สงสัยมานานแล้วครับว่าถ้ามีการรบที่มีการจมเรือที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานนิวเครียร์ได้โดยขณะที่จมลงไปเตาปฏิกรณ์ยังทำงานอยู่จะมีปัญหาอย่างไรตามมาครับ
เท่าที่ผมทราบมานะครับ ถ้าปิดเตาทัน กัมมันตภาพรังสีอาจจะไม่รั่วไหล
.............ผิดพลาดประการใดผู้รู้ช่วยมาชี้แจงด้วยครับ
เอ่ย เรือดำนำ หรือ เรือผิวนำล่ะครับ อย่างในเรือครูสก็น่าจะปิดเตาภายหลังการระเบิด ที่เคยดูในรูปที่กู้ขึ้นมาการระเบิดอยู่ที่ส่วนหน้าของเรือ
แต่ช่วงห้องเครื่องและเตาปฏิกรณ์ นาจะไม่ได้รับความเสียหายนะ
อืมมมม สรุปคือไม่มีใครทราบเลยเหรอครับเนี่ยว่าสรุปว่าถ้ามันจมขณะเครื่องยังทำงานหรือว่าถูกดจมตีบริเวณเตาปฏิกรณ์มันจะมีผลลัพท์ออกมายังไง -..- ส่วนตัวแล้วผมตั้งคำถามนี้เพราะเคยดุสารคดีเรื่องเชอร์โนบิลมาเลยทราบเอาตอนนั้นว่าที่ร้ายแรงที่สุดไม่ใช่การระเบิดของมันแต่เป็นละอองกัมมันตรังสีที่ฟุ้งกระจายไปทั่วเกาะตัวกับเมฆเป็นฝนมรณะตกสู่พื้นดินก็ปนเปื้อนซึมลึกทำลายทุกสิ่งทุกอย่างที่มีชีวิตจนป่านนี้รังสียังไม่เสื่อมเลยที่มันไม่ระเหยต่อเพราะกองทัพเจ้าของโรงงานเอาตะกั่วไปถมเอาไว้แต่น้ำใต้ดินก้เอามาใช้ประโยชน์ไม่ได้แล้วและแม้แต่ประเทศเจ้าของโรงงานเองยังไม่ทราบด้วยว่ามันยังซึมไปที่ไหนต่อรึเปล่า . . .
ส่วนตัวคิดว่าถ้าเกิดกรณีเช่นที่ว่ากับเรือมันยิ่งไม่แย่กว่าอีกรึครับแค่เมฆฝนก็ทำลายเสบียงอาหารรัสเซีย-ยุโรปไปหลายปีแล้วแต่นี้มันทะเลนะครับ เชื่อมถึงกันหมดทั้งโลกไม่ทราบจริงๆว่าพวกประเทศที่มีและใช้เรือพวกนี้คิดกันยังไง - - a(ผมไม่ใช่พวกกรีนพีซแต่คำนวนผลได้ผลเสียแล้วมันยังไม่เข้าท่าอยู่ดีที่จะเอามาใช้กับเรือ)
วันนี้มีคำถามใหม่ครับอยากทราบว่าอเมริกาเป็นประเทศแรกที่ได้ครองอาวุธนิวเครียร์แล้วรัสเซียมีมันได้ยังไง(อันนี้ผมไม่ทราบจริงๆและไม่คิดว่าอเมริกาจะใจดีแจกความรู้แบบนี้ให้ประเทศอื่นโดยเฉพาะประเทศนี้) แถมตอนท้ายรัสเซียพัฒนาเป็นเทอโมนิวเครียร์ได้อีก