เพจ Facebook ของ Submarine Squadron (กองเรือดำน้ำ กองเรือยุทธการ) จะยุติให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรือดำน้ำ
ผมชักเสียวๆ นะ เมื่อวานเพิ่งลงเรื่องอุบัติเหตุเรือชั้นหมิง อยู่เลย
หน้าเพจข่าวไฟไหม้เรือดำนำ้หมิงถูกเปลี่ยนเป็นประกาศยุติการให้ข่าวของกองเรือดำนำ้ครับ เริ่มมีสัญญาณบางอย่างแล้ว
แสดงว่าจะดันเรือดำน้ำจีนสินะ
น่าสงสารนะประชาชนประเทศนี้
ผมมองว่าเฉยๆนะ เพราะมันไม่ควรโพสแบบนี้ในเพสของกองเรือดำน้ำเองในช่วงมีข่าวการจัดหา ไม่ว่าจะเป็นเรือจีนหรือเรืออะไรก็ตาม ถ้าจะโพสให้แฟร์ๆก็ควรโพสอุบัติเหตุของเรือดำน้ำทั้งหมด. ถามว่าเรือดำน้ำชาติไหนไม่เคยเกิดอุบัติเหตุบ้าง scorpion มาเลมีข่าวโกงจนมาใหม่ๆดำไม่ได้ รัสเซียไฟพึ่งไหม้ไป เรือสรอ จมไปบ้างก็มี. อังกฤษเรือไปชน ฯลฯ ลองนึกภาพหากตอนจัดหา บข เฟสบุคกองบิน7ลงเรื่องการเกิดบุติเหตุของ jas. ในอดีตผมก็ว่าไม่แฟร
เห็นว่า หน้าเพจมีข่าว เรื่องไฟไหม้เรือดำน้ำชั้นหมิง นี่ต้องดูว่า ข่าวนี้เกิดขึ้นเมื่อไร ถ้าปัจจุบัน ถือว่าปกติ
แต่ปัจจุบันมีข่าวแบบนี้ด้วยหรือ
แต่ถ้าข่าวเก่า แล้วยังมาลง นี่ ก็ดูเจตนาแปลกๆ ไปซักหน่อย
เพราะข่าวอุบัติเหต รดน ก็มีหมด ใช่ว่าจีนจะมีสถิติมากกว่าคนอื่น
ถ้าจะมีเจตนาที่ดี เอาข้อมูลมาลงเลยว่า ของจีนมีสถิติอย่างไร เมื่อเทียบกับชาติอื่น เปรียบเทียบจำนวน รดน จำนวนอุบัติเหต จำนวนความสูญเสีย
ชอบอะไรแฟรๆ และไม่สนับสนุนให้ซื้อ รดน จีนครับ
อุบัติเหตุเรือดำน้ำสมัยใหม่ตายเยอะขนาดนี้ไม่ธรรมดานะครับ แถมอุบัติเหตุนี้ก็แสดงถึงเทคโนโลยีที่โดดเด่นแตกต่างจากคนอื่นเป็นอย่างดี
แต่คือเจตนาก็คงชัดเจนล่ะว่าอย่างที่รู้ๆ กันว่าภายในทร.ก็คงพยายามสร้างแรงกระเพื่อมเพื่อหยุดประวิตร ว่างั้น
คงจะกลัวเกิดข้อครหา ว่าเลือกปฏิบัติกับ ด.ค่ายหนึ่งค่ายใด
แล้ว ด.อีกค่าย จะเอามาเป็นข้ออ้าง เพ่อเขี่ย ด.อื่น ทิ้ง มากกว่าครับ
การจะลงข่าวทั้งข่าวว่าค่ายไหน ดี ไม่ดี เกิดอุบัติเหตุ หรือเกิดข้อผิดพลาด กลายเป็นข้อครหาได้หมด
สู้ปิดไปเลยจะดีกว่า พอประกาศให้เสนอราคามา ลงนามจัดหาเสร็จ แล้วค่อยกลับมาลงข้อมุลใหม่ เซฟตัวเองมากกว่า
ข่าวไฟไหม้ ชั้นหมิง ซึ่งผมไม่ได้อ่าน นั้น กับข่าวนี้
http://en.m.wikipedia.org/wiki/Chinese_submarine_361
http://edition.cnn.com/2003/WORLD/asiapcf/east/05/02/china.submarine/
มีคนตาย 70 คน ไม่ทราบเป็นข่าวเดียวกันหรือเปล่า เหตนี้ เกิดปี 2003
ลองเทียบกับ
ไม่เห็นว่า ของจีนจะมีประเด็นยังไง อุบัติเหต ย่อมเกิดขึ้นได้ ที่สำคัญ มีอุบัติเหตเกิดซ้ำๆ อีกไหม
http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_submarine_incidents_since_2000#Bugaled_Breiz_sinking
ข้อมูลอุบัติเหตุของเรือดำน้ำตั้งแต่ปี 2000ครับ มีทั้งรัสเซีย จีน อังกฤษ แคนาดา อินเดีย บางลำไฟไหมถึงขั้นสละเรือ บางลำมีคนตาย... แต่เพจกองเรือดำน้ำเสนอแค่ ของจีนที่เกิดขึ้นในปี 2003...
ขอบคุณ คุณ skysky สำหรับ link
เออ...เดี๋ยวนี้ คำว่า แฟร์ ของพ่อค้า สำคัญกว่า ทหารผู้ใช้งาน น่ะ ในเมื่อ ทร ได้งบประมาณมา 36000 ล้านบาท ทำไม พวกเชียร์เรือจีน ไม่เสนอข้อมูลมาบ้างว่า S26T ? มันดีกว่า เรือดำน้ำแบบอื่นยังไง ถึงต้องเลือก S26T
โครงการณ์ยังไม่ได้เขียน torก็ยังไม่มี ผมว่ายังไม่ได้เรือเร็วๆนี้หลอกครับ อีกนาน ดีไม่ดีกลางปี59โน้นกว่าจะเปิดซอง ตอนนั้นใครเป็นรัฐบาลใครเป็นรมวยังไม่รู้เลย
ถ้าเจตนาของกองเรือดำน้ำหรือ admin เพจ กองเรือดำน้ำ ทำไปเพราะไม่อยากได้เรือจีน ก็ทำเกินหน้าที่ล่ะครับ ผิดระเบียบจัดซื้อด้วยหรือเปล่ายังไม่รู้ เพราะเขามีกรรมการจัดหาของเขาอยู่แล้ว สิ่งที่ทำลงไปเพื่อกฎดันกรรมการจัดซื้อให้ไม่เอาหรือไม่เอาเรือลำใดลำหนึ่งมันไม่ใช่หน้าที่ของกองเรือดำน้ำ ไม่ใช่เรื่องที่ผู้ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจะแซกแทรง ซึ่งหากเจตนาของผู้โพสเป็นแบบนั้นจริงๆ ก็ควรจะโดนลับ น ครับ
ตัวผมก็ไม่ได้อยากได้เรือจีน ผมอยากได้ของสวีเดน แต่ผิดคือผิด ครับ แล้วอีกอย่างตัวเลย สามหมื่นกว่าล้านก็ไม่เคยมีใครยืนยัน ทั้ง ทร ทั้ง กห ทั้งรัฐบาล มาจากปากนักข่าวคนเดียวที่ไม่เปิดเผยแหล่งข้อมูลด้วย
เท่าที่ผมติดตามเพจของ กองเรือดำน้ำมาตลอด ทางเพจก็นำเสนอข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับเรือดำน้ำทั่วโลก ทั้งเรื่องดีและไม่ดี แต่เหตุที่นำเสนออุบัติเหตุของเรือดำน้ำจีนก็เพราะเหตุการณ์เกิดในวันที่ 16 เมษายน 2003 ครับ ซึ่งเป็นวันครบรอบ 12 ปีพอดี
ตามลิ้งค์ของท่าน hongse_c : http://en.m.wikipedia.org/wiki/Chinese_submarine_361
มันเป็นเครดิต ของคนทำข่าวครับ ที่มันต้องมีมูล ไม่มากก็น้อย แล้วเหตุผล ของ ท่าน gaenae ที่ว่ามา รับได้กันไม๊ล่ะครับ แล้ว ทร เขามีคณะกรรมการคัดเลือกแบบอยู่แล้วครับ แอดมิน เพจเรือดำน้ำ ไม่ได้มีผลอะไรหรอกครับ แต่ เแอดมินเพจ กองเรือดำน้ำ อาจจะมีข้อมูลที่ว่า อาจจะถูก บังคับ ให้รับ คำว่า บังคับ มันเลวร้ายกว่าเยอะ ซึ่งเขาอาจจะรับไม่ได้ก็ได้ นั่นคือ ผมว่าเขาทำถูกแล้ว ทีี่ทำเกินหน้าที่ ถ้าระดับหัวหน้าไม่เอาอ่าวอะไรเลย และอย่ามาบอกว่า ผิดก็คือผิด เพราะประเทศที่เป็นแบบนี้ เพราะ คนทำผิด ก็สามารถเป็นผู้นำประเทศไทย และเป็นการทำเกินหน้าที่อย่างร้ายแรง ยังทำมึนรับกันได้อยู่เลยครับ
เท่าที่ติดตามดู ทางเพจก็ลงข่าวทั้งดีและไม่ดีของเรือดำน้ำทั่วโลกนะครับ อย่างเมื่อวันที่ 9 เม.ย. ก็ลงข่าวครบรอบเรือดำน้ำสหรัฐฯ จมตายยกลำ กับเมื่อวันที่ 12 เม.ย. ก็มีข่าวเรือดำน้ำรัสเซียไฟไหม้ ซึ่งก็ยังไม่เห็นเป็นอะไร แต่พอข่าวเรือดำน้ำจีนเมื่อวันที่ 16 เม.ย. ซึ่งเป็นวันครบรอบเหตุการณ์เหมือนกันกลับถูกมองว่าไม่เป็นกลาง คงต้องดูสายตาคนมองด้วยครับว่าเป็นกลางจริงหรือไม่
อย่างที่เคยบอกไม่เชียรให้ซื้อ ครับ
และไทยจะซื้อหรือไม่ ไม่ทราบ แต่ปากี มีโอกาสสูง ที่จะซื้อ 8 ลำ ซึ่งอาจเป็น s26 (2300t) และ s30 (3000t )รุ่นส่งออก Yuan-class และ Qing-class ราคา 4-5 พันล้านเหรียญ ซึ่ง xi จะไปเยือน ปากี สัปดา หน้า ก็คงรู้แน่ชัดว่าซื้อจริงหรือไม่
http://www.dawn.com/news/1176302/chinese-president-to-visit-pakistan-hammer-out-46-billion-deal
http://in.sputniknews.com/south_asia/20150416/1014142581.html
http://www.dailytimes.com.pk/national/16-Apr-2015/chinese-president-to-visit-pakistan-on-may-20-fo
http://thediplomat.com/2015/04/confirmed-pakistan-will-buy-eight-chinese-subs/
ตามข่าวที่ ปากีฯ จะซื้อเรือดำน้ำจีน...ก็ต้องลงให้หมดครับ...ว่า...
ให้ 2 ทางเลือก ดำเนินการไปคู่กันครับ...
1. ซื้อเรือดำน้ำจีน
2. ให้หาเรือดำน้ำมือสองจากฝั่งตะวันตก ครับ...
และ ผมเริ่มจะทำความเข้าใจว่า ทำไม ปากีฯ จึงจะจัดหาเรือดำน้ำ จีน ?
ทั้ง ๆ ที่ ปากีฯ มี เรือดำน้ำ สัญชาติฝรั่งเศส ประจำการ และ เขาถ้ายทอดเทคโนโลยี่สร้างเรือดำน้ำ และการติดตั้ง ระบบ AIP ให้ด้วย...
ซึ่ง 1 ในเหตุผล นั้น คือ....
อินเดีย เป็นลูกค้ารายสำคัญของ ฝรั่งเศส ครับ...
เรือดำน้ำ ก็มีของฝรั่งเศส....เครื่องบินรบ ก็มี มิราจ ของฝรั่งเศส...
และล่าสุด ก็จะจัดหา Rafale จาก ฝรั่งเศส อีกเช่นกัน....
ซึ่ง คงเป็นน้ำหนักของ ปากีฯ ที่คงต้อง ห่างจากการจัดหา เรือดำน้ำจากฝรั่งเศส ที่เป็นระบบอาวุธหลัก....
เพราะอาจจะเกิดเหตุการณ์แบบ อาร์เจนติน่า ได้เช่นกัน....
เรือดำน้ำจีน จึงเป็นทางออก ทางหนึ่ง....
