ถามต้องบินไปสูงแค่ไหนวัตถุในยานถึงจะลอยได้ หมายถึงวัตถุภายในนะครับไม่ใช่ตัวยาน จำเป็นหรือไม่ที่จะต้องออกไปนอกโลกเท่านั้นเหรอถึงลอยได้
สรุปเอาแค่ให้คนลอยได้เนี้ยจำเป็นต้องบินสูงออกไปนอกโลกไม(ไม่ใช่การบินเพื่อฝึกนักบินอวกาศโดยการบินปักหัวลงมานะเพื่อให้ฝึกลอยตัวนะ)
ความคิดเห็นที่ 1
ลอยได้ น่าจะหมายถึงไร้น้ำหนัก........................... ภาวะไร้น้ำหนักทำให้เกิดขึ้นได้ฉองแบบ.................แบบแรกคือการทำให้ตกแบบอิสระ .......วัตถุปิด ร่วงลงอย่างอิสระสู่ศูนย์กลางของโลก จะพบว่าค่าจีภายในเท่ากับ 0 หมายความว่า วัตถุที่อยู่ข้างในจะไร้น้ำหนักทันที เมื่อวัตถุร่วงลงด้วยอัตราเร่งเท่ากับค่าจีของโลก (ห้องทดลองไร้น้ำหนัก โดยใช้แอร์บัส บินสูงแล้วดิ่งลงอย่างอิรสะ) หรือถ้าเราอยากลองทำเอง อาจลองใช้แท้งค์ลูกเต๋าที่ไว้ลองน้ำฝน โดยเข้าไปอยู่ข้างในแล้วให้เพื่อนผลักตกจากปลายตึกใบหยก.................................แบบที่ฉอง คือการเคลื่อนที่ลักษณะโคจรรอบโลก การเคลื่อนที่เป็นวงกลมย่อมทำให้เกิดแรงหนีศูนย์กลาง โดยค่าความเร่งจะแปรผันตรงกับความเร็ว และแปรผกผันกับรัศมี (สูตร์คือ เอ = วีกะลังสองส่วนอาร์ เมื่อ เอเท่ากับค่าความเร่ง วี ความเร็ว(เมตร/วินาที) และอาร์ เท่ากับ รัศมี (เมตร) ).............. เพราะฉนั้นถ้าจะถามว่า ที่ความสูงเท่าใดเรา จะไร้น้ำหนัก ก็คำนวนโดยเอา 9.8 จี เป็นตัวตั้ง วัตถุบินเร็วเท่าไร แล้วเราก็จะได้ค่า อาร์ (อย่าลืมลบด้วยรัศมีของโลกหล่ะ)...........
โดยคุณ
กบ เมื่อวันที่
27/02/2007 11:33:49
ความคิดเห็นที่ 2
ที่พูดมานี้คือลักษณะของวัตถุใดๆเมื่อยู่ในยานที่โดนแรงดึงดูดแบบ 9.8 จีเต็มๆนะครับ.......................ทีนี้ถ้า การเคลื่อนที่ของวัตถุเพิ่มขึ้นแรงหนีศูนย์กลางก็จะเพิ่มขึ้น(จีเพิ่ม) เมื่อจีมากกว่าจีของโลก รัศมีก็ต้องเพิ่มขึ้นตามสมการ นั่นก็คือวัศดุเริ่มจะโคจรห่างออกจากโลก (เช่นเดียวกับลักษณะการปล่อยยานวอยเอเจอร์ออกนอกโลก) สุดท้ายเมื่อหมุนวนแบบก้นหอยห่างออกๆ โลกก็จะดีดเจ้าวัถุนั้นออกจากแรงดึงดูด อนุมานเหมือนนักกรีฑาข้างค้อน.....................อีทีนี้หล่ะ ไร้น้ำหนักแบบไม่มีอะไรดูด คราวนี้ก็สุดแล้วแต่จะโดนดาวอะไรดูดดต่อไป............... การโคจรของยายวอยเอเจอร์ออกนอกสุริยนั้น............มีต่อ
โดยคุณ
กบ เมื่อวันที่
27/02/2007 11:44:26
ความคิดเห็นที่ 3
