The new Joint Strike Fighter (JSF) program is often compared to the early nineteen sixties Tactical Fighter eXperimental (TFX/F-111) program, reflecting the multi-service structure of both programs. In concept and sizing, however, the JSF is very much closer to another early nineteen sixties tactical fighter, the Republic AP-63 series F-105 Thunderchief.
The F-105 was the workhorse of the Vietnam air war, especially the 1964-1968 Rolling Thunder bombing campaign. Affectionately known as the Lead Sled, Super Hog, Ultra Hog, Iron Butterfly and famously Thud, the F-105A first flew in 1955, and was designed by Republic's legendary Alexander Kartvelli to be a highly survivable strike oriented tactical fighter, with a secondary air to air capability, primarily for self defence. The aircraft was to have significantly better combat radius than previous USAF jet fighters, and in line with the penetration paradigm of the day, very high speed.
The resulting F-105 series was a fighter which is remarkably close to the current JSF in most important cardinal parameters.
Both the F-105 and JSF are large single seat single engine strike fighters, using the most powerful engine of the era (J75 vs F135/F136), with empty weights in the 27,000 lb class, and wingspans almost identical at 35 feet. Both carry internal weapon bays, and multiple external hardpoints for drop tanks and weapons. Both were intended to achieve combat radii in the 400 nautical mile class. Neither have by the standards of their respective periods high thrust/weight ratio or energy manoeuvre capability, favoured for air superiority fighters and interceptors.
Both the F-105 and JSF were crafted around the dominant penetration paradigm of their respective periods. The F-105 was built to use speed to penetrate defences, and like the F-111 was designed to penetrate and egress at very low altitudes, using terrain masking and clutter to defeat opposing radar systems. The JSF is being built to penetrate at medium to lower altitudes using X-band stealth to defeat engagement radars and radar guided SAM seekers. While they differ in the substance of their penetration technique, they share the common feature of using the best technique of their respective eras.
The avionics in both aircraft represent the latest technology of their respective periods. The F-105's ASG-19 Thunderstick I/II system was tightly integrated with the NASARR multimode radar, as is the JSF's ICP package and APG-81 radar. Both radars are designs biased toward air-ground modes, but with respectable air-intercept capabilities for their periods.
The definitive F-105D, of which only 610 were built by 1964 due to higher than hoped for costs, could carry up to 2,500 lb in its internal bomb bay, and external stores on two 3,000 lb inboard pylons, two 3,000 lb outboard pylons and a 4,500 lb centreline pylon, for a total of 12,000 lb. The JSF carries a 2,500 lb guided bomb in either fuselage bay, up to 5,000 lb on a pair of inboard pylons, and 2,500 lb on a pair of outboard main pylons, with a 1,000 lb centreline pylon.
The F-105D fleet was thrown into the meatgrinder of the NVA air defence system, then the most formidable in existence as the SovBloc pushed their latest SAMs, radars and MiG-21 Fishbeds into the theatre. Between 1965 and 1970 no less than 334 fell to enemy defences - 312 to SAM/AAA - not a bad figure in terms of sorties flown and the density of defences in theatre. Despite the bad press attached to the F-105, it was a rugged high performance aircraft capable of taking a lot of punishment.
The typical configuration for strike sorties was a payload of 6 to 8 750 lb M117 dumb bombs (4,500 lb to 6,000 lb), with two external 450 USG tanks. For shorter ranging CAS/BAI tasks, up to 12 M117 or 9,000 lb were carried. These payloads are very similar to the nominal internal/external payloads of the JSF. Typical fuel for an F-105D using internal tanks, a bomb bay tank and two 450 USG tanks was 16,000 lb - very close to the internal fuel of a JSF.
Early F-105 sorties were flown in a self escort configuration, armed with an internal 20 mm gun and an external AIM-9B missile, paired with an EWSP pod, on outboard pylons. The NVAF quickly learned that early engagement of the F-105 strike packages forced them to jettison bombs to achieve viable performance to defend themselves or evade attack, and very early the F-105s were supported by F-4C Phantom CAPs to keep the MiGs clear of the strike packages. A later tactic saw F-4C/D Phantoms interspersed with F-105s to effect defacto escort support. Most sources claim 22 F-105s lost to MiGs for 27.5 MiGs shot down by the F-105s, or an exchange rate of 1.25:1 in close air combat.