ขอย้ำว่า เป็น ทางหนึ่ง...เท่านั้น...และน่าจะเป็นทางออกสุดท้ายของ ปากีฯ ที่คงต้องเลือก เรือดำน้ำ จีน เพื่อให้ตามจำนวนอัตราประจำการ เพื่อสมดุลย์ กับ เรือดำน้ำ ประเทศอินเดีย...(ราคามันถูก คือ เหตุผลสำคัญ....คงไม่ใช่ ประสิทธิภาพ เป็นเหตุผล หลัก)
แสดงว่า ภายใน 60 วันนี้ ถ้าไม่มีรายใหม่เข้ามาเสนอแบบเรือดำน้ำอีก น่าจะได้ข้อสรุปกันละว่าจะเลือกของใคร
ปล. ทร.เคยมีประสบการณ์ด้านราคาที่ได้คุณภาพตามราคามาแล้ว คราวนี่ขอเลือกเองบ้างได้ไหมครับเนียะ ไม่ใช่ใครบังคับมาถ้าไม่เอาก็อด
เอาตามตรง อุบัติเหตุที่เกิดจาก malfunction หรือความผิดพลาดในการทำงานของระบบต่างๆ ของเรือดำน้ำสายรัสเซีย กับพวกที่พัฒนามาจากรัสเซีย สูงกว่าค่ายตะวันตกเยอะมาก ซึ่งก็เป็นไปตามภาพลักษณ์เดิมๆเรื่องความปลอดภัยของกำลังพลของอาวุธค่ายนี้ที่เน้นน้อยกว่าค่ายตะวันตก ซึ่งก็เป็นสิ่งที่มีมูล ถึงยุคหลังๆจะพัฒนาขึ้นมากว่าเดิมมากจากยุคสงครามเย็น
การเกยตื้น หรือชนกัน อันนั้นเป็นความผิดพลาดของคนหรือเนื่องจากเรือสเตลธ์จัดหากันเองไม่เจอเอาหัวโหม่งกัน
^ ^
On 12 February 2003, HMAS Dechaineux, a Collins-class submarine of the Royal Australian Navy (RAN) was operating near her maximum safe diving depth off the coast of Western Australiawhen a seawater pipe burst.[4] The high-pressure seawater flooded the lower engine room before the hose was sealed off. It was estimated that if the inflow had continued for another twenty seconds, the weight of the water would have prevented Dechaineux from returning to the surface.[4] The Navy recalled all of the Collins-class submarines to the submarine base HMAS Stirling after this potentially catastrophic event, and after naval engineers were unable to find any flaws in the pipes that could have caused the burst, they commanded that the maximum safe depth of these submarines be reduced.[4]
On January 8, 2005, the Los Angeles-class submarine USS San Francisco, while underway and submerged, collided with an undersea seamount about 350 miles (560 km) south of Guam in the Marianas Islands. One of her sailors, Machinist mate 2nd Class Joseph Allen Ashley, of Akron, Ohio, died from the injuries he suffered in the collision. This happened while San Francisco was on a high-speed voyage to visit Brisbane, Australia.
On March 21, 2007 two crew members of the Royal Navy's Trafalgar-class submarine, HMS Tireless were killed in an explosion caused by air-purification equipment in the forward section of the submarine. The submarine was in service in the Arctic Ocean and had to make an emergency surface through the pack ice. A third crewmember who suffered "non life-threatening" injuries was airlifted to a military hospital at Elmendorf Air Force Base near Anchorage, Alaska. According to the Royal Navy, the accident did not affect the ship's nuclear reactor, and the ship sustained only superficial damage.[citation needed]
TOR ไม่ใช่ปัญหาสำหรับ จีน ครับ....
ไปหาประวัติ การซื้อเรือ ชุด ปัตตานี มาอ่านครับ...ใน TFC นี่แหล่ะครับ...ผมสรุปให้ 2-3 รอบแล้ว...ขี้เกียจสรุปให้ใหม่...
ไม่เช่นนั้น ร.ล.กระบี่ ในปัจจุบัน อาจจะเป็น เรือ OPV ลำที่ 2 หรือลำที่ 3 ที่เป็นการสร้างโดย อู่เรือไทย ไปแล้วล่ะครับ....ถ้าไม่โดน จีน ตัดขา เตะแข้ง ผ่าหมาก ไปซะก่อน....
ถ้าคนมีอำนาจในการอนุมัติ...สนับสนุน จีน แค่นั้นครับ....สามารถทำอะไรก็ได้ทั้งนั้นครับ....ล้มสัญญาประมูล ก็ยังได้ครับ...
มันอยู่ที่ กองทัพเรือ...นั่นแหล่ะ...แข็งแกร่ง และ รักษาความถูกต้อง ได้หรือเปล่า ? แค่นั้นจริง ๆ ครับ...ไม่มีอะไรที่มากไปกว่านั้นจริง ๆ
และถ้า สุดท้าย ถ้าถูกยื่นคำขาดจริง ๆ (ซึ่งเป็น เดา ของผมเอง) ผมก็เสนอแนวทาง อีกสักทาง ในการเช่าเรือดำน้ำ ฝึกในประเทศผู้ให้เช่าไปเลย เช่น สิงคโปร์ และ เกาหลีใต้...เช่ามันทั้งลำแหล่ะ...ให้เขาฝึกให้ด้วย...โดยราคาการเช่า เมื่อถัวเฉลี่ยออกมาแล้ว จะไม่แตกต่างกับการจัดหาเรือใหม่ มากนัก หรือ อาจจะถูกกว่า...เพราะเป็นหน้าที่ของผู้ให้เช่า ที่จะต้องรักษาสภาพเรือดำน้ำ และบำรุงรักษาให้เรือดำน้ำ สามารถปฏิบัติการได้ตลอดอายุการเช่า เพื่อฝึก...
ลดภาระ การสร้างอู่เรือ อะไหล่...ถ้า กองทัพเรือ ยังไม่มีงบประมาณจัดหาเรือดำน้ำ ที่ตรงความต้องการจริง ๆ และมีความคุ้มค่าจริง ๆ....
เป็นข้อมูล ยกตัวอย่าง แค่นั้นครับ...
ตัวเลขจริง ๆ ในเรื่องการซ่อมบำรุงตลอดอายุใช้งาน...ผมไม่มี....
ตัวเลข เงินเดือนและสวัติการ กำลังพล ตลอดอายุใช้งาน...ผมไม่มี...
แต่ค่าใช้จ่าย ทั้ง 2 ส่วนนี้...ถึงจะจัดหาเรือใหม่ มาประจำการจริง ค่าใช้จ่าย มันก็....เท่ากัน...อยู่ดี...
จึงไม่ใช่ตัวแปรที่สำคัญครับ...
เพียงแต่ เราคำนวณ แล้วถัวเฉลี่ย ต่อปี และเสนอให้กับ ประเทศต่าง ๆ เพื่อขอเช่า เรือดำน้ำ ที่คุณประจำการอยู่ หรือ กำลังจะปลดประจำการ...ว่า คณสนใจ จะให้เราเช่า ในราคานี้ หรือเปล่า ?....
ก็จะทำให้ ทร. มีกำลังพล เรือดำน้ำ เต็มกำลัง จำนวน 2 ลำ พร้อมรบ...( เกิดกรณี ปิดอ่าว ในประเทศไทย ระหว่างการฝึกขึ้นมา...ก็ขโมย มันมาเลย...ขำ ขำ ครับ)
คล้าย ๆ กับการที่ สิงคโปร์ ซื้อ F-16 กับ F-15 แล้วเก็บไว้ฝึกที่ประเทศ สหรัฐ นั่นแหล่ะครับ...แบบเดียวกัน เป๊ะ ๆ....
ก็เลยทำแผ่นภาพ ค่าใช้จ่าย มาเป็นตัวอย่างครับ....
ก็แค่ข่าวครับ ปากีอาจไม่ซื้อก็ได้ครับ
ส่วนจะซื้อ เพราะราคาถูก คุณภาพเป็นรองนั้น คงตอบไม่ได้ และผมขอไม่เชื่อครับ
ก็สงสัย อย่าง เจ้านี่ ยิงถล่มจากชายแดนซาอุ อยู่ ที่เขาซื้อเพราะราคาถูก คุณภาพเป็นรองหรือเปล่า นา
http://www.backchina.com/news/2015/04/16/357502.html
ถ้าเหตุที่พึ่งเกิด แล้วเป็นข่าวก็โอเคยอมรับได้ครับ ที่จะลง ถึงแม้นว่าจะ งง งง ว่า กองเรือดำน้ำจะได้ประโยชน์อะไรกับการลงข่าวเรือเกิดอุบัติเหตุ ในช่วงที่ตัวเองพยายามจะจัดหาเรือดำน้ำ ยิ่งข่าวเก่าแล้วเป็น สิบปี จะโพสทำไม ข่าวอื่นมีตั้งเยอะที่จะลงให้คนเห็นด้วยกับเรือดำน้ำ ดันมาลงข่าวอุบัติเหตุเรือ และหากจะลงข่าวเก่าในวันครบรอบ ทำไมไม่ลงให้หมด...
อ่อ...ไม่ทราบเหมือนกันครับ...ปืน 155 ม.ม. ว่า ซาอุฯ ซื้อเพราะอะไร...เพราะซาอุ ก็มี 155 ม.ม. ทุกสัญชาติ แหล่ะครับ...
แต่อาจจะซื้อไว้ ถล่ม อิสราเอล ก็ได้ครับ...จะได้ไม่ถูก แซงซั่นจาก สหรัฐ ฝรั่งเศส...ก็ได้ครับ...อาจจะไม่ใช่ เหตุผล ของประสิทธิภาพ...
หรือถ้าในภาพ คือ ของ แอลจีเรีย...แอลจีเรีย ก็คงซื้อมาสู้กับ ซาอุ...ล่ะมั้งครับ...เพราะ รัสเซีย คงไม่มีขาย...
แต่ที่ รู้จริง ๆ ก็คือ...ซาอุฯ ไม่มี เรือดำน้ำ จีน ครับ...เป็น ความจริง อย่างที่สุดครับ...โดยไม่ต้องใช้อย่างอื่น เปรียบเปรย ครับ....
เพจ เรือดำน้ำ เขาก็ลงให้หมดนี่ครับ...ท่าน skysky ไม่ได้อ่าน หรือทำความเข้าใจ ที่เพื่อนสมาชิก มาชี้แจง หรือครับ...
ว่า วันไหนครบรอบเรือดำน้ำ จม หรือ เสียหาย...เพจ กองเรือดำน้ำ ก็ลงให้ตามปกติ ทุกสัญชาติ ครับ...แต่ พอดี เป็น เรือดำน้ำ จีน...
แล้ว สนิมสร้อย กันไปหน่อย...
แหม...พอท่านทัก ผมเลยลองไปหาข้อมูล ZDK03
มันเป็น เครื่องคนละบทบาท กันครับ...ที่ ปากีฯ จัดหา ZDK03 มา เพื่อให้ได้ระยะไกลกว่า Erieye ครับ...
ปากีฯ จัดหามาทั้ง 2 ระบบ ครับ
โดย ปากีฯ มีเป้าหมาย จะผสาน ของเครื่องทั้ง 2 แบบ เพื่อรองรับทั้ง F-16 และ JF-17 เข้าด้วยกัน...
แต่ปี 2012 ปากีฯ ก็ถูกโจมตีจาก ผู้ก่อการร้าย ทำให้ Erieye เสียหายไปหลายลำ โดยปัจจุบัน ไม่รู้ว่า คงเหลืออยู่กี่ลำ...
สว่น ก่อนที่จะม่ี ZDK03 นั้น ก็เห็นวา ปากีฯ วางแผนจะจัดหา Phalcon Radar จาก อิสราเอล ติดตั้งบน IL-76 แต่ด้วยเหตุถูก ล๊อบบี้ จาก สหรัฐ ไม่ให้อิสราเอล ขายเรดาร์ให้...ซึ่งก็ถูกขอร้องมาจาก อินเดียว อีกที...หวย เลยมาตกที่ ZDK03 พอดี หรือเปลา ?
NEWS ARCHIVESWestern components integrated by Chinese engineers with Chinese frontends and
software. A comprehensive ECM has also been designed for the ZDK-203 to add
versatility and teeth to PAF’s Air Defence System. Its Command and Control system
is also state-of-the-art and highly sophisticated. The platform uses WJ6C turboprop
engines and JL-4 composite propellers, which has better endurance and operates at
higher altitude than the Swedish SAAB 2000 AEW platform acquired earlier by PAF.
PAF plans to integrate both the Karakoram Eagle and the SAAB 2000 Erieye
with its frontline fighters F-16 and JF-17 Thunder to develop a potent air
defence system which can also deliver a knockout punch to any adversary.
The induction of the ZDK-203 into PAF is another milestone in the exemplary history
of cooperation between Pakistan and China. It was because of the high performance
and low cost of this AEW&C system that prompted PAF to reduce its order for the
Saab-2000 AEW&C Erieye from 6 to 4 systems.
Pakistan’s reliance on its all weather friend China has been proved once again by the
provision of the Karakoram Eagle. For years, Chinese defence industry suffered from
the embargo by the western countries for releasing technology to China. It was
forced to rely on the Soviet Union, whose defence industry was lagging behind the
west. Even when China’s economy was booming and it was able to afford western
technology; it was denied access to the same under one pretext or the other. This in
a way was a boon since Chinese engineers, started with reverse engineering and
soon mastered the art of indigenization. Pakistan has greatly benefited from the
Chinese principles of self reliance and a number of its joint ventures with China, like
the Main Battle Tanks, Destroyers, trainers and fighter aircraft resulted from the
same spirit of sharing and transfer of technology.
Airborne Early Warning Systems were one area, where China endeavoured to build on
acquisition from the west and take advantage of its advanced prowess in the field.
It planned to purchase the Israeli Phalcon Radar and mount it on the Russian IL-76.
However, Israel was deterred by the US although India, which pitches itself as a rival
of China in the region, was granted permission by the US to acquire the same.
