หน้าแรก    ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบคำถาม    เข้าสู่ระบบ      


จะมีเครื่องบินขับไล่ แบบไหน ที่จะสู้ F-22 กับ F-35 ได้

โดยคุณ : TOP SECRET เมื่อวันที่ : 13/04/2007 18:39:17

  อยากรู้ ครับ ว่าเครื่องบินขับไล่ ที่ไม่มี ระบบ STEALTH หรือเรียกกันว่า ( non-stealth ) ที่จะไป ต่อกร กับเครื่องบินขับไล่ ยุคที่ 5 อย่าง F-22 และ F-35 ได้

   ท่าน ICY_norminee ยังจำได้หรือเปล่า ที่ท่านบอกว่า จะมีเพียง SU-47 กับ RAFALE F-2 และ RAFALE F-3 เท่านั้น ที่จะสู้กับ F-22 ได้

   ถ้าจำไม่ได้ วันวานยังหวานอยู่ http://www.wing21.rtaf.mi.th/wboard/question.asp?GID=6187

 ท่าน จะจำเรื่องที่ท่านเคย บอกไว้ใน อดีตได้





ความคิดเห็นที่ 1


   ใครยังไม่เคยเห็น RAFALE ติด ถังน้ำมันเชื้อเพลิงสำรองแนบไปกับลำตัว หรือที่เรียกว่า CFT

  เอาไปดู


โดยคุณ TOP SECRET เมื่อวันที่ 03/04/2007 22:58:22


ความคิดเห็นที่ 2


  อ้าว ทำไม เว๊บเข้าไม่ได้

   ถ้าใคร ขยันหน่อย อยากจะอ่าน ข้อความของท่าน ICY จริงๆ ก็ต้อง พึ่งพา GOOGLE

  พิมพ์ว่า SU-47 STEALTH

    ได้อ่านสมใจแน่

โดยคุณ TOP SECRET เมื่อวันที่ 03/04/2007 23:00:57


ความคิดเห็นที่ 3


ไม่แน่ครับผู้ที่จะปราบได้อาจจะเป็น UAV ที่อนาคตข้างหน้าคงจะมี


โดยคุณ basaranavy เมื่อวันที่ 03/04/2007 23:18:05


ความคิดเห็นที่ 4


น่าจะนัดประลอง วัดกันไปเลย ว่าใครเหนื่อกว่าใคร

โดยคุณ PARK007_NAZI เมื่อวันที่ 03/04/2007 23:22:57


ความคิดเห็นที่ 5


เครื่องบิน "ไม่ล่องหน" จะสู้กับเจ้าล่องหนได้ ต้องมีเรด้าร์ที่กำลังแรงมากๆ (ตระกูลซู โดยเฉพาะรุ่นใหม่ๆ ติดเรดาร์เฟสอะเรย์กำลังแรงในระดับหนึ่ง)............... คือต้องทำความเข้าใจกันก่อน จริงๆแล้วไอ้เครื่องสเต้วนี่มันก็ไม่ได้ล่องหนไป(แอบดูใครอาบน้ำ)ที่ไหนดอก เพียงแต่มันมีหน้าตัดเรดาร์ที่เล็กลงเท่านั้น เรดาร์ธรรมดาๆเลยเห็นได้ยากหน่อย (คือต้องรอเข้ามาใกล้ๆ(จนจะจิ้มตาอยู่แล้ว)นั่นแหล่ะถึงจะเห็น) แต่ ทีนี้ พวกเรดาร์เฟสอะเรย์ ยกตัวอย่างเช่นบนเรือลว.เอจิส นั่น สามารถตรวจจับเป้าหมายขนาดเท่าลูกบาสเก็ตบอลได้ที่ระยะเป็นร้อยกิโลเมตรเลยทีเดียวเชียว อีแบบนี้ สะเต้วก็สะเต้ว เห็นทุกฝีก้าว .................. แต่จนปัญญาที่จะจับเจ้าเฟสอะเรย์กำลังสูงที่ว่ายัดลงไปในเจ้าขับไล่ได้ซะนี่ ...................... ดังนั้นทางแก้ที่พอทำได้คือ ต้องมีศูนย์อำนวยการที่มีเรดาร์กำลังสูงดังกล่าววางเป็นเครือข่าย ถ้าเป็นในทะเล ก็ต้องวางเรือเอจีสนี้ เป็นรังผึ้งกระจายไป (เหมือนสถานีลีเลย์โทรศัพท์มือถือของเอไอเอส) ถ้าเป็นในอากาศ ก็ต้องมีเจ้าเอแว็คส์กำลังสูง หลายๆลำ แค่นี้ เอดีเอฟ ติดอำราม ก็สู้กับแรปเตอร์ได้..........เชื่อหรือเปล่า.................??????
โดยคุณ กบ เมื่อวันที่ 04/04/2007 09:22:34