The F-105 experience presents an interesting case study of self escorting strike fighter operations, and the utility of a strike optimised tactical fighter in air combat. Two factors make this experience important. The F-105D/F and MiG-21 Fishbed had defacto parity in radar/missile performance with the MiG doing better in turn/climb performance, and the extended duration of the campaign made for a large number of statistically valuable repeat engagements.
This is especially relevant for the Australian DoD which intends to fly self escorted F/A-18As and later JSFs into a Sukhoi Su-30 rich regional environment. For the non-stealthy F/A-18A the reality is that an inbound Sukhoi will force an F/A-18A to jettison stores to achieve viable air combat performance to even survive the engagement - unlike an F-105D evading a MiG-21PF, the F/A-18 family does not have a speed/endurance advantage to play against the Sukhoi. For the JSF, which has roughly parity in radar performance against better Su-30 variants, and parity in energy performance against older Su-27SK configurations, it puts all of the survivability eggs into the stealth basket.
There is another interesting parallel in the F-105/F-4 experience, which is that the F-4 had a significant advantage in radar/missile range and energy performance. This parallels the superior stealth, radar, missile kinematic and energy performance advantages held by the F-22A, intended to escort the JSF in US Air Force service.
While the JSF and F-105 are separated by almost half a century in technology, they occupy almost identical niches in size and intended role optimisations. The F-105 was clearly an outstanding success in its primary role of strike/interdiction and close support, but was much less successful in air combat. The lesson in this for future JSF users is a simple one - the JSF is likely to be highly effective in its primary battlefield interdiction / close air support role but less likely to be successful in air combat, as its basic aerodynamic performance is close to parity with the most likely adversary types - advanced Su-30 variants. The decisive factor for the JSF in this game will be its limited stealth performance against the full spectrum of opposing radar systems, especially long range lower band surveillance radars used to guide Sukhoi intercepts.
The Australian DoD's idea of using the reduced stealth export JSF as an F-22A substitute courageously defies historical experience in the use of strike optimised tactical fighters in air combat. It will inevitably attract criticism of the JSF's limited air combat performance rather than criticism of the intention to use the JSF outside of its design optimal roles. The JSF is no more an F-22A, than the F-105D was an F-4C.
อ่านคร่าว ๆ ดูแล้วครับ
เรื่อง Internal Weapon Bay ในเครื่อง เอฟ-35 รวมถึง เอฟ-22 ด้วย ไม่ใช่เรื่องใหม่ มันมีใช้งานมาตั้งแต่ยุคเครื่องเซนจูรี่ซีรีย์แล้วครับ ทั้ง เอฟ-102, 105 และ 106 โดยที่ เอฟ-105 ต่อมา ใช้เป็นที่เก็บถังน้ำมันสำรอง ส่วน เอฟ-102 / 106 ใช้เก็บ AIM-4 Falcon
ในเวียดนาม เอฟ-105 มักจะเป็นหมูให้บรรดามิกของเวียดนามเหนือเชือดเอา เนื่องจากมันถูกมอบภารกิจให้เป็นเครื่องทิ้งระเบิด ทำให้อุ้ยอ้ายขาดความคล่องตัวเป็นอย่างมาก ลำพังตัวเปล่า ๆ กับ เจ-75 ตัวเดียว แรงขับไม่ถึงสองหมื่นปอนด์ มันไม่ได้ทำให้ เอฟ-105 กลายเป็นเครื่องที่ปราดเปรียวว่องไวขึ้นมาเลย
เทียบกับ เอฟ-35 แล้ว เจ้าไลท์นิ่งทู น่าจะมีความได้เปรียบเยอะกว่าเนื่องจากดีซายน์แอร์โรไดนามิกส์ที่ทันสมัยกว่ามาก สเตลท์อีกต่างหาก บวกกับระบบควบคุมการบินแบบฟลายบายวาย และเครื่องเทอร์โบแฟนแรงขับมหาศาล เอฟ-35 น่าจะทำได้ดีตามภารกิจที่กำหนดไว้คือ บ.ข. เอนกประสงค์ ทั้ง แอร์-ทู-แอร์ และ แอร์-ทู-กราวด์ แต่ดีไม่เท่ากับ เอฟ-22 คือเป็นมวยรองลงมาเหมือน เอฟ-16 กับ เอฟ-15 นั่นแหละครับ
จริง ๆ แล้วผมว่า ที่ถูกเค้าน่าจะเอาคู่ เอฟ-35 / เอฟ-22 ไปเปรียบกับคู่ของ เอฟ-16 / เอฟ-15 น่าจะเหมาะสมกว่าคู่ เอฟ-105 / เอฟ-4 นะครับ มวยมันคนละยุค ห่างกันเกินไปไม่น่าจะเอามาเปรียบกันได้นะครับ...