บางทีแอดมินอาจโดนผบ.ที่บ้านกดดันให้กระทำการแบบนี้ก็ได้นะครับ เนื่องจากติดFBงอมแงมไม่ยอมทำการบ้านเลยยื่นไม้ตายมันเสียเลย
เรื่องFBเนี่ย ผมเข็ดเขี้ยวตั้งแต่กองทัพเรือพม่าแล้วครับ เมื่อก่อนแอดมินก็ด่าแต่กับคนบังคลาเทศผมเลยพอทำใจเข้าไปดูดภาพได้ หลังๆเปิดศึกไปทั่วรวมทั้งบ้านเราด้วยเลยไม่เข้าไปดูแล้วและยกเลิกโปรเจคพม่าทุกรายการ แหม่...เล่นด่าว่ากะลาเนี่ยเจ็บจิ๊ด รู้ศัพท์ไทยได้ไงฟระ
ส่วนตัวคิดว่าFBในเมืองไทยที่เกี่ยวกับการทหารอัดข้อมูลเยอะไปนิดและมีข่าวพรายกระซิบเยอะไปหน่อย บางรายมีอัพเดทมันทุกวันไม่รู้เอาเวลาที่ไหนมานั่งทำ แต่กับรายที่มีคุณภาพสุงมากจนน่าสนใจดันไม่ค่อยอัพข้อมูลใหม่ซักเท่าไหร่ อันนี้ผมเข้าใจเลยนะเพราะของตัวเอง2เดือนอัพที 5555
...
งั้นลองคิดดูใหม่นะครับว่า หาก "สมมติ" ว่าในช่วงเวลานี้กำลังมีประเด็นข่าวร้อน เป็นโครงการจัดซื้อเรือดำน้ำจาก XXX แล้วบังเอิญว่าวันนี้เมื่อสิบปีก่อนมีอุบัติเหตุกับเรือดำน้ำของ XXX จนมีลูกเรือตายหลายสิบคน คุณคิดว่าเหมาะสมหรือไม่ที่เพจ กดน.จะเอาเรื่องนี้มาโพสในช่วงเวลานี้ แล้วสื่อมวลชนและคนที่ไม่เห็นด้วยจะใช้โอกาสนี้ขยายผลหรือไม่ ??? นี่เป็นเรื่องของ "กาละเทศะ" และอยู่ที่ "วุฒิภาวะ" ของแอดมินและทีมงานครับ คิด วิเคราะห์ แยกแยะ ไม่ต้องสนงสนิมอะไรหรอก
ผมว่าเตรียมทำใจกันเถาะ ฮาๆๆ ยังไงก็ลอยมาอยู่แล้ว
ถ้างั้นเราก็ซื้อมา2ลำ เพื่อแลกกับการที่จีน จะทำทุกอย่างเพื่อเตรียมความพร้อมในการสร้างเรือ ส. ในประเทศสะเลยสิ ฮาๆๆๆ
แล้วก็เก็บ2ลำจากจีนไว้ เป็นอะไหล่ แล้วเราก็สร้างเองอีก2ลำไว้ใช้ เฟลๆกันดีนะ ฮาๆ
แค่จากที่จะประจำการปี 61 ถ้าทำจริงๆก็ได้ประจำตั้ง2ลำปี 62+
(ถ้ารับปี 59 สร้างนานาจิตตังแล้วเสร็จพอดีกับเรือปี61 เรือในไทยต่อเสร็จก็62 ยัดเครื่องในเสร็จก็63 )
หรือจะไม่เอาอู่จีนกับโรงงานจีน อีกละครับ ฮาๆๆ
(ก็แค่ทางเลือกเฉยๆ มโนไปงันเละ)
ส่วนเรื่องความเหมาะสมของเพจ กดน. ผมเห็นเค้าก็ลงข่าวเรือดำนำ้ทั่วโลกสมำเสมอนะครับ ไม่ได้เจาะจงเฉพาะชาติไหน รัสเซียเสนอเรือกิโล เมื่อไม่นานก็มีข่าวอุบัติเหตุ สวีเดนเสนอA26 ก้เพิ่งลงข่าวออสเตรเลียปฎิเสธแบบเรือของอู่สวีเดน เพจ กดน.ก็นำเสนอข่าวปกตินี่ครับ
การเฉลี่ยค่าใช้จ่ายต่อปีกรณีซื้อเรือผมพอเข้าใจครับ แต่การเทียบกับการเช่าเรือเท่าที่เห็นตอนนี้เหมือนกับการเทียบว่าถ้าเช่า เราจะสามารถเช่าได้ในราคาเท่าไหร่โดยค่าใช้จ่ายเท่ากับการซื้อเรือ (กรณีที่ยกตัวอย่างมานี้ 2 ลำ 52 ล้านเหรียญต่อปี) แต่ไม่สามารถรู้ได้ว่าการเช่าจริงๆมันจะมีค่าใช้จ่ายประมาณไหน เทียบกับการซื้อแล้วจะมากน้อยกว่า/คุ้มไม่คุ้ม อย่างไร ผมเข้าใจถูกไหมครับ
แล้วพอมีข้อมูลราคาค่าเช่าเรือของประเทศอื่นบ้างไหมครับ หรือว่าส่วนใหญ่จะรวมในดีลการซื้อเรือ คือรอเรือใหม่เสร็จก็เช่าของเก่าไปก่อน เพราะงั้นไม่สามารถตีราคาแยกได้? หรือเรียกง่ายๆว่าให้ใช้ฟรีระหว่างรอของมากกว่า?
แล้วถ้าเกิดกดน. ที่ลงข่าวครบรอบอุบัติเหตุเรือดำน้ำทุกลำทุกค่ายอยู่ๆ พอครบรอบเรือดำน้ำจีนจมแล้วไม่ลงข่าว อย่างนี้จะโดนหาว่าเข้าข้างจีนหรือเปล่าล่ะครับ?
เพจ กนด.อุตส่าห์ลบข่าวอุบัติเหตุเรือจีน แบบนี้น่าดูว่า เพจ กนด.เข้าข้างเรือจีนมากกว่านะ ลบข่าวอยู่รายเดียว ข่าวอุบัติเหตุรายอื่นยังโพสท์อยู่เลย
เรื่องเพจกองเรือดำน้ำยุติการให้ข้อมูล ผมมองว่ามันเป็นแค่การนำเสนอข่าวสารตามปกติเองครับอย่างที่หลายๆท่านด้านบนว่าข่าวประเทศอื่นเสนอแต่ข่าวจีนกลับลบอยู่ข่าวเดียวแบบนี้มันเข้าข้างจีนนี่ คนที่ทำให้มันเป็นประเด็นคือคนที่สั่งให้ลบออกมากกว่ามันชวนให้คิดจริงๆครับ เรื่องจับแพะชนแกะ แฟนๆข่าวสายนี้ถนัดนักล่ะครับ ยิ่งมาทำให้เป็นประเด็นแบบนี้มันยิ่งชัดว่าคุณมีอะไรซักอย่างกับจีนแล้วล่ะ
@คุณ hongse_c ครับ ผมสงสัยนานแล้วว่าเหตุผลที่ไม่สนับสนุนให้ทร.ซื้อเรือดำน้ำจีนคืออะไร เพราะให้ความเห็นแต่ไม่ให้เหตุผล ทั้งที่ปกติโปรค่ายไหนก็น่าจะเชียร์ค่ายนั้นในกรณีทีมองว่าคุณภาพไม่ต่างกัน
@ป่าจูล ราคาค่าเช่าเรือ นี่เอามาจากไหน หรือประเมินโดยเปรียบเทียบกับอะไรครับ
ผมใช้การคำนวณค่าเสื่อมราคาแบบธรรมดา น่ะครับ ท่าน toeytei
ก็คือ โครงการเรือดำน้ำ มูลค่า 36,000 ล้านบาท อายุใช้งาน 30 ปี ก็ถัวเฉลี่ยต้นทุนต่อปีออกมา คือ 30 ปี หาร 36,000 ล้านบาท ก็จะใด้ค่าใช้จ่าย เรือดำน้ำ ต้นทุนต่อปี เท่ากับ 1,200 ล้านบาท ครับ...
แล้วก็บวก ค่าใช้จ่าย เงินเดือน กำลังพล สำหรับเรือดำน้ำ จำนวน 2 ลำ ผมประเมินให้ว่า เรือดำน้ำ 1 ลำ ใช้กำลังพล 20 นาย รวม 2 ลำ ก็ใช้กำลังพล 40 นาย....ซึ่งในส่วนนี้ เราไม่รู้ข้อมูลที่ใกล้เคียงหรอกครับ...แต่ก็เทียบให้ดูว่า...สมมติ ถ้า ทร. ได้เรือดำน้ำมาจริง ตรงความต้องการของ ทร. ก็จะมีค่าใช้จ่ายส่วนนี้เกิดขึ้นอยู่แล้ว...ทร. ก็ใช้ค่าใช้จ่ายส่วนนี้ มารวมคำนวณ เพื่อหาค่าใช้จ่านสำหรับกำลังพล ไปอยู่ต่างประเทศ หรือเพื่อเสนอรวมในค่าเช่า เพื่อให้ ผู้ให้เช่า จัดหาที่พักและบริการต่าง ๆ สำหรับกำลังพล ก็แล้วแต่ครับ...
และก็บวก ค่าใช้จ่ายตลอดอายุใช้งานของ เรือดำน้ำ ในระยะเวลาประจำการ 30 ปี ถัวเฉลี่ยให้ออกมาต่อปี...ซึ่งในส่วนนี้ เรา ไม่รู้ข้อมูลที่ใกล้เคียงหรอกครับ...ซึ่ง ทร. สหรัฐ จะใช้การคำนวณ ค่าใช้จ่ายตลอดอายุใช้งานของ เรือรบต่าง ๆ เพื่อมาใช้เปรียบเทียบ ว่า จะซื้อเรือรบใหม่ หรือ อัพเกรด เรือเก่า แล้วนำระยะเวลาที่ใช้งาน มาถัวเฉลี่ยเปรียบเทียบ...ว่าแบบไหน คุ้มค่ากว่า ครับ...
ซึ่งการคำนวณนี้ ก็เป็นการแสดงว่า กองทัพเรือ มีค่าใช้จ่ายของเรือรบต่าง ๆ ต่อปี ประมาณเท่าไหร่ครับ...
แล้วเราก็นำ ค่าใช้จ่าย ในส่วนนี้...มาพิจารณา ในการเช่า จากประเทศอื่น ๆ...ในระหว่าง รองบประมาณ ที่จะได้ เรือดำน้ำ ตรงความต้องการ และมีความคุ้มค่า...โดย กองทัพเรือ จะไม่ขาดกำลังพล เรือดำน้ำ พร้อมรบไป...แม้จะยังไม่มีเรือดำน้ำ ประจำการ ครับ....เพราะไปฝึกพร้อมรบ อยู่ต่างประเทศ ในละแวกใกล้เคียงกับ บริเวณ ที่ กองทัพเรือ ต้องใช้งาน เรือดำน้ำ อยู่แล้ว เช่น สิงคโปร์ และ เกาหลีใต้ เป็น ประเทศ ที่ยกตัวอย่างครับ...เช่น สมมติ เช่า สิงคโปร์ สำหรับเรือดำน้ำ ชั้น Challanger ก็อาจจะได้ราคาที่ถูก ราคาที่เปรียบเทียบ จำนวนมาก ก็ได้ครับ...อาจจะแค่ 1 ใน 3 ของที่ผมประเมินก็ได้...
ซึ่งการเช่า ในระยะเวลา 5 ปี...น่าจะอยู่ในความสามารถของ สิงคโปร์ ที่ทำให้ เรือดำน้ำ 1 ลำ ในชุด Challanger ยังปฏิบัติการได้เป็นปกติ...ซึ่ง ไม่แน่ สวีเดน อาจจะช่วย Support ในทางอ้อมให้ก็ได้...เพราะก็มีความต้องการขาย เรือดำน้ำ อยู่แล้ว...ทั้ง ไทย และ สิงคโปร์ เป็นกลุ่มเป้าหมายของ สวีเดน เช่นกัน...
ซึ่งก็ไม่รู้ว่า ที่ พม่า ส่งคนไปฝึกกับ เรือดำน้ำปากีฯ นั้น...จะเป็นการไปฝึกกำลังพล พร้อมรบ ทั้งลำ เลย หรือเปล่า ? ตามที่ผมยกตัวอย่างน่ะครับ...
09/02/2558 17.15 น. ThaiArmedForce.com - แหล่งข่าวจากกองทัพเรือตั้งข้อสังเกตุและแสดงความไม่มั่นใจเรือดำน้ำจากจีน หนังสือพิมพ์Bangkok Post ฉบับวันที่ 9 เมษายน 2558 เผยแพร่บทความอ้างแหล่งข่าวจากกองทัพเรือแสดงความกังวลในการจัดหาเรือดำน้ำจากจีน หลังจากที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ ให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนว่าจะพูดคุยกับจีนเกี่ยวกับการจัดหาเรือดำน้ำจากประเทศจีนในระหว่างการเยือนจีนอย่างเป็นทางการเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา
Bangkok Post อ้างแหล่งข่าวหลายแหล่งจากกองทัพเรือระบุว่ามีความกังวลในความน่าเชื่อถือของเรือดำน้ำจีน เนื่องจากจีนยังไม่มีประสบการณ์ในการสร้างเรือดำน้ำที่มากพอ และงบประมาณจำนวน 36 พันล้านบาทก็ไม่ควรจะใช้ไปกับเรือดำน้ำที่ยังมีเสี่ยง และค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาในระยะยาวก็เป็นจุดที่น่าเป็นหน่วย ซึ่งทำให้อาจไม่มีกำลังพลที่กล้าปฏิบัติงานกับเรือดำน้ำ
นอกจากนั้นราคาของเรือดำน้ำจีนยังไม่ต่างกับเรือดำน้ำจากยุโรปอย่างมีนัยยะสำคัญ ซึ่งไทยควรจัดหาเรือดำน้ำจากประเทศที่มีความน่าเชื่อถือในการสร้างและปฏิบัติงานกับเรือดำน้ำมากกว่าเช่นเยอรมันหรือสวีเดน หรือแม้แต่เกาหลีใต้
ThaiArmedForce.com ได้รับข้อมูลว่าแบบเรือดำน้ำที่จีนเสนอให้กับกองทัพเรือไทยนั้นคือแบบเรือดำน้ำดีเซล-ไฟฟ้าชั้น 26T Yuan ซึ่งบริษัท China Shipbuilding & Offshore International มานำเสนอให้กับกองทัพเรือไทยเมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา
นอกจากนั้นยังมีเรือดำน้ำชั้น Kilo และ Amur ของรัสเซีย เรือดำน้่ำชั้น 209/Mod และ 210/1400Mod ของเยอรมัน เรือดำน้ำชั้น HDS-500RTN ของเกาหลีใต้ เรือดำน้ำชั้น และเรือดำน้ำชั้น A-26 ของสวีเดน ที่มานำเสนอข้อมูลให้กับกองทัพเรือไทยแล้ว
ก็จะประมาณนั้น ครับ...คือ ถ้าเรายังไม่มี เรือดำน้ำ ซึ่งเป็นของราคาสูง และต้องใช้ระยะเวลาในการสร้าง...
