วันนี้ ผมจะไม่ซื้อสุรา แต่ผมจะซื้อโซดา มากินกับขวดที่เหลืออยู่แทนครับ..5 5 5 5
มาดู ระบบป้องกันทางอากาศของ ทร.ไทย กับ ประเทศเพื่อนบ้าน กันครับ....
สมมติว่า มี ซู-30 ไม่ปรากฎสัญชาติ บินล้ำเข้ามาในเขตน่านน้ำทางทะเล และส่อพฤติกรรมว่าเป็นผู้รุกราน เป็นแน่แท้...โดยบินตรงดิ่งมาที่ เรือรบ ของ ทร.ไทย และ ทร. ประเทศเพื่อนบ้าน...เรือรบของ ทร.ไทย และประเทศเพื่อนบ้าน จึงจำเป็นต้อง ป้องกันตัวเอง และป้องกันอาณาธิปไตย ของประเทศโดยทันที...ลองมาดู ระบบป้องกันภัยทางอากาศทางเรือ กันครับ....
ระยะปืนของ เรือต่าง ๆ ผมใช้ระยะการยิง ของการต่อต้านทางอากาศ นะครับ...ไม่ได้ใช้ระยะการยิง ของการต่อต้านทางภาคพื้น...เช่น ปืน โอโต โมเรล่า 76 ม.ม. จะมีระยะยิงไกล 16 ก.ม. ( Anti-Surface Range ) แต่ระยะยิงการต่อต้านทางอากาศ จะมีระยะ 14 ก.ม. ( Anti-Air Range ) เป็นต้นครับ...
เช่นเดิมครับ ข้อมูลอะไรผิดพลาด แนะนำด้วยครับ...
เปรียบเทียบ 3 ประเทศ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์
ขณะที่ บ.ผู้รุกราน ไม่ปรากฎสัญชาติ บินตรงดิ่งเข้ามาในระยะ 25 - 30 ก.ม. เรดาห์ ก็จับสัญญาณได้ว่า ได้มีการปล่อยอาุวุธนำวิถี ประเมินว่าเป็น KH-59 Kazoo ความเร็วจรวด 0.8 มัค แล่นตรงมาที่ เรือรบแล้ว...จึงต้องทำการป้องกันและสกัดกั้น จรวดนำวิถีดังกล่าวโดยเร็ว เพื่อป้องกันความเสียหายอย่างใหญ่หลวง ที่จะเกิดต่อเรือ...
ลองดูกันครับ...ว่าใครจะสกัดกั้น จรวดลูกดังกล่าว ได้ในระยะไหน ครับ...และอาุวุธชนิดใด ที่จะสกัดกั้นได้...
ทร.ไทย
ท.ร.สิงคโปร์
มีข้อสงสัยว่าปืนใหญ่เรือ Type 79 100มม., Mk42 กับ Mk 45 ขนาด5" นี้เคยมีการทดสอบการยิงต่อต้านอากาศยานหรือขีปนาวุธหรือไม่ครับ และสามารถยิงสกัดในลักษณะดังกล่าวได้ผลแค่ไหนครับ
Type 79 นี้มีอัตราการยิง 25นัดต่อนาที ส่วน Mk45 นี้อยู่ที่ 16-20นัดต่อนาทีครับ
ผมคิดว่าเป็นลักษณะการยิงสกัดกั้น...ไม่น่าจะเป็นลักษณะหวังผล 100% ทำงานเหมือนปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานภาคทะเล ครับ...
ทร.มาเลเซีย