง 1 ชุด

                        2.2.2.2  กล้องเล็งสำหรับพลยิง   มีลักษณะดังนี้

                                   ลักษณะเฉพาะ  เป็นกล้องเล็งสำหรับพลยิง ติดตั้งกับ ถ.เบา 21 (SCORPION)ทีมีใช้ใน ทบ.ไทยปัจจุบัน ใช้งานได้ทั้งกลางวันและกลางคืน โดยสามารถถอดแยกและติดตั้ง
กับป้อมปืนของ ถ
.เบา 21 ได้ง่าย ซึ่งประกอบด้วย

                                                                -กล้องเล็ง

                                                                -เครื่องวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ แบบไม่เป็นอันตรายต่อดวงตา (EYESAFE  LASER  RANGEFINDER)

                                                                -อุปกรณ์ยึดกล้องเล็ง (INTERFACE  PLATE)            

                                                                -ชุดสายไฟ (CABLE SET)               

                                   ลักษณะเฉพาะทางเทคนิค  ใช้แรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสตรง  24 – 28 โวลท์  มีมาตรา

ประจำแก้ว ซึ่งสามารถใช้เล็งยิงกระสุนปืนใหญ่รถถัง ขนาด 76 มิลลิเมตร มีสวิตช์เลือกใช้งานกลางวัน/กลางคืน สามารถป้องกันน้ำและความชื้นได้ และมีอุปกรณ์ป้องกันแสงเลเซอร์ย่าน1,064 นาโนเมตร เพื่อป้องกันอันตรายต่อดวงตา กล้องเล็งประกอบด้วย

        หัวกล้องเล็ง (HEAD PERISCOPE) กระจกหัวกล้องเล็งสามารถปรับมุมก้ม/เงย ได้ระหว่าง -10 องศา ถึง +50 องศา

                                ช่องสำหรับใช้งานเวลากลางวัน (DAY CHANNEL)

             -สามารถจัดปรับย่านการเห็น (FIELD OF VIEW) ได้ 2 ขนาด คือ 28 องศา   และ 7 องศา

             -จัดปรับกำลังขยายได้ 2 ระดับ คือ 1.5 เท่า และ 6 เท่า

             -ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางช่องแสงออก (EXIT PUPIL) ไม่น้อยกว่า 6.5 มิลลิเมตร

                                   -ระยะห่างระหว่าตากับเลนส์ (EYE RELIEF) ระหว่าง 25-30 มิลลิเมตร

           -สามารถปรับระยะชัดของชุดเลนส์ตา (EYEPIECE FOCUS) ได้ตั้งแต่  -3  ถึง  +2 ไดออพเตอร์ หรือดีกว่า

                                    -มีระยะโฟกัสตั้งแต่ 25 เมตร ถึงระยะอนันต์ (INFINITY) หรือดีกว่า

            -สามารถจำแนกเป้าหมายรถถัง (RECOGNITION RANGE) ได้ไม่น้อยกว่า 4,000 เมตร

             -มีความละเอียดของภาพ (ON-AXIS RESOLUTION) ไม่น้อยกว่า 0.05 mR.

                                ช่องสำหรับใช้งานเวลากลางคืน (NIGHT  CHANNEL)

                                       -ใช้หลอดภาพแบบขยายแสง  2nd  GEN SUPER หรือดีกว่า

                                       -มีกำลังขยาย (MAGNIFICATION) ไม่น้อยกว่า 4 เท่า

                                       -ย่านการเห็น (FIELD OF VIEW) ไม่น้อยกว่า 8.4 องศา

                                       -ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางช่องแสงออก (EXIT PUPIL) ไม่น้อยกว่า 7.5 มิลลิเมตร

               -ระยะห่างระหว่างตากับเลนส์ (EYE RELIEF) ระหว่าง  25 – 30 มิลลิเมตร

               -สามารถปรับระยะชัดของชุดเลนส์ตา (EYEPIECE  FOCUS) ได้ตั้งแต่ -0.75 ถึง + 0.15 ไดออพเตอร์ หรือดีกว่า

                                      -มีระยะโฟกัสตั้งแต่ 25 เมตร ถึงระยะอนันต์ (INFINITY) หรือดีกว่า

              -มีความละเอียดของภาพ (ON-AXIS RESOLUTION) ไม่น้อยกว่า  0.12 mR.