ในการเตรียมความพร้อม...เราจะทำอย่างไร ที่จะทำให้ เรามีกำลังพล มีความสามารถเพียงพอ และจะสร้างความชำนาญได้อย่างรวดเร็ว...
เมื่อเรือดำน้ำ เข้าประจำการ...เพื่อไม่ให้ กำลังพล มีทักษะสงครามใต้น้ำ ห่างประสบการณ์จากประเทศเพื่อนบ้าน จนเกินไป...
การเช่าเรือดำน้ำ เพื่อฝึกพร้อมรบ อาจจะเป็น ทางเลือกหนึ่ง....
แล้วคราวนี้ การเช่า มันจะคุ้มค่า หรือไม่...มันจะแพง ไป หรือเปล่า ?
ก็เป็นสิ่งที่ กองทัพเรือ ต้องเตรียมคำตอบไว้...ซึ่งตามที่ยกตัวอย่าง ก็เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นว่า...ถ้า ทร. มีเรือดำน้ำแล้ว ค่าใช้จ่ายตลอดอายุใช้งาน จนกว่าเรือจะปลดระวาง ก็จะใช้งบประมาณประมาณเท่านี้ อยู่แล้วล่ะ...
เราก็มา ทำการถัวเฉลี่ย เพื่อหาราคากลางและสมเหตุ สมผล เพื่อใช้ราคาในการเสนอการเช่าเรือดำน้ำ จากประเทศที่สนใจ และคุณสมบัติของเรือดำน้ำ ตรง และ/หรือ ใกล้เคียงที่สุด กับความต้องการของ ทร.
แม้แบบเรือดำน้ำ จะไม่ตรงกับความต้องการของ ทร. ถึง 100% แต่ระบบ และเทคนิค ของเรือดำน้ำ จะใกล้เคียงกับ สเปค ที่ ทร. กำหนดไว้...
เหมือนกับ นักบิน F-5 เมื่อได้รับเครือ่งบินใหม่ มาทดแทน เช่น F-16...ยังไง นักบิน F-5 ก็ต้องใช้เวลาการฝึกในระยะหนึ่ง...แต่ด้วยระบบของเครื่องบิน มันเป็น มาตรฐาน ระบบลักษณะเดียวกัน...มันก็จะใช้ระยะเวลาไม่นานมาก ในการเป็น นักบินพร้อมรบ สำหรับเครื่องบินลำใหม่ และมีเทคโนโลยี่ ที่สูงกว่า....
ถ้าเรามองการเตรียมความพร้อมรบ ของ กำลังพล...การนำไปฝึกพร้อมรบ ในต่างประเทศ แม้จะเป็นเรือต่างแบบที่จะจัดหา แต่ด้วยมาตรฐานของระบบ และเทคนิคการรบ ที่จะเป็นมาตรฐานแบบเดียวกับที่ ทร. จะจัดหาในอนาคต...มันก็จะทำให้ ทร. ไม่ขาดช่วง ของกำลังพล ที่จะพร้อมรบโดยเร็ว เมื่อมีเรือดำน้ำเข้าประจำการจริง ๆ ในอีก 5 - 10 ปี ข้างหน้า...
และจะไม่ใช่ การที่จะไปเริ่มต้นในอีก 5 หรือ 10 ปีข้างหน้า หรือกว่าจะพร้อมรบก็อาจจะเป็น 15 ปี ไปแล้ว...
ซึ่ง ดีไม่ดี อาจจะมีหลายประเทศสนใจ แข่งขันกันเปิดให้ ทร. เช่า ก็ได้ครับ...เพราะ เขาเห็นโอกาสในอนาคต ที่จะสามารถจำหน่ายได้...
ไม่แน่ ญี่ปุ่น อาจจะสนใจ ก็ได้ครับ...เพราะเป็นการเช่า ไม่ใช่ จำหน่าย และเรือดำน้ำ ก็ยังอยู่ภายในประเทศ...
เป็นแค่ความเห็น น่ะครับ...ไม่ได้ใช้หลักอ้างอิง จากที่อื่น
เรื่องการเช่าเรือดำน้ำสำหรับผมมองว่ามันยิ่งจะเป็นไปได้ยากมากว่าการชลอโครงการจัดหาเรือดำน้ำออกไปเสียอีก
เพราะอะไรรู้ไหมคือผลประโยชน์มันได้ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วยยังไงล่ะ ยังไงก็ได้ไม่เท่ากับการซื้อขาดไปเลยครับ
ประเด็นที่น่าสนใจก็คือ กองทัพเรือจะเอายังไงต่อไปคือ ยังจะเดินหน้าต่อไปหรือจะชลอไว้ ส่วนเรื่องเสียงคัดค้านคงจะไม่มีผลอะไรหรือจะไปงัดกับกฏหมายมาตรา 44 ได้หรอก
สถานการณ์มันบีบเข้ามาซะเหลือนเกิน และยิ่งผบ.ทร คนปัจจุบันกำลังจะเกษียณในเดือนกันยายนที่จะถึงนี้
เสียด้วย ก็ต้องรีบตัดสินใจว่าจะเกษียณไปแบบตัวเปล่าหรือจะมีผลงานซักชิ้นให้กับกองทัพเรือแบบมีอะไรติดไม้ติดมือไปด้วย
เอาเถอะถึงวินาทีนี้แล้วก็คงจะปฏิเสธอะไรไม่ได้อีกแล้วกับเรือดำน้ำจากจีน ยังไงโอกาสที่หวยจะออกที่จีนเกินครึ่งไปแล้ว ถ้ากองทัพเรือยังเดินหน้าที่จะจัดหาเรือดำน้ำให้ได้ภายในปีนี้หรือปีหน้า เรื่องนี้ผมทำใจมาหลายวันแล้ว ฮา ฮา ประมาณว่าคนอกหักในรักแท้อะไรทำนองนั้น
อ่านแล้ว ก็ได้แต่อมยิ้ม
จาก//
เรือดำน้ำจีน จึงเป็นทางออก ทางหนึ่ง....
ขอย้ำว่า เป็น ทางหนึ่ง...เท่านั้น...และน่าจะเป็นทางออกสุดท้ายของ ปากีฯ ที่คงต้องเลือก เรือดำน้ำ จีน เพื่อให้ตามจำนวนอัตราประจำการ เพื่อสมดุลย์ กับ เรือดำน้ำ ประเทศอินเดีย...(ราคามันถูก คือ เหตุผลสำคัญ....คงไม่ใช่ ประสิทธิภาพ เป็นเหตุผล หลัก)
//
วงในทร. ปากี มาตอบเอง
ซื้ออาวุธเพราะถูก เพราะได้รับการสนับสนุน เป็นหลัก ส่วนคุณภาพ จะห่วยยังไง ไม่สน ใช่ป่ะ ตามตรรกะคุณ
แปลกดีครับ
หรือตรรกะนี้ จะใช้แต่ รดน. อย่างเดียว...!!!
อาวุธ ก็คืออาวุธ จะชนิดไหนก็สามารถเปรียบคุณภาพได้ ไม่ใช่หรือครับ จะมาจำกัดเฉพาะ รดน. เพื่ออะไร และ
รูป ข้างบน ไม่ใช่ของแอจีเรียครับ ผมลงข่าว link แล้ว ไม่ได้อ่านหรือครับ เขาบอกของซาอุยิงถล่มจากชายแดน
http://www.reuters.com/article/2015/04/16/us-yemen-security-indonesia-idUSKBN0N70FQ20150416
http://m.wenxuecity.com/news/2015/04/16/4192948.html
https://www.daliulian.org/cat35/node321435
http://www.wenxuecity.com/news/2015/04/16/4192948.html
http://vk.com/wall-16470106_2057543?reply=2057801
http://atraknews.com/new.aspx?id=38648
และ
ตัวเดิม ตามรูปที่1 ของคูเวต มี 54 ระบบ ถ้าตามคุณว่า คูเวตซื้อเพราะถูก และคงใช้ถล่มอิสราเอล หรือเปล่าครับ ???
และ
รูปที่ 2
CH4 UAV ไม่รู้ซื้อด้วยเหตผล ราคาถูก และใช้ถล่มอิสราเอล โดยมีคุณภาพเป็นรอง หรือเปล่า
และ
รูปที่3
VP11 4×4 Mine-Resistant Ambush Protected vehicles ขายให้ UAE จำนวน 150 คัน คงขายได้เพราะราคาถูก และกลัวไม่มีอะไหล่เวลาถล่มอิสราเอล หรือเปล่าครับ
และ
รูปที่4
ZDK03 ของปากี คุณภาพเป็นไง เมื่อเทียบกับ Erieye หาอ่านดูครับ คงหาไม่ยาก
ตัวอย่างคงแค่นี้ และ ถ้าจะมีการซื้อขาย รดน s26/s30 ของปากีจริง ถามคุณรู้ได้ไงว่าซื้อเพราะ
//ราคามันถูก คือ เหตุผลสำคัญ....คงไม่ใช่ ประสิทธิภาพ เป็นเหตุผล หลัก //
ตามที่คุณกล่าวมา ขอข้อมูลด้วยครับ อยากทราบเหมือนกัน??
ปากี ที่มีศรัตรูอย่างอินเดีย(ที่ใหญ่กว่า รวยกว่า พร้อมกว่า) จะซื้อ รดน. แต่ดันซื้อเพราะของถูก คุณภาพไม่สำคัญ คิดอย่างนั้น จริงหรือครับ???.....ไม่ดูถูก ทร.ปากี เกินไปหรือครับ!!!
ตอบ คุณ toeytei
ขอโทษครับ ที่พึ่งตอบ คำตอบนั้นมีหลายเหต แต่ไม่อยากมีประเด็น และยังหาหลักฐานไม่ได้ครับ จึงข้ามไปก่อน เอาที่ตอบได้ก่อน
คือ “ความไม่มั่นใจ”
อาวุธจีนจะดี ไม่ดีอย่างไร ถ้าคนซื้อไม่มั่นใจ ผมว่าอย่าซื้อครับ ของคนอื่นมีเยอะแยะ มีเงิน ก็ซื้อที่ตนมั่นใจครับ จะได้สบายใจ
ส่วนตัว ไม่เห็นด้วยให้ไทยซื้ออาวุธจีนทุกชนิดครับ
แปลเอาเอง ครับ...(ขี้เกียจแปลครับ)
1. ตอนแรกจะซื้อ เยอรมัน...แพงไป
2. ตอนที่สอง จะซื้อ ฝรั่งเศส...ฝรั่งเศส ปฏิเสธ...เพราะอินเดีย จัดหา Scorpene ไป
3. สุดท้ายมาจบที่ จีน...และยังต้อง เจรจาว่า จีน จะปล่อยเงินกู้ให้ รึเปล่า ?
ก็เรือดำน้ำคนอื่น มันแพงไงครับ...จากเดิมจะซื้อ เรือดำน้ำจีน จาก 6...ก็ต้องเปลี่ยนมาเป็น 8...เพราะการขยายตัวในเรือดำน้ำ ของ อินเดีย...
และช่วยแปล ไฮไลท์ ด้วยครับ.."but that is still not final".
(Reuters) - Pakistani Prime Minister Nawaz Sharif has approved a deal "years in the making" to buy eight submarines from China, a Pakistani government official said on Thursday, in what could be one of China's largest overseas weapons sales once it is signed.
The official, who was present at Tuesday's meeting of the National Assembly Standing Committee on Defense which was briefed by the Navy, said the deal to buy the diesel-electric submarines would likely be signed by Chinese President Xi Jinping when he visits, "but that is still not final".
Xi was due to travel to Pakistan this month, the government in Islamabad has said. China has said Xi would visit this year, but given no timeframe.
China and Pakistan call each other "all-weather friends" and their close ties have been underpinned by long-standing wariness of their common neighbor and rival, India, and a desire to hedge against U.S. influence across the region.
"The prime minister has approved buying eight submarines from China and these would be used to bolster Pakistan's strength," the official, who asked not to be identified, told Reuters.
He added that "last-minute homework is pending".
"Some officials are traveling to China even today. Work is ongoing," he said. "This deal is years in the making."
He said Pakistan was looking at S20 and Yuan class diesel-electric vessels.
A former senior Pakistan navy officer with knowledge of the negotiations told the Financial Times the contract could be worth $4 billion to $5 billion.
Asked about the submarines, Chinese Foreign Ministry spokeswoman Hua Chunying said China and Pakistan were friendly neighbors and that the two sides had normal military exchanges.