ผมแก้ข้างบนหน่อย ลักษณะการดีดเหมือนนักกรีฑาขว้างค้อน..............การโคจรของยานออกนอกสุริยนั้น ไม่ใช่อาศัยแรงขับดันจากจรวดอย่างเดียวนะครับ เพราะแค่นั้นมันไม่มีทางเพียงพอได้ดอก (ยานกระจิ๋วเดียว เปรียบเหมือนขี่สกุตเตอร์รอบโลกนั่นแหล่ะยังไงเชื้อเพลิงก็ไม่พอ) แล้วเค้าไปกันยังไง ???? เค้าก็อาศัยแรงเหวี่ยงของดาวนี่แหล่ะ.....................เริ่มจาก เร่งความเร็วเพื่อเพิ่มรัศมีให้ออกห่างโลกไปเรื่อยๆ ที่สุดก็ถูกโลกดีดออกไป(ดีดด้วยแรงเหวี่ยงมหาสารมุ่งหน้าสู่ทิศทางที่กฎหนด) คราวนี้ก็หาดาวดวงใหญ่ๆเช่นดาวพฤหัสเป็นที่สกี๊ตต่อ เมื่อมุ่งสู่ดาวพฤหัส ยานจะเริ่มถูกแรงโน้มถ่วงของดาวดูดเข้าหา ลักษณการเคลื่อนที่เข้าหาก็ไม่ใช่ตกปุ๊เหมือนมะม่วงร่วงลงหลังคานะครับ มันก็จะค่อยๆวนเป็นวงโคจรเข้าหาเหมือนก้นหอย รัศมีค่อยๆน้อยลงเรื่อยๆขณะที่ความเร็วก็จะมากขึ้น..............ตอนนี้ถ้าไม่ทำอะไร วัตถุก็จะร่วงสู่ผิวดาวหรือไม่ก็ใหม้สลายด้วยแรงเสียดสีเหมือนอุกาบาศก์.................มีต่อ
โดยคุณ
กบ เมื่อวันที่
27/02/2007 11:53:18
ความคิดเห็นที่ 4
ยัง งง อยู่ครับคุณกบ แสดงว่าไม่ออกไปนอกโลกก็ลอยไม่ได้สินะถ้าไม่ใช้เครื่องบินดิ่งลงมา คือบินสูงแค่ไหนก็ไม่ลอยใช่ปะ
โดยคุณ
I see u เมื่อวันที่
27/02/2007 11:55:16
ความคิดเห็นที่ 5
เมื่อได้จังหวะ คารวนี้ยานก็เริ่มจุดจรวด เพิ่มความเร็วเคลื่อนที่อีกครั้ง เมื่อความเร็วเพิ่ม จีเพิ่ม ส่วนต่างจีเมื่อหักลบ (จียานกะจีของดสว) ทำให้รัศมีเพิ่ม(ตามสมการ) ก็เริ่มวนออกเป็นก้นหอย จนที่สุดก็โดนดีดผล๊งออกไปอีก ดาวพฤหัสใหญ่กว่าโลกมากๆ แน่นอนที่สุด แรงผลักไสที่เส้นศูนย์สูตรของมันย่อมมากกว่าของโลกมหาสาร(แรงผลักตามแนวเส้นศูนย์สูตรย่อมมากกว่าที่อื่น ไม่แปลกที่ฐานส่งยานอวกาศมักอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร)............ลอยละลิ่วไปแล้วครับท่าน...................ไปไหนหล่ะคราวนี้ ก็แล้วแต่จะวางแผนกันไว้นั่นแหล่ะครับ....................จะเห็นว่าการเดินทางระหว่างดาวเค้าทำกันอย่างงี้ เพราะลำพังแรงผลักดันจากเชื้อเพลิงคงไม่ทำให้ไปได้ถึงไหน............................. สรุป ภาวะไร้น้ำหนักนี่ ต้องออกไปอยู่นอกแรงโน้มถ่วงของดาวใดๆ แต่ถ้ายังอยู่ในภาวะแรงโน้มถ่วง ก็ต้องใช้ 2 วิธีที่ว่า คือ ตกอิสระ หรือไม่ก็ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วและรัศมีใดๆ...................... จะสังเกตว่า กระสวยอวกาศ ที่โคจรรอบโลกนั้น ยังไม่ได้หลุดจากแรงโน้มถ่วงของโลก ยังโดนแรงโน้มถ่วงเต็มๆ 9.8 จีเลยนะนั่น.....................จบ