ความคิดเห็นที่ 6


เอ่อ ลืมไปครับ พี่น้อง เอดีเอฟ จะยิงอำรามได้ไง นอกจากต้องมีระบบลิ้งค์แชร์ข้อมูลกับศูนย์เตือนภัย งั้นเอาเป็นด็อกไฟท์ละกัน พอสู้ไหวมั้ย????
โดยคุณ กบ เมื่อวันที่ 04/04/2007 10:58:53


ความคิดเห็นที่ 7


ถ้าไม่มีตัวช่วยบรรดา Non-Stealth ที่พอจะสู้ได้คือ Rafale F-2/3 ที่จะออกเร็วๆนี้ SU-37 EF-2000 เจ้าไต้ฝุ่นนี่ คือคู่แข่งที่น่ากลัวครับ เท่าที่จำได้ กองทัพอากาศสหรัฐถึงกับปอดที่จะหมากัดกัน (ซ้อมรบ) กับEF-2000 ของทัพอากาศของอังกฤษ ด้วยF-22

F-22 น่าจะทำการด๊อกไฟท์ได้ไม่ดีนักครับ ขนาดกับF-18E/F ยังแพ้ แม้นักบินจะยังไม่ชิน แต่ถ้าประสิทธิภาพในการหมากัดกันของเจ้าแรปเตอร์ดีพอ คงไม่แพ้แน่ครับ นักบินที่จะมาบินเจ้าF-22 คงต้องดีพอที่จะมาขับ 

ส่วนที่คุณความลับสุดยอดบอกมานั้น หัวข้อมันบอกว่าถ้าไม่มีF-22ไม่มีสเตลธ์ แล้วเครื่องไหนจะสู้กับเจ้าแรปเตอร์ได้ ซึ่งตอนนั้น ผมยังแปลอังกฤษงูๆปลาๆครับ

เรื่องพลาสม่าสเตลธ์ เป็นไปได้ทางทฤษฎี แต่ทางปฎิบัติ เค้าบอกว่า การจะทำให้มัน เคลือบอยู่บนผิวมันยาก

หุหุ ตอนนี้ เป็นนอมินี่ ไม่ขอวิชาการมากครับ 555

โดยคุณ icy_nominee เมื่อวันที่ 04/04/2007 11:49:44


ความคิดเห็นที่ 8


  ราฟาล บี ติดถัง CFT ข้างลำตัว


โดยคุณ TOP SECRET เมื่อวันที่ 04/04/2007 17:32:19


ความคิดเห็นที่ 9


โอ้วจอร์จ...ภาพที่คุณBasaranavy มาโพสมันคือ...FALKEN!!! สรรพคุณมันมีดังนี้ครับ

Cutting-Edge Fighter Aircraft incorperating the latest technologies developed by Grunder Industry .

Its 360-degrees view cockpit system give its pilot an immence adventage in combat.

Special Weapon: TLS (Tactical Laser)   Focuses a high-intensity on the target causing extensive damage. Hard to evade as there is no time to delay between firing and impact O_o!!  


โดยคุณ tantom555 เมื่อวันที่ 13/04/2007 18:25:58


ความคิดเห็นที่ 10


ที่พอจะสูสีด้านสมรรถนะ ไม่นับด้าน STEALTH TECHNOLOGY เห็นจะมีแต่

SU-47 ของค่ายSukhoi นั่นล่ะครับ เท่าที่ผมลองขับในเกมส์ Ace Combat 5 นะครับ


โดยคุณ tantom555 เมื่อวันที่ 13/04/2007 18:35:18


ความคิดเห็นที่ 11


Maneuverability

The Su-47 has extremely high agility at subsonic speeds, enabling the aircraft to alter its angle of attack and its flight path very quickly while retaining maneuverability in supersonic flight.