"I can tell you, relevant cooperation does not violate international convention and accords with China's three principles on military exports," she told a daily news briefing.
China is Pakistan's top supplier of weapons, according to the Stockholm International Peace Research Institute (SIPRI), which tracks global arms sales, selling 51 percent of the weapons Islamabad imported in 2010-2014.
China has also surpassed Germany to become the world's third largest arms exporter, SIPRI said in a report last month. Little is known about China's arms exports because the country does not publish data on such sales.
The Pakistani official also said that Pakistan had been in talks with France to buy new submarines, but the proposal was declined by the French.
A top U.S. Navy admiral said in February that, though they were technologically inferior, China's submarine fleet now outnumbered that of the United States.
(Reporting by Mehreen Zahra-Malik in Islamabad and Ben Blanchard and Megha Rajagopalan in Beijing; Writing by Nick Macfie; Editing by Alex Richardson)
Pakistan’s plan to buy eight Chinese submarines is likely to be one of China’s biggest arms deals and to intensify an emerging undersea contest in the Indian Ocean.
The deal, confirmed by a senior Pakistani defense official, is also expected to be among Pakistan’s biggest-ever weapons purchases.
Rear Admiral Mukhtar Khan, additional secretary in Pakistan’s Ministry of Defence, revealed the plan at a meeting of parliament’s Standing Committee on Defence on Tuesday, according to an official record of the meeting.
The official record quoted him saying that “the National Security Committee (NSC) has approved, in principle the project to acquire eight Chinese submarines. Financial negotiations for the same are in advance stages.”
The National Security Committee is the top decision-making body for defense issues, with both civilian leadership—including Prime Minister Nawaz Sharif—and the military chiefs sitting on this committee.
Pakistan Navy officials declined to comment. An official in the press office of China’s Defense Ministry referred questions on the submarine deal to local defense industry representatives but declined to say which ones were involved.
A senior Pakistani government official said that discussions were ongoing, but the financial and technical details of the deal won’t be publicly discussed until negotiations are wrapped up and it has actually been signed.
China and Pakistan have had close relations for decades based largely on their mutual suspicion of India, and China has long been one of Pakistan’s main arms suppliers.
Hua Chunying, a Chinese foreign ministry spokeswoman, didn’t respond directly when asked about the submarine deal on Thursday but said: “China and Pakistan are traditional friends and neighbors.”
She said that China abided by its principles and international standards when selling arms.
She also said that Chinese President Xi Jinping was looking forward to paying a state visit to Pakistan “as soon as possible” and both sides were in close contact on that issue. She didn’t give a date for the visit.
Military experts and defense industry publications say the deal is most likely for Pakistan to buy China’s diesel-powered Yuan class attack submarines, which are also known as Type 039A or Type 041.
However, some earlier reports have suggested that Pakistan could purchase another Chinese diesel-powered attack submarine called the Qing class, or Type 032.
Pakistan’s navy currently operates five French-designed Agosta class submarines, two purchased in the 1970s and three in the 1990s, according to the navy’s official website.
“I think the reasoning for Pakistan, is, as always, competition with India,” said James Hardy, Asia Pacific editor of IHS Jane’s Defence Weekly.
“These subs would be attack subs so conventionally armed [antiship missiles and torpedoes rather than nuclear armed] and would be designed to complicate any Indian blockade operations around Karachi or elsewhere in the event of a war. ”
China’s global arms exports more than doubled between the five-year period ended in 2009 and the five-year period ended in 2014, according to an annual report on weapons transfers published last month by the Stockholm International Peace Research Institute.
China was Pakistan’s biggest arms supplier between 2010 and 2014, accounting for 51% of Pakistani weapons imports. The U.S. was in second place with 30%, according to the report.
—Lilian Lin in Beijing contributed to this article.
ให้อีกข่าวครับ
ISLAMABAD: The Ministry of Defence told a parliamentary committee on Tuesday that eight submarines were being purchased from China to address force imbalance with India.
“The National Security Committee has approved, in principle, the acquisition of eight Chinese submarines,” Additional Secretary of the ministry Rear Admiral Mukhtar Khan informed the National Assembly’s Standing Committee on Defence.
Negotiations with China on the financial aspect of the purchase were in an advanced stage, he said.
Pakistan has been negotiating the purchase of submarines from China since 2011.
No details were given about the type of submarines.
However, there have been reports that Yuan-class Type-041 diesel-electric submarines were being considered.
Purchase of eight such submarines may cost up to $8-10 billion, defence analysts say.
Pakistan’s submarine fleet comprises five Agostas — two Agosta70 and three Agosta90B — and three MG110 miniature submarines (SSI).
One of Agosta90B — Hamza (Khalid Class) — was indigenously constructed and commissioned in 2008 and another was partially completed here.
The third was built in France.
The navy has been pursuing different options for buying more submarines in view of the Indian move to expand its fleet.
In 2004 Pakistan had expressed interest in buying German Type 214 diesel-electric submarines. But the deal could not materialise due to opposition in Germany to the sale of submarines to Pakistan.
Later, negotiations were held with France for acquiring Scorpène-class submarines.
The NA committee was told that France had refused to sell the submarines to Pakistan because of various reasons — one of them being that India was buying the same submarines.
The Agosta submarine scandal of 1994 was another reason.
The committee was also informed that the ministry had approved an allocation of $294 million for the purchase and up-gradation of ATR aircraft for the navy.
The National Security Committee is yet to approve the ATR purchase and up-gradation project.
Published in Dawn, April 1st, 2015
และข่าวนี้ ที่ว่า ที่ประชุม ให้ดูทางเลือกในการจัดหาเรือดำน้ำมือสอง ไปด้วย
ISLAMABAD – National Assembly Standing Committee on Defence was told on Tuesday that the army would follow the policy of the government relating to Saudi–Yemen conflict.
The meeting was also told that the government has approved the purchase of eight submarines from China while negotiations are also being held with different countries including Germany, Britain and France for the purchase of second hand submarines. Meeting of the standing committee was held here on Tuesday under the chairmanship of Shaikh Rohail Asghar. It was attended by the secretary defence, the additional secretary defence, the director general military land and other senior officials.
Additional Defence secretary Rear Admiral Mukhtar Khan said that National Security Committee has approved in principle the project to acquire eight Chinese submarines. Financial negotiations for the same are in advance stages. He further said that Pakistan navy requirement of special funds of $ 294 million to upgrade/induct ATRs aircraft has been approved by Ministry of Defence in consultation with the finance division. Summary has been submitted for approval of National Security Committee.
To a question, he informed that Pakistan Navy is also participating in the operation to bring the Pakistani Nationals from Yemen and for this purpose one ship of Pakistan Navy has already been moved towards Yemen and the second ship is ready for departure. The defence secretary said that different options are under consideration for evacuation of Pakistanis in Yemen. One option is to take the Pakistanis to Djibouti and then bring them by air to Pakistan.
There were heated exchanges between Pakistan Muslim League-N’s Junaid Anwar Chaudhry and Muttahida Qaumi Movement’s Kashwar Zehra over Pakistan’s support to Saudi Arabia. Chairman of the Committee said that Pakistan army should follow those who have destroyed peace in Pakistan and other Islamic countries. The committee members expressed their strong resentment for not being invited to Pakistan Day Parade.
Mahmood Khan Achakzai said that matter of acquisition of land in Swat for establishment of Cantonment be settled with the local people as there is great concern because their crops are being destroyed. The standing committee formed a sub committee comprising Mahmood Khan Achakzai, Musarrat Zeb and Saeed Khan to help settle the matter while Director General Military Lands promised to submit a report soon to the committee.
แล้ว กระทู้นี้ คือ การพูดถึง การจัดซื้อ เรือดำน้ำ นะครับ...ไม่ได้ซื้อ ปืน ซื้อเครื่องบิน...
แล้ว ก็เอา ปืน กับ เอา เครื่องบิน มาเปรียบเทียบกับเรือดำน้ำ...ว่า...ทำไม เขายังซื้อไป จัดหาไป...ผมก็บอกไปแล้วว่า ไม่รู้เหมือนกัน ว่าซื้อทำไม...อาจจะซื้อไว้ ถล่มอิสราเอล ก็ได้
ส่วนเรื่่อง เรือดำน้ำของ ปากีฯ ผมก็ให้ ข้อมูล แล้วนะครับ...ว่า จะซื้อ เยอรมัน กับ ฝรั่งเศส แต่เขาไม่ขายให้ เลยมาซื้อ เรือดำน้ำจีน...
ดังนั้น ผมก็ขอ ข้อมูลคุณหน่อยว่า ปากีฯ ซึ้อ เรือดำน้ำจีน เพราะ ประสิทธิภาพ ม้นเหนือกว่า เยอรมัน และ ฝรั่งเศส ครับ...
อย่าเอาเปรียบผม ให้หาข้อมูลคนเดียว 5 5 5 5 5
ก่อนอื่นต้องขอขอบคุณมาก ที่ช่วยตอบคำถาม พร้อมยกข่าวมาให้อ่าน แต่ดูเหมือนจะไม่เกี่ยวกับที่ผมสงสัยน่ะครับ
ประเด็น1
ขอยกที่ผมสงสัย จากการ แสดงคคห. ของคุณก่อนหน้านี้
////ตัวอย่างคงแค่นี้ และ ถ้าจะมีการซื้อขาย รดน s26/s30 ของปากีจริง ถามคุณรู้ได้ไงว่าซื้อเพราะ
//ราคามันถูก คือ เหตุผลสำคัญ....คงไม่ใช่ ประสิทธิภาพ เป็นเหตุผล หลัก //
ตามที่คุณกล่าวมา ขอข้อมูลด้วยครับ อยากทราบเหมือนกัน??
ปากี ที่มีศรัตรูอย่างอินเดีย(ที่ใหญ่กว่า รวยกว่า พร้อมกว่า) จะซื้อ รดน. แต่ดันซื้อเพราะของถูก คุณภาพไม่สำคัญ คิดอย่างนั้น จริงหรือครับ???.....ไม่ดูถูก ทร.ปากี เกินไปหรือครับ!!!
////
ผมไม่ได้ถาม ประวัติความเป็นมาการซื้อรดน. ของปากี ว่าปี2004 (11 ปีที่แล้ว ) สนใจจะซื้อจากเยอมัน หรือฝรั่งเศษยังไง (ฝรั่งเศษ ไม่รู้สนใจปีไหน) แต่ที่ผมสงสัย คือที่คุณบอกว่า
//ราคามันถูก คือ เหตุผลสำคัญ....คงไม่ใช่ ประสิทธิภาพ เป็นเหตุผล หลัก //
ต่างหากครับ ว่าคุณรู้ได้อย่างไร??? ว่าเขาไม่สน ประสิทธิภาพ นี่ครับที่อยากรู้???
ยกตัวอย่าง
ขนาดผมซื้อเครื่องจักร ราคาไม่เท่าไร ผมยังต้องเลือก ต้องทดสอบหลายผู้ผลิตเลย ทั้งมือ1 มือ2
เพื่อทดสอบ และเปรียบเทียบคุณภาพ และราคา ผมมีเงินไม่มาก แต่ก็ไม่ได้สนแต่ของถูกอย่างเดียว ต้องเอาของดีที่สุด ที่หาได้ ที่จ่ายได้ จะมาบอกว่า “คงไม่ใช่ ประสิทธิภาพ เป็นเหตุผล หลัก ” อันนี้ แปลกมาก ประสิทธิภาพ ไม่ใช่เป็นเหตุผล หลัก แล้วจะซื้อมาทำไม?? ซื้อมาแล้วใช้ไม่ได้ หรือ ใช้ได้ไม่ดี ถึงถูกแค่ไหนก็ไม่เอา
ประเด็น2
จาก //ดังนั้น ผมก็ขอ ข้อมูลคุณหน่อยว่า ปากีฯ ซึ้อ เรือดำน้ำจีน เพราะ ประสิทธิภาพ ม้นเหนือกว่า เยอรมัน และ ฝรั่งเศส ครับ...