              -สามารถจำแนกเป้าหมายรถถัง (RECOGNITION RANGE) ได้ไม่น้อยกว่า 600 เมตรในสภาวะท้องฟ้าโปร่ง

                                    -เครื่องวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ แบบไม่เป็นอันตรายต่อดวงตา (EYE SAFE LASER RANGEFINDER) ซึ่งให้พลังงานแสงเลเซอร์ในย่าน 1,535 นาโนเมตร

                                      -สามารถวัดระยะได้ตั้งแต่ 300 เมตร จนถึง9,995 เมตร โดยผู้ใช้สามารถปรับลดหรือเพิ่มระยะได้ครั้งละ  5  เมตร

              -มีความแม่นยำ     5  เมตร

              -สามารถเลือกแสดงระยะของเป้าหมายได้  2  แบบ คือ ระยะของเป้าหมายแรกและระยะของเป้าหมายสุดท้าย

              -พลังงานเลเซอร์ที่ส่งออก อยู่ระหว่าง 3 ถึง 4  mJoules

              -สามารถวัดระยะเป้าหมายที่ซ้อนเหลื่อมหน้า-หลัง ในระยะห่างกันตั้งแต่ 25 เมตรขึ้นไปได้

              -มีความผิดพลาดในการวัดระยะ (FALSE ALARM RATE) ไม่มากกว่าร้อยละหนึ่ง

              -การวัดระยะปกติสามารถทำการยิงแสงเลเซอร์เพื่อวัดระยะเป้าหมายได้ 1 ครั้ง ทุก ๆ 5 วินาที และในกรณีฉุกเฉินสามารถกดวัดระยะได้ทุก ๆ  3  วินาที  แต่ไม่มากกว่า 20 ครั้ง
ใน
100 วินาที

 

                        -ข้อกำหนดอื่น ๆ

                            -เป็นของผลิตใหม่อยู่ในสภาพเรียบร้อย ไม่เคยใช้งานมาก่อน และสามารถใช้ราชการได้ทันที

                            -มีหนังสือรับรอง วัน เดือน ปี ที่ผลิตหลอดภาพจากบริษัทผู้ผลิต

                            -มีคู่มือการใช้งาน และคู่มือการซ่อมบำรุงระดับหน่วยใช้ เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มอบให้อย่างละ 2 ชุด ต่อกล้องเล็ง 1 ชุด

                            -มีคู่มือซ่อมบำรุงระดับหน่วยสนับสนุนโดยตรง,  ระดับหน่วยสนับสนุนทั่วไป และระดับคลัง  เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มอบให้จำนวน 2 ชุด ต่อกล้องเล็ง 1 ชุด

                            -มีคู่มือการส่งกลังเป็นภาษอังกฤษ สำหรับหน่วยใช้และหน่วยสนับสนุน มอบให้จำนวน 2 ชุด ต่อกล้องเล็ง 1 ชุด

3. แผนการสาธิต

                3.1 นำยุทโธปกรณ์เข้ามาสาธิต ณ  กรซย.ศอ.สพ.ทบ.