เครื่องคนละยุคเอามาเปรียบมวยกันไม่ได้หรอกครับ เครื่องในยุคปัจจุบันจะอยู่ที่การเอาตัวรอดในสนามรบมากกว่า
ไม่แน่ใจว่าต้องการถามเรื่องอะไร เห็นให้ความคิดเห็นกันมาพอสมควร ก็ขอเสริมครับ
บทความที่ยกมาเป็นความเห็นว่าเครื่องบินที่ตั้งใจให้ทำได้หลายๆอย่าง
เมื่อออกแบบมาให้ทำได้ทุกอย่างที่ต้องการ
จะไปลดขีดความสามารถของเครื่องบินจน เอาดีทางไหนก็ไม่ได้
ข้อมูลมาจากเว็ป Australia Air Power ของ Dr. Carlo Kopp กับ Mr. Peter Coon
ที่ทำหน้าที่วิพาษย์วิจารณ์ การจัดหาเครื่องบินของ ทอ.ออสเตรเลีย
โดยพยายามชี้ว่าทอ.ออสเตรเลียกำลังจัดหาเครื่องบินรบที่มีประสิทธิภาพไม่เพียงพอที่จะปกป้องประเทศ
ในเว็บพยายามชี้ให้เห็นว่าภัยคุกคามทางอากาศต่อออสเตรเลียได้แก่เครื่องบินขับไล่แบบ Su ทั้งหลายที่ประจำการใน ทอ.หลายชาติในภูมิภาค และ
ยกเอาเครื่องบินขับไล่แบบต่างๆที่ ทอ.ออสเตรเลียได้ หรือกำลังจัดหามาเปรียบเทียบ
เพื่อที่จะแสดงว่า เครื่องบินเหล่านั้น เพียงพอที่ออสเตรเลียจะใช้ป้องกันประเทศหรือไม่
เครื่องบินแบบหนึ่งที่ตกเป็นเหยื่อของเว็ปนี้ก็คือ JSF F-35
ถ้าเป็นแฟนของเจ้า JSF ขอให้หลบไปเลย อย่าหลุดเข้าเว็ปนี้
ถ้าชอบเรื่องการเปรียบเทียบเครื่องบิน ขอแนะนำให้อ่านเรื่องการเปรียบเทียบโครงการ C-17 กับ Boeing 777 จะอธิบายให้เห็นว่าเวลากองทัพจะทำโครงการ การไปกำหนดความต้องการไว้มากๆและการเปลี่ยนแปลงความต้องการแบบไม่รู้จักจบจักสิ้น เมื่อนำมาศึกษาเปรียบเทียบกับโครงการของเอกชนที่ไม่ได้กำหนดความต้องการไว้สูงเกินไปและเปลี่ยนแปลงในสิ่งที่จำเป็นเท่านั้น ทำให้มีผลกระทบต่อโครงการ ทั้งเวลาและงบประมาณอย่างไร C-17 บินได้ครับ แต่ในแง่ของการนำโครงการทั้งสองมาเปรียบเทียบกัน โดรงการ Boeing 777 ของเอกชนเหนือกว่าโครงการของกองทัพมาก ครับ
พูดถึงการกำหนดความต้องการไว้แล้ว เข้าประเด็นของ JSF ใน Australia Air Power ที่ในเว็ปโจมตีว่ากำหนดความต้องการไว้มากจนต้องลดประสิทธิภาพของเครื่องบินจน เลยเอาดีทางไหนก็ไม่ได้
ขอยกประเด็น Stealth การล่องหน
กำหนดความต้องการกันไว้ว่า