อย่าเอาเปรียบผม ให้หาข้อมูลคนเดียว 5 5 5 5 5
//
คุณนี่ตลกดีครับ ถ้าปากี ซื้อจริง ก็ย่อมเป็นคำตอบของคำถามคุณแล้ว ว่า รดน.จีน มีประสิทธิภาพที่ดีที่สุดสำหรับ ทร.ปากี
เพราะ ถ้าไม่ดี เขาจะซื้อทำไม ?? เขาคงไม่ใช้ ตรรกะคุณหรอกครับ ที่ว่า //ราคามันถูก คือ เหตุผลสำคัญ....คงไม่ใช่ ประสิทธิภาพ เป็นเหตุผล หลัก //
ถูกไหมครับ
และ ผมยังไม่แน่ใจเลยเขาจะซื้อ-ขายกันจริงหรือเปล่า
ผมยังบอกในคห.บนๆ เลยว่า //ก็แค่ข่าวครับ ปากีอาจไม่ซื้อก็ได้ครับ //
เอาใว้เขาซื้อจริงๆ ก่อนค่อยมาคุยก็ไม่สาย...ข้อมูลน่ะมี ส่วนจะดีกว่า ของคนอื่นหรือเปล่า อันนี้ไม่ทราบ
ประเด็น3
ผมแค่ยก คุณภาพของ Erieye เทียบกับ zdk03 ซึ่งเอาเฉพาะประสิทธิภาพ radar อย่างเดียวครับ
ถ้าคุณอ่านรายงาน ของINEGMA หรือ Institute for near East & Gulf Military Analysis ก็จะทราบ ยกมาบางส่วนตามรูป
เรื่องเรดาร์ ในรายงานนั้นก็ไม่ได้มีข้อมูลของเรดาร์นั้นนะครับ เพราะฉะนั้นเอามาอ้างอิงถึงประสิทธิภาพเรดาร์คงไม่ได้ เพราะบอกแค่ว่า มีรายงานว่าเรดาร์ตัวนี้มีระยะทำการไกลกว่าอีรีอาย หรือเรียกแบบบ้านๆก็คือ ว่ากันว่าเรดาร์ตัวนี้ไกลกว่าอีรีอายนั่นแหละ
แต่สำหรับผมเรื่องสมรรถณะ (performance) ของอาวุธจีนอย่างน้อยก็ตามที่อ้างมันไม่น่าห่วง ปกติเรื่องตัวเลขมักสูงกว่าของตะวันตกในคลาสหรือรุ่นเดียวกันอยู่แล้ว นัยว่าเพื่อข่ม ไม่ว่าจะเป็นระยะยิง หรือความเร็ว ฯลฯ ประเด็นที่ผมให้น้ำหนักคือความน่าเชื่อถือ (reliabiliy) กับประสิทธิภาพ (efficiency) อายุการใช้งานซึ่งอาวุธตะวันตกดูมีภาษีกว่า
เรื่องการซื้อาวุธของปากี มันมีเรื่องการเมืองด้วย ต้องเอาจีนเป็นแบ็ค ศัตรูเดียวกัน รวมทั้งเป็นนโยบายการผลิตอาวุธเอง ซึ่งทำกับจีนได้ทั้งรถถังทั้งเครื่องบิน อเมริกาเองก็ถือเป็นพันธมิตรแบบจำใจมาก ทั้งสองฝ่าย เบื้องหน้ามีผลประโยชน์ร่วมกัน แต่เบื้องหลังขัดแข้งขัดขากันเอง
ผมว่าการซื้ออาวุธหรืออะไรอย่างอื่นโดยเอาความถูกเป็นสรณะนั้นไม่ใช่เรื่องแปลกนะ อารมณ์ประมาณก็คนมันจนนี่หว่า เช่นไทยซื้อเรือชั้นเจ้าพระยาเพราประสิทธิภาพดีสุดเหรอ ผมว่าไม่ใช่แล้วแหละ หรืออย่าง type 85 หรือ qw-18 หรือbtr (อันนี้จำได้ว่าทบ.ชี้แจงเองด้วยซ้ำว่าเพราะของชาติอื่นแพง) mi-17 คือพวกก๊อกๆ แก๊กๆ ทั้งหลายเราซื้อเพราะราคาถูกทั้งนั้นแหละ หรือรถบรรทุกอีซุซุอันลื่อลั่นอีก มันเยอะนะผมว่า
ส่วนเรื่องความหลากหลายของอาวุธประเทศอาหรับรวยๆ ผมว่าเขาทำเพื่อกระจายความเสี่ยง เพราะเรื่องงบฯ ในการบำรุงรักษาไม่ใช่เรื่องใหญ่ ส่วนการจัดหาอาวุธจากจีนของปากีผมว่าเป็นเรื่องความพยายามในการพัฒนาอุตสาหกรรมอาวุธของตัวเองเป็นปัจจัยสำคัญด้วย และราคาถูก รวมถึงการเมืองระหว่างประเทศที่นาโต้ช่วงหลังจะรักอินเดียมากกว่าปากี แถมปากีกับสหรัฐก็ยังปัญหาเยอะอีก ปากีจึงต้องหาแบ็กอัพหลักค่ายอื่นซึ่งก็คือจีน
เฮ่อ....อ่านความเห็นคุณ แล้ว เหมือนกับ คุยกับเด็กดื้อ ยังไงไม่รู้ครับ...
อุตส่าห์ ยกเอาข่าวมาให้ ก็ยังจะถามคำถามเดิม ๆ
ความเห็น คืออะไร ?
ความเห็น ก็คือ ความคิดของคน ที่ประมวลผลมาจากข้อมูล...
แล้วคุณจะเอาความจริงจากผม...ผมว่าคุณทำความเข้าใจ ความหมาย ของคำว่า ความเห็น ก่อนดีกว่าไหม....ก็มันเป็นความเห็น ไงล่ะครับ...มันไม่ใช่ ความจริง...
ผมก็อุตส่าห์ เอาข่าวจริง ๆ มาให้อ่าน...ว่า ทำไม ความเห็นของผมถึงออกมาว่า ปากีฯ มองที่ราคาถูก เป็เหตุผลหลัก และประสิทธิภาพเป็นเหตุผลรอง...ก็ตามข่าวที่ว่า ให้หา เรือดำน้ำมือสอง ควบคู่ไปด้วย ไงครับ (ก็ราคามันสูงไงล่ะครับ ต้องหาเรือดำน้ำมือสองไปด้วย....แต่ประเด็น คือ ทร.ปากีฯ มันจะหาจากที่ไหนล่ะครับ เรือดำน้ำมือสองจากประเทศตะวันตกข้างต้น)...และถ้าของมันดีจริง จะไปหา ทำไมครับ เรือดำน้ำมือสอง ?...ใช้ตรรกะ พื้น ๆ คงน่าจะมองออกครับ...
แล้วเรื่องประสิทธิภาพ ก็ตามข่าวผมให้แล้วว่า ตอนแรกจะใช้ เยอรมัน แต่เยอรมันไม่ขาย....(ต่อมา เยอรมัน แนะนำ ปากีฯว่า ให้เช่าจาก ตุรกี ซึ่งร่วมทุนสร้างเรือดำน้ำกันอยู่...(ขี้เกียจหามาให้อ่านครับ...มันมีอยู่))...แล้วต่อมา ก็ขอซื้อจาก ฝรั่งเศส แต่ ฝรั่งเศส ไม่ขายไงล่ะครับ...ข่าวก็เห็นๆ อยู่ เพราะอินเดีย ซื้อไปใช้แล้ว แต่ฝรั่งเศส ก็อยากจะขายให้นั่นแหล่ะ...จึงเป็นความเห็นของผมไงครับ...ว่า เขาต้องการเรือดำน้ำฝั่งตะวันตก...เพราะเขาก็สร้างเรือดำน้ำฝรั่งเศสอยู่...
ตรรกะง่าย ๆ อีกเหมือนกัน ถ้าตอนนั้น ปากีฯ ได้เรือดำน้ำเยอรมัน ได้เรือดำน้ำ ฝรั่งเศส ไปแล้ว...ถามจริง ๆ ปากีฯ ยังจะซื้อเรือดำน้ำจีน เหรอครับ ? ก็มันซื้อไม่ได้ไงล่ะครับ...มันจึงเป็นทางเลือกสุดท้าย ที่ต้องไปซื้อ เรือดำน้ำ จีน ที่เป็นข่าวออกมาตอนนี้ไงล่ะครับ...จึงเป็นความเห็นผม ที่ประมวลมาจากข่าวไงครับ...
คราวนี้ ผมก็เลยบอกว่า งั้นคุณเอาข่าวความจริงมาซิว่า...ประสิทธิภาพเรือดำน้ำจีน มันดีกว่า เยอรมัน และฝรั่งเศส...ปากีฯ เลยตัดสินใจซื้อเลย โดยฉับพล้น แทบจะไม่เห็นต้องไปพิจารณาเรือดำน้ำฝั่งตะวันตกเลย...
แล้ว AWAC ของ จีน นั้น...พอดี ไม่อยากให้ขยายกระทบกระทู้เรือดำน้ำ...คุณยอมรับ ไหมว่า...ตอนแรก จีนจะซื้อ Phalcon Star โดยตรงจาก อิสราเอล และติดตั้งบน IL-76 แต่ถูก สหรัฐ ห้ามไม่ให้ขาย....คุณยอมรับตรงนี้ก่อน ค่อยมาคุยรึกัน...(เพราะ ก็มีคนบอกว่า AWAC จีน คือ ตัวโครน มาจาก Phalcon Star ของอิสราเอล...เพราะ ถ้าผมเอ่ย ตรงนี้...คุณต้องยาว แน่ๆ...ฮ่า ฮ่า่ ฮ่า)
ที่ ปากีฯ จัดหา AWAC จากจีน ก็เพราะ สหรัฐ อนุญาติให้ อิสราเอล ขาย Phalcon Stra ให้อินเดีย...ซึ่ง อินเดีย ก็มีทั้ง Phalcon Star และ Erieye เช่นเดียวกัน...ปากีฯ เอง เลยต้องจัดหา AWAC ที่ให้เท่ากับ อินเดีย...และ การที่ อินเดีย มี Phalcon Star ก็มีผลกระทบต่อ จีน ในภูมิภาคนี้ ด้วยเช่นกัน...จึงเป็นความร่วมมือระหว่าง จีน กับ ปากีฯ ในการนำ AWAC จีน มาประจำการใน ปากีฯ....เพื่อสร้างสมดุลย์กับ อินเดีย...
ซึ่ง ปากีฯ จัดหา Erieye มาเพื่อใช้กับ F-16...ต่อมา เมื่อมีความร่วมมือในการสร้าง JF-17 กับ จีน...AWAC จากจีน จึงตามมา ก็เพื่อใช้กับ JF-17...และอนาคต ปากีฯ ก็จะผสานทั้ง 2 ส่วน เข้าด้วยกัน...คงไม่ใช่ เรื่อง ปากีฯ เลือก AWAC จีน เพราะคุณภาพดีกว่า Erieye...แต่ด้วยคุณสมบัติ มันทำหน้าที่กันคนละบทบาท...ตามที่ผมให้ความเห็นไปนั่นแหล่ะ...และ AWAC จีน ก็คงจะใช้กับ F-16 ไม่ได้ด้วยเช่นกันครับ...แม้แต่ จีน เอง ก็มี Erieye ด้วยไม่ใช่เหรอครับ ? เรดาร์ มันคนละบทบาท กันครับ...จึงเป็นความเห็นผมออกมา...
อินเดีย...ซึ่งมี บ.ขับไล่ ทั้งฝั่งตะวันตก และตะวันออก...จึงมี AWAC ทั้ง Phalcon Star และ Erieye เช่นเดียวกับ ปากีฯ....
แต่ด้วยประสิทธิภาพของ Phalcon Star มันระยะไกล และประสิทธิภาพสูงมาก...ปากีฯ เลยต้องขวนขวาย ที่จะมีเช่นเดียวกัน...และก็คงเป็นไม่ไปได้อีกเช่นกันที่จะจัดหา Phalcon Star จาก อิสราเอล...AWAC จากจีน จึงเป็นคำตอบ อีกนั่นแหล่ะครับ...(ผมว่าจะไม่ยาว เรืองเครื่องบิน ในกระทู้เรือดำน้ำ แล้วนะ...ผมก็ขอจบแค่นี้แหล่ะครับ ขี้เกียจแร่ะ...)
ถ้าเรือดำนำ้จีนมีคุณภาพ เทคโนโลยี ความน่าเชื่อถิอ และราคาที่ถูกน่าสนใจ ตงจะขายได้นานแล้วครับ(เป็นตัวเลือกสุดท้ายตลอด) ตอนนี้เห็นแววลูกค้าก็มี่แต่บังคลาเทศกับไทย เท่านั้น(เราเป็นกลุ่มประเทศระดับเดียวกับบังคลาเทศหรือนี่) ราคาที่เสนอมา36000ล้านบาทไมถูกกว่าเรือตะวันตกเลยครับ ต่อให้บอกว่าราคานี้รวมpackageระบบฝึก ซ่อมบำรุง เรือดำนำ้กู้ภัย...... (คือซื้อทั้งกองเรือนั่นแหละ) รายอื่นก็ต้องเสนอpackageแบบนี้ครับ เพราะเราไม่มีอะไรเลยยังไงก็ต้องซื้อใหม่หมด ปล. ถ้ามั่นใจอาวุธจีนก็กรุณาซื้อZ-9มาทำฮ. VIPแล้วเอาBlackhawkกับAV139ไปใช้ยุทธการเหอะ
เจ้าอื่นมีระบบฝึกต่างๆแต่ก็เพิ่มตังไงครับ แต่จีนรวมหมดถ้าข่าวลือนี้จริง
ถ้า ทร. ยังคงความเป็น Battle Group ในสงครามสมัยใหม่....
การจัดหา เรือดำน้ำ...คงไม่ใช่ แค่ เรือดำน้ำ...
เพราะ มันต้อง สนับสนุนกันได้ทั้งกองเรือ...เรือดำน้ำ ที่จัดหา ก็คงต้องมีความ มั่นใจ ว่าใน อนาคต...จะปฏิบัติการร่วมกับเรืออื่น ๆ กับเขาได้...
และ มาเลเซีย คงจะเริ่มเป็นรูป เป็นร่าง ในเรือ LCS ชุดใหม่ ที่มาจาก ฝรั่งเศส...ที่จะทำการ รบร่วมกับ เรือดำน้ำ ได้อย่างดีขึ้น...ซึ่งเป็น เป้าหมายใหญ่ของเขา...
รูปภาพ ทำขึ้นเอง นะครับ...ในความเข้าใจ ส่วนตัว....