                3.2 จัดเจ้าหน้าที่ไปชมการสาธิต    บริษัท

4. ระยะเวลาดำเนินการ  ปีงบประมาณ 50 - 52 

5. การถ่ายทอดเทคโนโลยี

                5.1 มอบข้อมูล เอกสาร  พิมพ์เขียว เครื่องมือที่ใช้ในการปรับปรุง

                5.2 ให้เจ้าหน้าที่ กรซย.ศอ.สพ.ทบ. ร่วมดำเนินการ  และรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างการปรับปรุง

6. การฝึกศึกษา

                6.1 มอบคู่มือการฝึกศึกษา

                6.2 ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน

                6.3 ฝึกอบรมช่างซ่อมบำรุงระดับสนับสนุนโดยตรง, สนับสนุนทั่วไป และ ระดับคลัง

7. การส่งกำลังและซ่อมบำรุง

                7.1 มอบคู่มือการส่งกำลังและซ่อมบำรุง ครบทุกระดับขั้นการซ่อมบำรุง และคู่มือประจำยุทโธปกรณ์

                7.2 รับประกันการสนับสนุนชิ้นส่วนซ่อม อย่างต่อเนื่องต่อไปได้อีกไม่น้อยกว่า 15 ปี

                7.3 มีรายการชิ้นส่วนซ่อมควบคู่ ที่มีมาพร้อมยุทโธปกรณ์ 2

โดยคุณ Ronin เมื่อวันที่ 02/04/2008 12:29:03


ความคิดเห็นที่ 6


โครงการปรับปรุง   .เบา 32


วัตถุประสงค์  ทบ. ต้องการซ่อมคืนสภาพ ถ.เบา 32 ทั้งคันและซ่อมปรับปรุงระบบเครื่องควบคุม

          การยิง ระบบ DFCS จำนวน 106 คัน

1. คุณสมบัติผู้ยื่นเสนอ

                1.1 เป็นบริษัท ที่มีขีดความสามารถหรือผลงานการปรับปรุง ถ.เบา 32 โดยมีหลักฐานหรือเอกสารอ้างอิง ที่สามารถตรวจสอบได้

                1.2 มีฐานะทางการเงินที่เชื่อถือได้ โดยมีหลักฐานทางธนาคารที่กองทัพบกเชื่อถือ สามารถอ้างอิง หรือสอบถามเกี่ยวกับฐานะทางการเงินได้

2. สมรรถนะและขีดความสามารถของ ถ.เบา 32

     2.1 ลักษณะทั่วไป

                                พลประจำรถ                                                         4                                              นาย

                                น้ำหนักพร้อมรบ                                                 21,364                                   กก.

                                แรงกดต่อพื้น                                                       10.8                        PSI (74.41 KPA)

                                ระยะสูงพ้นพื้น                                                   430                                         มม.

ขนาด                     ความยาว (ปืนใหญ่อยู่ตำแหน่งหน้ารถ)         9,300                                      มม.

                                ความยาวตัวรถ                                                      6,450                                      มม.

                                กว้าง                                                                       2,710                                      มม.

                                สูง                                                                           2,550                                      มม.

เครื่องยนต์            DDC, 8V92TA, 400KW (535HP) ที่ 2,300 รอบต่อนาที, 8 สูบ รูปตัววี, ระบายความร้อนด้วยน้ำ, 2 จังหวะรอบ

ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง                         ดีเซล

ความจุถังน้ำมันเชื้อเพลิง                   (ถังหลัก 606 ลิตร) (ถังด้านหน้า 151 ลิตร) รวม 757   ลิตร

ระบบไฟฟ้า                                          แบบป้องกันน้ำ  แรงเคลื่อน   24 โวลท์ (12 X 4 หม้อแบตเตอรี่)

เครื่องเปลี่ยนความเร็ว   แบบ  XTG-411-4 , 4 ความเร็วเดินหน้า, 2 ความเร็วถอยหลัง

ระบบพยุงตัวรถ   คานรับแรงบิด, ล้อกดสายพานข้างละ 6 ล้อ, ล้อรับข้างละ 3 ล้อ

อาวุธหลักและอัตรากระสุนมูลฐาน

                                ปืนใหญ่ขนาด      105 มม.                  กระสุน                  36           นัด

                                ปืนกลขนาด          7.62 มม.                 กระสุน                  2,400      นัด

                                ปืนกลขนาด          0.50 นิ้ว                 กระสุน                  1,100      นัด

สมรรถนะ             ความเร็ว                                                                                69           กม./ชม.

                                ระยะปฏิบัติการ                                                                   483         กม.