Maximum turn rates, and the upper and lower limits on airspeed for weapon launch, are important criteria in terms of combat superiority. The Su-47 aircraft has very high levels of maneuverability with maintained stability and controllability at all angles of attack. Maximum turn rates are important in close combat and also at medium and long range, when the mission may involve engaging consecutive targets in different sectors of the airspace. A high turn rate of the Su-47 allows the pilot to turn the fighter aircraft quickly towards the next target to initiate the weapon launch.

The swept-forward wing, compared to a swept-back wing of the same area, provides a number of advantages:

  • higher lift-to-drag ratio
  • higher capacity in dogfight maneuvers
  • higher range at subsonic speed
  • improved stall resistance and anti-spin characteristics
  • improved stability at high angles of attack
  • a lower minimum flight speed
  • a shorter take-off and landing distance

[edit] Fuselage

The Berkut's fuselage is oval in cross section and the airframe is constructed mainly of aluminium and titanium alloys and 13% (by weight) of composite materials. The nose radome is slightly flattened at the fore section, and has a horizontal edge to optimise the aircraft's anti-spin characteristics.

[edit] Wings

The forward-swept midwing gives the unconventional (and characteristic) appearance of the Su-47. A substantial part of the lift generated by the forward-swept wing occurs at the inner portion of the wingspan. The lift is not restricted by wingtip stall. The ailerons - the wing's control surfaces - remain effective at the highest angles of attack, and controllability of the aircraft is retained even in the event of airflow separating from the remainder of the wings' surface.

The wing panels are constructed of nearly 90% composites. The forward-swept midwing has a high aspect ratio, which contributes to long-range performance. The leading-edge root extensions blend smoothly to the wing panels, which are fitted with deflectable slats on the leading edge; flaps and ailerons on the trailing edge. The all-moving and small-area trapezoidal canards are connected to the leading-edge root extensions.

The downside of such a wing design is that it produces strong rotational forces that try to twist the wings off, especially at high speeds. This twisting necessitates the use of a large amount of composites in order to increase the strength and durability of the wing. Despite this, the plane was initially limited to Mach 1.6. Recent engineering modifications have raised this limit, but the new limit has not been specified.

[edit] Thrust vectoring

Although not revolutionary, the thrust vectoring (with PFU engine modification) of -20° to +20° at 30°/second in pitch and yaw will greatly support the agility gained by the forward-swept-wings.

[edit] Cockpit

The cockpit's design has focused on maintaining a high degree of comfort for the pilot and also on the pilot being able to control the aircraft in extremely high g-load manoeuvres. The aircraft is equipped with a new ejection seat and life support system. The variable geometry adaptive ejection seat is inclined at an angle of 60°, which reduces the impact of high g forces on the pilot. The seat allows dogfight maneuvers with significantly higher g loadings than can normally be tolerable. The Su-47 pilot uses a side-mounted, low-travel control stick and a tensiometric throttle control.

[edit] Specifications (Su-47)

Orthographic projection of the Sukhoi Su-47.

Data from World Aircraft & Systems Directory

General characteristics

  • Crew: 1
  • Length: 22.6 m (74 ft 2 in)
  • Wingspan: 15.16 m to 16.7 m (49 ft 9 in to 54 ft 9 in)
  • Height: 6.3 m (20 ft 8 in)
  • Wing area: 666 ft² (203 m²)
  • Empty weight: 36,100 lbs (16375 kg)
  • Loaded weight: 55,115 lb (25,000 kg)
  • Max takeoff weight: 77,162 lbs (35,000 kg)
  • Powerplant:Lyulka AL-37FU afterburning, thrust-vectoring (in PFU modification) turbofans with digital control
    • Dry thrust: 83.4 kN (18,700 lbf) each
    • Thrust with afterburner: 142.2 kN (32,000 lbf) each
  • Thrust vectoring: -20° to +20° at 30° per second in pitch and yaw

Performance

Armament

  • Guns: 1× 30 mm GSh-30-1 cannon with 150 rounds
  • Missiles: 14 hardpoints (2 wingtip, 6-8 underwing, 4-6 conformal under the fuselage)
    • Air-to-air: R-77, R-77PD, R-73, K-74
    • Air-to-surface: X-29T, X-29L, X-59M, X-31P, X-31A, KAB-500, KAB-1500


โดยคุณ tantom555 เมื่อวันที่ 13/04/2007 18:39:17