ขอตอบครับ
ข้อ1
ความคิดเห็น ก็คือความคิดเห็น ก็ถูก แต่ความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญอาวุธทั่วโลก รวมทั้งอาวุธจีน อย่างคุณนี่ น่าจะมาจากข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้หน่อยน่ะครับ ถ้าคุณบอกว่า มาจากการคิดเอง เข้าใจเอง ก็จบ ผมก็เข้าใจตรงกัน ไม่เห็นต้องเอาประวัติการ สนใจ รดน.ของปากี มาโยง เลย ... แล้วที่ยกมา ก็ข่าวพื้นๆ ทั่วไป ถ้าเป็นรายงานการศึกษา วิเคราะจากผู้เชี่ยวชาญ หรือข่าววงใน ก็ว่าไปอย่าง โดยเฉพาะการใช้คำว่า 'ถ้า' นี่เหมือเดายังไงไม่รู้
คุณพยายามเอาประวัติการสนใจ รดน.ของปากี มาโยง เพื่อสนับสนุนความเห็น ของคุณ ซึ่งมันก็ไม่มีน้ำหนักเลย คุณก็เล่น forum อาวุธมานาน forum ตปท. ก็คงเล่น ไม่รู้หรือ เวลาเขาถามหา source กัน (จาก คคห. ของคุณ คุณก็แค่ตอบ ว่า ที่ซื้อเพราะถูก โดยไม่สนคุณภาพ) นี่คุณเอามาจากไหน แค่นั้น ถ้าไม่มี ก็ตอบว่า คุณคิดเอง คุณเข้าใจอย่างนั้น ก็จบ.. ผมก็เข้าใจตามนั้น
ข้อ2.
การที่อ้างว่า ปากีซื้อ รดน.ยุโรป ได้ แล้วจะมาซื้อจีนหรือ ?? และ
การที่อ้างว่า ตอนแรก จีนจะซื้อ Phalcon Star โดยตรงจาก อิสราเอล
การอ้างแบบนี้ เพื่อบอกว่าถ้าเกิด อย่างนั้นในอดีต แล้วจะเกิดอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เอ่ออ. ขอโทษครับ ผมนึกถึง พวกที่ตั้งกระทู้ในพันทิพ เลยว่า “เยอรมันชนะสงครามโลกจะเป็นอย่างไร” หรือ “ญี่ปุ่นชนะ สงคราม โลกจะเป็นยังไง”
คุณแอบไปตั้ง กระทู้แบบนั้น หรือเปล่าครับ ถ้าไม่ อย่าใช้คำว่าถ้า ในสิ่งที่ไม่เกิดขึ้นมาคุย เพราะถ้าทำแบบนั้น มันจะคุยไม่รู้เรื่อง เหมือนคุยกับเด็กครับ..
กลับมาที่ Phalcon Star คุณจะบอกว่า KJ2000 ก๊อป มาจาก Phalcon Star ถูกไหม ถ้าใช่ ตั้งกระทู้ใหม่ คุยเรื่องนี้ไหมครับ ??? ยอมรับพึ่งรู้จริงๆ
**และรู้ยัง ว่า J10 ไม่ได้ก๊อป lavi ???
ข้อ3.
ตอบ คุณtoeytei
คุณบอกว่า อาวุธจีน มั่วสเปค ขอทราบด้วยครับว่าตัวไหนที่สเปคบอกอย่าง และใช้จริง หรือทดสอบ ได้อีกอย่าง ??
และ ข้อสังเกต AEW&C ทั้ง 2ตัว
1.ระยะตรวจจับ จริง และทดสอบในห้องทดลอง
2.ที่ระยะตรวจจับนั้น ติดตามเป้าtrack capabilityได้หรือเปล่า
3.look angle on each side ที่กี่องศา รวมได้กี่องศา มีจุดบอดไหม
4.เวลาตรวจจับที่มุมกว้างมากๆ มีปัญหา power down หรือเปล่า detection distance ลดลงหรือเปล่า
5.เวลาตรวจับที่มุมกว้างมากๆ มีการแชร์ T / R module หรือเปล่า
6.ทำ ELINT, SIGINT ได้หรือไม่
เป็นต้น ครับ หาศึกษาเปรียบเทียบดูครับ ปากีมีทั้ง 2ตัว และจีนก็ได้ทดสอบเทียบกันแล้ว มีข้อมูลเปิดเผยครับ ลองหาดู
ข้อ4.
ขอบอกอีกครั้ง ทร.จะซื้อ รดน. จากไหน ไม่ซีเรียส แต่ส่วนตัว ไม่ควรซื้อของจีนครับ
ฮ่า ฮ่า ฮ่า...อ่านแล้วก็ขำจริง ๆ ครับ...แต่ผมก็ขี้เกียจตอบแล้วครับ...งานผมก็เยอะจริง ๆ นี่อยู่บ้านก็ยังต้องนำทำงานอยู่ (ปิดบัญชี)
ที่ว่า ผมยกข้อความเพื่อให้เข้าความเห็น่โดยไม่มีอะไรอ้างอิง น่าจะเป็นคุณ มากกว่า น่ะครับ...
สิ่งที่ผมแนบให้ ก็เพื่อ เผื่อท่านจะหาข้อมูลมาแย้งผม...และข้อมูล ก็คือ เนื้อของข่าว ไม่ใช่ความเห็นของคนใด คนหนึ่ง...ซึ่งการอ่านทำความเข้าใจนั้น...ถ้าอ่านในหลาย ๆ ข้อข่าว แล้วเนื้อความมันเหมือนกัน ใกล้เคียง เราก็สามารถใช้ วิจารณาณ พิจารณา แล้วออกความเห็นได้ครับ...คงไม่ต้องไปหา เอกสารความลับทางราชการ อะไรมาให้วุ่นวายหรอกครับ...ก็เพราะมันพอจะเห็นภาพอะไรได้บ้างแล้วล่ะครับ
ข้อมูล ที่ผมให้ ก็คือ ปากีฯ ขอซื้อ เรือดำน้ำเยอรมัน ครับ...
ไม่ได้แค่ สนใจ ครับ...ขอซื้อ...ขอซื้อ...แต่ท่าน ก็บอกว่า ปากีฯ สนใจ (ก็เพราะในประโยคของเนื้อข่าว มันเขียนว่า Interest ช่ายม๊ายยร่าาาาาา) แล้วมาโยง...
ผมก็เลยใช้เวลาประมาณ 3 นาที หามาให้....เพราะท่านไม่หาข้อมูลมาแย้ง...เพื่อจะยืนยันว่า ข้อความข่าวที่ผมลง มันก็มี มูล มาจากอดีต ที่พอเราอ่าน ในหลาย ๆ เว๊ป มันก็เป็นข้อมูลแบบเดียวกัน ครับ....มันก็ใช้ พิจารณา ได้ ครับ...
และขอบอกว่า ผมไม่เคยบอกว่า ผมเป็นผู้เชียวชาญอะไร ใด ๆ ทั้งสิ้น ครับ...ทุกครั้ง ผมจะบอกเสมอว่า เป็นความเห็นส่วนตัว...ในบางครั้งก็จะบอกว่า ไม่อ้างอิงใด ๆ ทั้งสิ้น...ใช้ เหตุ ผล ก็เพียงพอ...เรื่องเทคนิคอะไร ผมไม่มีความรู้หรอกครับ..แค่ใช้ วิจารณาณว่า ผล มันมาจาก เหตุ อะไร...แล้วก็ใช้ วิเคราะห์ พูดคุย กัน สนุกสนาน ครับ...แต่ บางครั้ง เมื่อ บางอย่าง ที่มันไม่ใช่ในความเห็นผม ผมก็วิจารณ์ ก็เป็นเรื่องปกติ แหล่ะครับ...
แล้ว อย่าลืมไปหาข้อมูล น่ะครับ...ว่า...จีน ขอซื้อ Phalcon Star จาก อิสราเอล หรือเปล่า ?
อ้างอิง ลิงค์ http://www.defenseindustrydaily.com/Report-German-Submarine-Deal-With-Pakistan-on-Hold-05432/
Dubai’s Khaleej Times relays a Der Spiegel report that Germany has approved a sale to Pakistan of 3 top-of-the-line Type 214 diesel-electric submarines with Air-Independent Propulsion. An export financing credit of EUR 1 billion euros ($1.36 billion equivalent) has reportedly been offered.
The catch? No contract. Contract negotiations were dragging out, and any contract is ultimately dependent on approval from Germany’s national security council, an inner cabinet of ministers with security portfolios. Pakistan’s insurgency has become a civil war, and recent Taliban advances are causing international observers to worry about the Pakistani government’s potential for collapse , or for a Taliban-backed coup led by the likes of Hamid Gul . In Germany, those developments reportedly led Germany’s national security council to take time away from serious matters like government efforts to ban paintball , and adjourn further deliberation on the Pakistani submarine sale until after September 2009.
If Pakistan buys the U-214s, they would join 3 new French Agosta 90B class diesel-electric boats equipped with MESMA AIP systems, and 2 Agosta 70 submarines commissioned in 1979-1980. The U-214s sit alongside the U-212As as the most modern submarines in the U-209 family, the world’s most popular line of diesel-electric submarines. Their Siemens AIP systems allow them to run submerged at reduced speeds for up to 2-3 weeks without surfacing for air, or at full speed for a shorter period of time.
ตามลิงค์ ครับ...ขอซื้อ และขอสินเชื่อ ด้วยครับ...แต่ไม่ได้รับการตอบรับจาก สภาเยอรมัน...คราวนี้ ผมคงไม่ได้โยงมาสู่ความเห็นผมแล้วนะครับ...
แล้วเอาอีกอันครับ
ลิงค์ครับ http://www.nti.org/analysis/articles/pakistan-submarine-capabilities/
ก็มีจะมี ข้อมูลอ้างอิงข้างล่างนะครับ...แผนฯ ของ ทร.ปากีฯ ต้องการเรือดำน้ำ จาก ฝรั่งเศส จำนวน 6 ลำ พร้อมระบบ AIP
July 29, 2013
Hangor (Daphne) Submarine
The Pakistan Navy operates a fleet of five diesel-electric submarinesand three MG110 miniature submarines (SSI). [1] Although these vessels are currently based at Karachi, it is possible that in the future some may also be based at Port Ormara. [2] The nucleus of the fleet is comprised of two Agosta-70 boats and three modern Agosta-90B submarines, all of French design. Pakistan's third Agosta-90B, the S 139 Hamza, was constructed indigenously and features the DCNS MESMA (Module d'EnergieSous-Marin Autonome) air-independent propulsion (AIP) system. Pakistan began retrofitting the two earlier Agosta-90B vessels with the MESMA AIP propulsion system when they underwent overhaul in 2011. [3]
Submarine Tables for Pakistan
|
|
The Agosta-90B Hamza (Khalid-class) was constructed at the Karachi Shipyard and Engineering Works (KSEW). [4] Pakistani officials and media outlets extolled the accomplishment, treating the indigenous submarine's 26 September 2008 commissioning as a significant step in the enhancement of the country's naval capabilities vis-à-vis India. [5] It is the first conventional submarine in the Indian Ocean to feature the AIP system (in this case a 200KW liquid oxygen MESMA AIP), which allows the vessel to increase its submerged endurance for up to 3 weeks and improves its stealth characteristics. [6]
During the 1971 war between India and Pakistan, India effectively blockaded the port of Karachi, Pakistan's only major harbor. In response, Islamabad was able to curtail India's naval supremacy only through the use of its submarine force, which sank one Indian frigate. [7] Drawing on these experiences and the perceived threat posed by a larger Indian Navy, Pakistan has been continuously investing in its submarine force, within the constraints posed by its economy.
An effective sea-denial capability is vital to Pakistan. Given that over 96 percent of this trade is seaborne, the Pakistan Navy and its submarine fleet is charged with protecting the country's sea lanes of communication (SLOC). [8]
Developments in India's naval infrastructure and force posture significantly inform Pakistan's own naval planning. In February 2001, the Pakistan Navy publicly considered the deployment of nuclear weapons aboard its submarines, arguing that it had to keep pace with developments in India. [9] Islamabad later rescinded its statement in January 2003, reaffirming Pakistan's commitment to a "minimum credible deterrence." [10] In the wake of India's short-range Agni-I test that month, then Chief of Naval Staff Admiral Shahid Karimullah left the option open, saying that the country had no plans to deploy nuclear weapons on its submarines, and that it would do so only if "forced to." [11] But most experts agree that Pakistan is, at the very least, attempting to develop a sea-based version of the indigenously built nuclear capable ground-launched 'Babur' cruise missile. [12] This missile is similar in design to the American Tomahawk and Russian KH-55 cruise missiles. [13]
Khalid (Agosta 90B) Submarine
Pakistan has explored options to purchase additional advanced diesel-electric submarines in an attempt to address the country's "critical force imbalance" with India, which plans to begin acquiring six French AIP-equipped Scorpène submarines at a rate of one per year in 2014. [14] Discussions between the Pakistan Navy and Germany's ThyssenKrupp Marine Systems (TKMS) began in 2004 concerning the possible purchase of three diesel-electric Type 214 submarines equipped with an AIP system based on fuel cell technology. Although the deal appeared close to completion in 2008, it stalled over financing concerns and German political opposition to fueling an arms race in South Asia. [15] Parallel to the negotiations with TKMS, France also attempted to sell its Marlin or Scorpène-class submarines to Pakistan, and revived discussions after Pakistan failed to finalize the contract with Germany. [16] In May 2011, the Pakistani cabinet approved the start of negotiations with China over the purchase of diesel-electric submarines equipped with AIP. [17]
Sources:
[1] "Submarine Force," Pakistan Navy, www.paknavy.gov.pk; "Chapter Seven: Central and South Asia Caribbean and Latin America," The Military Balance 2009, International Institute of Strategic Studies, Routledge, 2009.
[2] Interview with Vice Adm. Clees van Duyvendijk, Commander in Chief RNN, "Navy Chiefs of Staff on MCM and minelaying," Naval Forces, 2001, Vol. 22, No. 3, pp. 62-68; in ProQuest Information and Learning Company, http://proquest.umi.com.