                                ความสามารถในการปืนลาด                                             60           เปอร์เซ็นต์

                                ลุยน้ำได้ลึก                                                                           1,070      มม.

                                เกณฑ์ความสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง                             0.8          กม./ลิตร

2.2 เครื่องควบคุมการยิง ถ.เบา 32

      . ระบบกล้องเล็ง (SIGHTING) ประกอบด้วย

                1. กล้องเล็ง ผบ.รถ (SIGHT, COMMANDER’S NV52 DAY/NIGHT)

                2. กล้องพลยิง (SIGHT, GUNNER’S M.36E1 SIGHT DAY/NIGHT) ซึ่งจะมี

                 เครื่องวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ (LASER RANGE FINDER) ประกอบอยู่ด้วยที่กล้องเล็งกลางวัน

     . ระบบ  DIGITAL FIRE CONTROL SYSTEM (DFCS) ซึ่งเป็นชุดคอมพิวเตอร์ที่ใช้ประมวลผลและทำงานร่วมกับระบบการทรงตัวปืนอัตโนมัติ (STABILIZER)
และระบบป้อมปืน  (TURRET) ประกอบด้วย

                1. เครื่องคำนวณขีปนวิธีคอมพิวเตอร์ (COMPUTER UNIT: CU)

                2. เครื่องควบคุมการทำงานของหลอดภาพแสดงผลในกล้องเล็ง (CATHODE RAY TUBE

                 DRIVE UNIT: CRTD)

                3. ชุดจ่ายกำลังงานของระบบ DFCS (POWER SUPPLY UNIT: PSU)

                4. ชุดแผงควบคุมของผู้บังคับรถ ( COMMANDER’S CONTROL PANEL : CCP )

                5. ชุดรวมสัญญาณในการควบคุมการยิง ( FIRE CONTROL JUNCTION BOX : FCJB )

                6. เครื่องตรวจวัดการเอียงที่ตัวปืน ( TURRET TILT SENSOR : TTS )

                7. เครื่องตรวจวัดอัตราการหมุนป้อมปืน  ( TRAVERSE ENCODER : TE )

                8. เครื่องตรวจวัดอัตราการให้ทางสูงของตัวปืน  ( ELEVATION ENCODER : EE )

                9. เครื่องตรวจวัดสภาพอากาศ ( METEOROLOGICAL  SENSORS : MS )

.  ระบบกล้องพลขับ

                1. กล้องพลขับกลางวัน

                                1.1 กล้องเปอริสโคป, 11 ¾ นิ้ว ( PERISCOPE, 11 ¾  inch )

                                1.2 กล้องเปอริสโคป, 5 ½ นิ้ว  (PERISCOPE, 5 1/2  inch )

                2. กล้องพลขับกลางคืน ( VIEWER , DRIVER’S NIGHT  NV43S )

2.3. รายละเอียดการซ่อมปรับปรุง

        2.3.1  ซ่อมคืนสภาพ ถ. ทุกระบบ เพื่อให้มีขีดความสามารถเหมือนเดิมหรือดีกว่า กรณีข้อเสนอของบริษัท เป็นการปรับปรุงระบบต่าง ๆ ของ ถ. แตกต่างจากลักษณะเดิม สามารถดำเนินการได้ แต่เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จ จะต้องมีลักษณะเหมือนเดิมหรือดีกว่า และจะต้องมีการทดสอบ และรับรองรถต้นแบบจาก ทบ.ก่อน โดยจะต้องซ่อมระบบต่าง ๆ ดังนี้

                           -ระบบเครื่องยนต์ (ENGINE)

                           -ระบบเครื่องเปลี่ยนความเร็ว (TRANSMISSION)           

                           -เฟืองขับขั้นสุดท้าย (FINAL DRIVE)

                        -ระบบพยุงตัวรถ (SUSPENSION SYSTEM)

                          -ระบบตัวรถและอุปกรณ์ประกอบ (HULL & ACCESSORIES)

                        -ระบบระบายความร้อน (COOLING SYSTEM)

                        -ระบบไฟฟ้า

                        -ระบบเบรค

                        -ระบบบังคับเลี้ยว

                        -ระบบป้อมปืน และ ปถ.