๑ เป็นเครื่องบินแบบ Stealth
๒ สหรัฐต้องการรักษาความลับของเทคโนโลยี Stealth ไว้เฉพาะกองทัพสหรัฐ
๓ เป็นเครื่องบินแบบ Stealthที่สหรัฐจะทำขายให้มิตรประเทศ ด้วย
ผล JSF ต้องออกแบบให้เป็นไปตามข้อกำหนด โดยสร้าง JSF สามแบบ (configuration)
แบบแรกสำหรับ กองทัพสหรัฐ จะใช้วัสดุและเทคโนโลยีที่สงวนให้กองทัพสหรัฐเท่านั้น
แบบที่สองสำหรับจัดให้ภาคี JSF ที่ร่วมลงทุนด้วยกัน
แบบสุดท้ายสำหรับจัดให้ลูกค้าอื่นๆ
ถ้าให้เปรียบ แบบแรกในเรดาห์ คงจะเห็นวัวตัวเท่าไก่
แบบที่สองคงจะเห็นวัวตัวเท่าหมู
ส่วนแบบที่สามคงจะเห็นวัวขนาดเล็กลงแต่ใหญ่กว่าหมู
เว็ป Australia Air Power ชี้ว่าในอนาคตคงได้มีการฟ้องร้องถึงโรงถึงศาลกันแน่เกี่ยวกับการตีความหมายของคำว่า Stealth
นอกจากนั้นความที่ JSF เป็นเครื่องบินหลากหลายภารกิจ
การขึ้นลงมีทั้งแบบเครื่องบินรบธรรมดาและแบบทางดิ่ง กระทบต่อความเป็น Stealth แต้ๆ
ลองเอาโมเดลหรือรูปของ Stealth แต้ๆอย่าง F-117 หรือ B-2 มาดูซิครับ
จะไม่เห็นเครื่องยนตร์ หรือส่วนท้ายของเครื่องยนตร์
แต่ JSF ส่วนท้ายเครื่องยนตร์ยังโผล่ให้เห็นแบบF-16
ไอร้อนที่ออกมาจากเครื่องJSF จะไม่ได้รับการลดความร้อนแบบ Stealth แต้ๆ
ผล ระบบStealth ของ JSF จะสามารถพรางตัวต่อระบบเรดาห์ได้ในระดับหนึ่ง
แต่ถ้าฝ่ายตรงข้ามใช้ระบบตรวจจับความร้อน IRS-T แล้ว
จะสามารถตรวจจับ Lock on JSF ได้ง่ายๆ
ทำให้ตั้งคำถามได้ว่า ถ้า ทอ.ของเราติดระบบ IRS-T บน F-16A และ
ใช้จรวดนำวิถีด้วยความร้อนจะของสหรัฐ ฝรั่งเศส หรือรัสเซียก็ได้
อีกประมาณ สามปี มี JSF บินแถวบ้านเรา
F-16A with IRS-T system ของ ทอ.จะสามารถขึ้นไปไล่ล่าStealth อย่าง JSF ได้หรือไม่
สำหรับ Survivability ของ JSF ฝรั่งเว็ปนั้นเขามองประเทศของเขาและเจ้าจิงโจ้นักบินหนุ่มๆด้วยความเป็นห่วงและให้ความเห็นว่า ถ้าเอา JSF ขึ้น ไปทาบกับของจริงอย่าง Su ที่มีประจำการในภูมิภาค
ขึ้นไปเท่าไรก็หมดเท่านั้น
เป็นความคิดเห็นของเขา
คงจะคล้ายๆกับ โอตะของเราที่ลำปางตอนขึ้นไปเจอ P-51 กับ P-38 หรือ
เจ้า Buffalo ของ USMC ที่ Midway ที่ขึ้นไปเจอ Zero