โดยคุณ
กบ เมื่อวันที่
27/02/2007 12:03:07
ความคิดเห็นที่ 6
เอาง่ายๆเลยครับคุณ ไอซียู...................โลกดูดวัตถุใดด้วยแรง 9.8 จี ................ข้อที่1 เมื่อวัตุนั้นตกอย่างอิสระ ผลลัพธ์ของ จีย่อมเท่ากับ 0 (ไร้แรงต้าน)......................ข้อสอง วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมย่อมเกิดแรงหนีศูนย์กลาง วังเกตุได้ เวลารถเข้าโค้งหัวเมีย๖สุดที่รัก๗จะโขกกะหน้าต่าง เมื่อเราเปรียนจากรถเข้าโค้งมาเป็นโคจรหมุนรอบโลก เราจะเห็นว่ามีแรงที่เกิดขึ้นสวนทางกะแรงดึงดูดทันที ถ้าแรงนั้นมีค่าจีเท่ากับแรงโน้มถ่วงของโลก มันก็เท่ากับศูนย์ เราก็ไร้น้ำหนัก (ผิดกับเอฟ 16 เวลาดึงหัวดิ่งแล้วเชิด แรงจีจะมีทิศทางเดียวกับของโลก ผลคือ เราจะหนักมากขึ้น เลือดจะหนักมากขึ้นมันก็ไม่ขึ้นไปบนสมอง จึงมีจีสูตรนั่นเอง..................
โดยคุณ
กบ เมื่อวันที่
27/02/2007 12:16:08
ความคิดเห็นที่ 7
โอ้ เขียนผิดมหาสาร แกะเอาก็แล้วกันนะครับพี่น้อง ........................
โดยคุณ
กบ เมื่อวันที่
27/02/2007 12:18:28
ความคิดเห็นที่ 8
โดยคุณ
I see u เมื่อวันที่
27/02/2007 12:23:03
ความคิดเห็นที่ 9
อ๋า ผมรูแล้ว................คุณไอซียู กะลังมี เฟชชั่นมั๊ก ว่า เครื่องบิน ที่บินปกติก็โคจรรอบโลก ทำใม ไม่ไร้น้ำหนักถ้าจะให้ไร้ต้องบินสูงเท่าไหร่ใช่มั๊ย............อย่าที่ผมบอก จี เท่ากับ ความเร็วยกกำลังสอง ส่วนด้วย รัศมี ....... ดังนั้น เมื่อเครื่องแอร์บัส บินด้วยความเร็วประมาณ 900 กม/ชม ถ้าจะให้อยู่ในภาวะไร้น้ำหนัก ปรากฎว่า ค่าของรัศมีที่ออกมา น้อยกว่า รัศมีของโลก หมายความว่า นักบินต้องบินด้วยความสูงติดลบครับ...........เป็นไปไม่ได้............................ ทีนี้ ถ้าเพดานบินปกติ อยู่ที่ 30000 ฟิต หรือราว 10 กม........ถามว่าถ้าจะให้ จี มีค่า -9.8 (สวนทางกะของโลกเลยติดลบ) เครื่องบินต้องบินดวยควมเร็วเท่าใด ก็ เอา 9.8 คูด้วย รัศมีของโลกเป็นเมตร บวกกับความสูงที่บินเป็นเมตร แล้วเอาทั้งหมดถอดรูท นั่นแหล่ะ ต้องบินด้วยความเร็วเท่านั้น ทุกอย่างจะไร้น้ำหนัก ผลที่ตามมาคือเครื่องบินไม่ต้องใช้ปีกสร้างแรงยก.........................