            2.3.2  ซ่อมปรับปรุงเครื่องควบคุมการยิง

                       2.3.2.1  ระบบคอมพิวเตอร์และวงจรอิเลคโทรนิค

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยนแผงวงจร ประมวลผลทางคอมพิวเตอร์ DPM CARD/COMPUTER MODULE             

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยนแผงวงจร DIO  CARD/DIGITAL INPUT & OUTPUT MODULE            

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยนแผงวงจร ECU  CARD/ANGULAR  LOGIC MODULE            

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยนอุปกรณ์ชุด MOTOR SWITCHING MODULE            

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยนอุปกรณ์ชุด POWER SUPPLY MODULE            

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยนอุปกรณ์ชุดมอเตอร์ไฟฟ้า ELECTRICAL MOTOR            

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยนอุปกรณ์ชุดเฟืองขับ MACHANICAL GEAR       

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยนอุปกรณ์ชุดเพลาแสดงตำแหน่ง SHAFT  ENCODER             

                       2.3.2.2  ระบบทรงตัวป้อมปืนอัตโนมัติ

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน อุปกรณ์ชุดแสดงผล DISPLAY  WINDOW

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน แผงวงจร DDM  CARD/DIGITAL DISPLAY MODULE

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน แผงวงจร AMC  CARD/ANALOG INTERFACE MODULE

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน อุปกรณ์ชุด POWER  SUPPLY MODULE

                       2.3.2.3  ระบบเลเซอร์วัดระยะทาง

                                   -เปลี่ยนแท่งกำเนิดแสงเลเซอร์  (LASER  ROD)

                                   -เปลี่ยนหลอดกำเนิดแสงแฟลช  (FLASH  LAMP)

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน กระจกสะท้อนแสง (MIRROR), Q-SWITCH ELEMENT, ปริซึมต่าง ๆของระบบเลเซอร์ (PRISM), กระจกกรองแสงเลเซอร์ (LASER  FILTER) 

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน อุปกรณ์และแผงวงจรของระบบจ่ายกระแสไฟ   AUXILARY POWER SUPPLY PCB

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน อุปกรณ์และแผงวงจร PULSE  FORMING  NETWORK (PEN)

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน อุปกรณ์และแผงวงจรของระบบรับสัญญาณแสงเลเซอร์ LASER RECIEVER SYSTEM AND ELECTRONIC MODULE/AVALANCHE PHOTODIDE (APD MODULE) 

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน แผงวงจร LOGIC PCB

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน แผงวงจรแสดงผล DISPLAY CIRCUIT BOARD HIGH VOLTAGE POWER SUPPLY

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน สายสัญญาณทางด้านไฟฟ้าของระบบเลเซอร์

LASER WIRING AND HARNESS)

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, ปรับแต่งทิศทางการเดินทางของแสงเลเซอร์ (LASER ALINGMENT)

                       2.3.2.4  ระบบกล้องเล็งกลางคืน

                                   กล้องเล็งพลยิง

                                   -เปลี่ยนหลอดภาพขยายแสงกล้องเล็งกลางคืน (IMAGE INTERSIFIER TUBE/MX9644UV)

                                   -เปลี่ยนแบตเตอรี่ชุดจ่ายไฟฟ้าของกล้องกลางคืน

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน อุปกรณ์และแผงวงจรของระบบจ่ายกระแสไฟฟ้า

(POWER SUPPLY SYSTEM AND BORD)

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน อุปกรณ์ต่าง ๆ ทางด้านการเดินทางของแสงพร้อมทั้งปรับแต่งทิศทางการเดินทางของแสง (OPTICAL ALIGNMENT)

                                   กล้องเล็งผู้บังคับรถ

                                   -เปลี่ยนหลอดภาพขยายแสงกล้องเล็งกลางคืน (IMAGE INTERSIFIER TUBE/MX9644UV)