โดยคุณ
กบ เมื่อวันที่
27/02/2007 12:32:35
ความคิดเห็นที่ 10
ครับคุณกบเข้าใจถูกต้องแล้ว
โดยคุณ
I see u เมื่อวันที่
27/02/2007 12:40:44
ความคิดเห็นที่ 11
อันนี้เพิ่มเติมนะครับ..............อาจมีคนขัดผมว่า.....อ้าว ถ้าเป็นไปตามสมการนั้น ยิ่งดาวเทียมอยู่ห่างโลกมาก มันก็ต้อง โคจรเร็วมากขึ้นตามสิ......................แต่ในความจริงดาวเทียมมีหลายแบบหลายภารกิจ และเพื่อความเหมาะสม มันอาจโคจรกันที่รัศมีต่างกันมากๆบางแบบอยู่ใกล้โลก โคจรอย่างเร็ว แต่เอ๋... บางดวง อยู่ไกลออกไปไกลกว่ามากๆ ไหง โคจรช้ากว่า.................ก็แหงหล่ะครับ...........ยิ่งไกล สนามแม่เหล็กมันเจือจาง แรงโน้มถ่วงที่เกิดจากการหมุนของโลกมันก็น้อยตาม (อนุมานเหมือน แกว่งน้ำในตุ่มให้เป็นวง มันจะดูดก้อนยาสีฟันเข้าหาตรงกลาง ยิ่งใกล้จุดศูนย์กลาง ความเข้มข้นของกระแสน้ำวนย่อมมีมาก ความสามารถจับวัตถุเข้ามาสู่วงหมุนมันก็น้อย) ดังนั้นไกลออกไปมากๆ จีมันจะน้อยกว่า 9.8 นะครับ...................เลยเป็นเหตุผลว่า ดาวเทียมทีโคจรไกลโลกมากๆ ไหง วิ่งช้ากว่าที่อยู่ใกล้โลก..............................จบบริบูรณ์
โดยคุณ
กบ เมื่อวันที่
27/02/2007 13:01:34
ความคิดเห็นที่ 12
(อนุมานเหมือน แกว่งน้ำในตุ่มให้เป็นวง มันจะดูดก้อนยาสีฟันเข้าหาตรงกลาง ยิ่งใกล้จุดศูนย์กลาง ความเข้มข้นของกระแสน้ำวนย่อมมีมาก ความสามารถจับวัตถุเข้ามาสู่วงหมุนมันก็มาก).....................จบจริงๆหล่ะพี่น้อง..............ทำงานด้วยพิมพ์ด้วย ผิดทั้งคู่เลย..............
โดยคุณ
กบ เมื่อวันที่
27/02/2007 13:04:41
ความคิดเห็นที่ 13
คุณกบเก่งจังเลย อย่างนี้ไปสอนฟิสิกส์เด็กวัยกำดัดได้สบายเลยครับ
อีกนิดนึง ขอถามเพิ่มว่า เราควรปรับพวกอุณหภูมิ ความดัน แรงกดอากาศในห้องนักบินให้สัมพันธ์กับระยะห่างจากโลกด้วยหรือเปล่าครับ? หรือว่าปล่อยๆไว้งั้นเลย ตอนเราลอยดึ๋งๆ ออกจากพื้นโลกเนี่ย
ปล ผมเอาหมูขยับเอวออกแล้วครับ คงไม่เมื่อยแล้ว
โดยคุณ
TigerOod เมื่อวันที่
27/02/2007 16:59:12
ความคิดเห็นที่ 14
ขอบพระคุณครับ.....................แต่ตกวิชาภาษาไทยครับ..เขียนผิด "มหาสาร"
โดยคุณ
กบ เมื่อวันที่
28/02/2007 08:37:58