                                   -เปลี่ยนแบตเตอรี่ชุดจ่ายไฟฟ้าของกล้องกลางคืน

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน อุปกรณ์และแผงวงจรของระบบจ่ายกระแสไฟฟ้า

(POWER SUPPLY SYSTEM AND BORD)

                                   -ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยน อุปกรณ์ต่าง ๆ ทางด้านการเดินทางของแสงพร้อมทั้งปรับแต่งทิศทางการเดินทางของแสง (OPTICAL ALIGNMENT)

            2.3.3  ตรวจสอบ, ซ่อม, เปลี่ยนระบบอื่นจนกว่าเครื่องควบคุมการยิง, ระบบ DFCS จะทำงานได้ตามคุณลักษณะ

3. แผนการสาธิต

                3.1 นำยุทโธปกรณ์เข้ามาสาธิต ณ  กรซย.ศอ.สพ.ทบ.

                3.2 จัดเจ้าหน้าที่ไปชมการสาธิต    บริษัท

4. ระยะเวลาดำเนินการ  ปีงบประมาณ 51 - 53 

5. การถ่ายทอดเทคโนโลยี

                5.1 มอบข้อมูล เอกสาร  พิมพ์เขียว เครื่องมือที่ใช้ในการปรับปรุง

                5.2 ให้เจ้าหน้าที่ กรซย.ศอ.สพ.ทบ. ร่วมดำเนินการ  และรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างการปรับปรุง

6. การฝึกศึกษา

                6.1 มอบคู่มือการฝึกศึกษา

                6.2 ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน

                6.3 ฝึกอบรมช่างซ่อมบำรุงระดับสนับสนุนโดยตรง, สนับสนุนทั่วไป และ ระดับคลัง

7. การส่งกำลังและซ่อมบำรุง

                7.1 มอบคู่มือการส่งกำลังและซ่อมบำรุง ครบทุกระดับขั้นการซ่อมบำรุง และคู่มือประจำยุทโธปกรณ์

                7.2 รับประกันการสนับสนุนชิ้นส่วนซ่อม อย่างต่อเนื่องต่อไปได้อีกไม่น้อยกว่า 15 ปี

                7.3 มีรายการชิ้นส่วนซ่อมควบคู่ ที่มีมาพร้อมยุทโธปกรณ์ 2 ปี

                7.4 มอบเครื่องมือทดสอบและเครื่องมือพิเศษ

8. ข้อเสนออื่น ๆ

                8.1 การปรับปรุงใช้บุคลากร เครื่องมือ    เครื่องจักร  โรงงาน     และสิ่งอำนวยความสะดวก ของกองทัพบก   ( กรซย.ศอ.สพ.ทบ. )  เป็นสถานที่ดำเนินการดัดแปลงเท่านั้น   ทั้งนี้การดำเนินการ จะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนด ระเบียบ และมาตรฐานรักษาความปลอดภัยของกองทัพบก

                8.2 บริษัทสนับสนุน  วิศวกร  ชิ้นส่วนซ่อม และวัสดุช่วยผลิต   ในการปรับปรุงทุกรายการ

                8.3 บริษัทสนับสนุนงบประมาณ ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่า สป.3 และอื่น ๆ     ที่ใช้ในการทดสอบหลังการปรับปรุง

                8.4 บริษัทรับผิดชอบในการจัดหา เครื่องมือ เครื่องจักร ที่ต้องใช้เพิ่มเติมระหว่างการซ่อมปรับปรุง

โดยคุณ Ronin เมื่อวันที่ 02/04/2008 12:30:18


ความคิดเห็นที่ 7


เป็นรายละเอียดของโครงการในแพกเกจ 9 ปีเดิมครับ ไม่รู้ว่าตอนนี้โครงการยังเหมือนเดิมอยู่หรือไม่

โดยคุณ rinsc seaver เมื่อวันที่ 03/04/2008 04:24:48