[3] "Agosta: Pakistan's Tailor-Made Transfer of Technology," DCNS, October 2010, http://en.dcnsgroup.com; Tim Fish, "DCNS to Provide AIP for Second Pakistani Sub," Jane's Defence Weekly, 5 May 2010, www.lexisnexis.com.
[4] The Royal Institute of Naval Architects, Karachi Shipyard and Engineering Works, www.rina.org.uk.
[5] "Pakistan navy inducts new submarine," Associated Press of Pakistan, 27 September 2008; in Lexis-Nexis Academic Universe, http://web.lexis-nexis.com; "India submarine 'threatens peace,'"BBC News, 28 July 2009, http://news.bbc.co.uk; "Pakistan on verge of selecting HDW submarine," Jane's Defence Weekly, 2 December 2008, www.janes.com.
[6] Feroz Hassan Khan, Pakistan's Perspective on the Global Elimination of Nuclear Weapons, Report prepared for the Henry L. Stimson Center, April 2009; "Agosta Class," Jane's Underwater Warfare Systems, 25 September 2009; "MESMA," Direction des Constructions Navales Services, September 2008, www.dcnsgroup.com.
[7] "Bangladeshi War of Independence: Indo-Pakistani War of 1971," GlobalSecurity.Org.
[8] Malik Qasim Mustafa, "Martitime Security: The Role of Pakistan Navy," The Institute of Strategic Studies Islamabad, Vol. 25, No. 4, Winter 2005, www.issi.org.pk.
[9] "Pakistan may install nuclear missiles on its subs," Los Angeles Times, 23 February 2001, www.latimes.com.
[10] "Pakistan to retain minimum nuclear deterrence, PM says," The News, 7 January 2003, in Lexis-Nexis, http://web.lexis-nexis.com.
[11] Catherine Philp, "India stokes the fires with new missile test," The Times, 10 January 2003, www.timesonline.co.uk; "Pakistan navy chief denies plan to equip submarines with nuclear warheads," The News, 26 January 2003; in Lexis-Nexis, http://web.lexis-nexis.com.
[12] Feroz Hassan Khan, Pakistan's Perspective on the Global Elimination of Nuclear Weapons, Report prepared for the Henry L. Stimson Center, April 2009.
[13] Ottfried Nassauer, "Deutsche U-Boote fuer Pakistan: Fakten und Gedanken zu einem problematischen Exportvorhaben," Berliner Zentrum fuer Transatlantische Sicherheit, Research Note 8.1 (December 2008).
[14] "China, Pakistan: Pakistan Looks to China to Reduce Submarine Shortage," Tendersinfo News, 9 March 2011, www.lexisnexis.com; Andrew Pereira, "First Scorpene Submarine to be delivered in 2014," The Times of India, 14 April 2013, articles.timesofindia.indiatimes.com.
[15] "Pak to Buy Three Submarines from Germany," Asian News International, 3 December 2008, www.lexisnexis.com; "Germany Negotiating Sale of Submarines with Pakistan," BBC Monitoring Europe – Political, 13 July 2009, www.lexisnexis.com; "France, Germany Vie to Sell Submarines to Pakistan," South Asian Media Network, 23 July 2009, www.lexisnexis.com.
[16] "DCNS Can Sell to Pakistan, but not ATE," Intelligence Online, 8 April 2010, www.lexisnexis.com; J.A.C. Lewis, "DCNS Promotes Scorpene for Pakistan Buy," Jane's Defence Weekly, 13 June 2007, www.lexisnexis.com.
[17] Farhan Bokhari, "Pakistan to Start Formal Talks with China to Buy Subs," Jane's Defence Weekly, 23 March 2011, www.lexisnexis.com; "Pakistan Cabinet Approves Holding of Talks to Procure Six Chinese Submarines," BBC Monitoring South Asia – Political, 14 March 2011, www.lexisnexis.com; "India Got a N-Submarine from Russia, Pakistan to Get Its from China,"Pakistan Today, 22 April 2012, www.lexisnexis.com.
และผมเห็นด้วยครับ ที่ว่า อย่าไปซื้อเลยครับ อาวุธจีน....แต่ถ้าไม่มีเงิน บางอย่างจะซื้อ ก็ซื้อ เถอะครับ...พวกที่ไม่ต้องใช้เทคโนโลยี่อะไรมาก...อายุใช้งานสั้น...ที่ไม่ต้องเสี่ยงกับชีวิต กำลังพล...เพราะของเขา ราคาถูก ก็ซื้อมา กล้อมแกล้ม ไปก่อน....
อ่อ...ผมขอ ทิ้งท้าย การวิเคราะห์ไว้อีกสักประโยค นะครับ...
สำหรับ กองทัพปากีสถาน....ไม่รู้ข้อความจะอยู่ถึงปี 2020 หรือ 2025 หรือเปล่า ?
ว่าในช่วงระยะเวลาดังกล่าว...ปากีสถาน จะได้รับบทเรียนจาก อาวุธที่ผลิตจากจีน ครับ...(ขอย้ำว่า ที่ผลิตส่งมาจากประเทศจีน นะครับ)
แล้ว ท่าทีของปากีสถาน ในการจัดหาอาวุธจาก จีน จะเปลี่ยนรูปแบบไป เหมือนกับ พม่า ครับ....
เพียงแต่ พม่า เรียนรู้ได้เร็วกว่า เท่านั้น...
ผมบอกตรงไหนว่าอาวุธจีนมั่วสเป็ค??
ที่ผมพูดเรื่อง reliability ผมหมายถึง reliability ของตัวอาวุธ ไม่ใช่ ของข้อมูลสเป็คอาวุธ
อ่านมาของหลายๆ ท่านทำให้ได้ข้อมูลในมุมกว้างมาเยอะเลยทีเดียว
แต่เสริมนิดนึงผมยังอยากเห็นกระทู้นี่ถกกันกันด้วยข้อมูล ไม่ใช่โจมตีที่ตัวบุคคลนะครับ --''
ขอถามครับ ถ้าเอางบที่คาดว่าจะได้เป็นตัวตั้งที่ 36000 ล้านบาท สิ่งที่อยากได้คือเรือดำน้ำ 3 ลำ รวมระบบสนับสนุนทั้งหมด ผมคิดว่า ถ้าเลือกคงมีแค่ 3 ประเทศ
1. สวีเดน แต่ A26 มีปัญหายังไม่เคยสร้าง และรอนาน ราคาพอสมควร ผมจึงคิดว่าสวีเดนหากเปลลี่ยนเป็น A19 mod น่าจะดีกว่า ราคาน่าจะถูกลง ได้เรือเร็วขึ้น ได้จำนวนอาจถึง 3 ลำ อนาคตสามารถซื้อเรือ A19 มือสองได้
2. เกาหลี ตระกูล u209 mod ผมว่าหากเสนอ เรือใหม่ 2 เรือเก่า อีก 1-2 ลำ ก็น่าสนใจ
3. จีน ด้วยราคาก็น่าจะได้ถึง 3 ลำ แต่มีปัญหาเรื่องความน่าเชื่อถือ ซึ่งตรงนี้เป็นจุดอ่อนมาตลอด ถ้าจีนสามารถรับประกันเรื่องซ่อมบำรุง และความปลอดภัยได้ แถมถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยก็น่าสนใจ
ผมว่า a26 เข้าท่ามาก เพราะรัฐบาลสวีเดนเพิ่งสั่งเดินหน้าโครงการต่อไปสองลำ ดังนั้นเท่ากับการันตีว่าถ้าเราสั่งไปคงไม่มีปัญหาแน่เพราะรัฐบาลสวีเดนคงไม่ยอมซื้อของพังๆ หรอก ถ้ามีปัญหาก็คงต้องแก้ให้เรียบร้อยจนได้
ส่วนลำอื่นๆ ที่มาเสนออย่างที่เคยบอกไปแล้วว่าก็ยังไม่เคยต่อเป็นส่วนมาก ดังนั้นก็ต้องมาดูกันว่าอู่นั้นๆ ประวัติที่ผ่านมาเป็นไงแล้ววัดจากความเชื่อมั่นไว้ใจเอา
สรุปคือ... การแสดงออกของเพจ เรือดำน้ำ และการโดนสั่งงดลงข้อมูลชั่วคราว
เพราะมาจากเรื่องลงข่าว เรือ ส.จีนไฟไหม้ แล้วคนตายไป70คน โดยเป็นวันครบรอบพอดี
แต่กระนั้นทางเพจ ก็ลงข่าว ของชาติอื่นเช่นกัน แต่พอมาเป็นจีนแล้วเกิดเป็นเรื่อง?
ยังงั้นแปลความได้ว่า เรือ ส.ของจีน น่าจะมาในอณาคตอันไกล้ ทั้งด้วยความเต็มใจหรือไม่ของทาง ทร. ก็ตาม?
(ก็คือเรือ ส.ของจีน มาแน่ๆถ้าดูจากปัญหาที่เกิดขึ้น? )
งานเยอะ ยังอุตส่ามาตอบ เกรงใจจริงๆ เลยครับ และต้องขอบคุณ
ข้อ1
ข่าวที่คุณลง ไม่ได้มีตรงไหน ที่เป็น source ของคำกล่าวอ้าง ที่ว่า //ราคามันถูก คือ เหตุผลสำคัญ....คงไม่ใช่ ประสิทธิภาพ เป็นเหตุผล หลัก //
ผมหาไม่เจอ จริงๆ แต่ในเมื่อคุณยืนยัน ผมก็ไม่ว่าอะไรแล้ว ตามนั้นล่ะกัน
ข้อ2
Phalcon Star จีนสนใจ ก็เป็นข่าว wiki ก็มี ไม่เห็นแปลกอะไร สมัยนั้น จีนก็สนใจเยอะแยะ ก่อนเทียนอันเหมิน ยังมีโครงการพัฒนาอาวุธร่วมกับ ตะวันตก หลายโครงการ มันไม่ได้เป็นประเด็นอะไร
***แต่ที่เป็น ประเด็น คุณบอกว่า KJ2000 ก๊อป Phalcon Star มานี่ซิ (ตามคุณบอก) อันนี้ พึ่งทราบจริงๆ..........
ข้อ3
จาก //อ่อ...ผมขอ ทิ้งท้าย การวิเคราะห์ไว้อีกสักประโยค นะครับ...
สำหรับ กองทัพปากีสถาน....ไม่รู้ข้อความจะอยู่ถึงปี 2020 หรือ 2025 หรือเปล่า ?
ว่าในช่วงระยะเวลาดังกล่าว...ปากีสถาน จะได้รับบทเรียนจาก อาวุธที่ผลิตจากจีน ครับ...(ขอย้ำว่า ที่ผลิตส่งมาจากประเทศจีน นะครับ)
แล้ว ท่าทีของปากีสถาน ในการจัดหาอาวุธจาก จีน จะเปลี่ยนรูปแบบไป เหมือนกับ พม่า ครับ....
เพียงแต่ พม่า เรียนรู้ได้เร็วกว่า เท่านั้น...//
วิเคราะได้ครับ แต่ไม่ค่อยมีน้ำหนักครับ
เป็นการวิเคราะที่ดูแคลน อคติ และล้าหลังครับ (อันนี้เป็น คคห. ส่วนตัวจริงๆ) ลองดู F-22P (2006) หรือ ZDK03 ของปากี หรือ F21 - Mahar Bandoola /F23 - Mahar Thiha Thura(2012)
ขนาดพม่าเรียนรู้เร็ว!
บทความ
PS-890 radar กับ ZDK03 ถ้าอ่านได้ลองอ่านครับ
http://war.163.com/13/0613/10/918ARHNT00014J0G.html
ฝากข่าว HQ9 ที่ชนะการประมูล/การทดสอบ ของตุรกี ว่ายังดำเนินต่อ ถึงจะมีแรงกดดันมากก็ตาม
http://www.turkishweekly.net/news/182348/controversies-surrounding-china-s-missile-system-procurement-bid-in-turkey.html
เหมือนประเด็นจะเปลี่ยนไปแล้วผมช่วยเสี้ยม เอ๊ยช่วยเพิ่มข่าวแล้วกันนะครับ ไม่รู้เหมือนกันว่าจะมีข่าวแบบนี้กับบ้านเราไหมรอดูกันต่อไป
http://sputniknews.com/asia/20150420/1021111109.html
Chinese President Is Due in Pakistan, Ready to Invest $46 Bln
China's president is set to arrive in Pakistan on Monday for a two-day visit to launch a $46 billion project to build a China-Pakistan economic corridor, linking the two countries.
Chinese President Xi Jinping is set to hold two days of talks in Pakistan, meeting with Pakistan's President Mamnoon Hussain, Prime Minister Nawaz Sharif and other ministers. The Chinese leader is also expected to address the country's parliament on Tuesday.
The main purpose of the high-profile visit is to launch a $46 billion investment project: the construction of the so-called China-Pakistan Economic Corridor (CPEC).
This planned network of roads, railways and energy projects is expected to stretch 3,000km, linking Pakistan's deepwater port city of Gwadar on the Arabian Sea with China's far-western Xinjiang region. It would shorten the route for China's energy imports, bypassing the Strait of Malacca between Malaysia and Indonesia, a bottleneck which risks being blockaded during wartime.
China has promised to invest about $34 billion into energy projects and nearly $12 billion into infrastructure.
Deals worth some $28bn are ready to be signed during the visit, with the rest to follow. The sum is expected to significantly outweigh American investment in Pakistan.
Some $15.5 bln worth of coal, wind, solar and hydro energy projects will come online by 2017, adding 10,400 megawatts of energy to Pakistan's national grid, according to officials.
A $44 mln optical fiber cable between the two countries is also due to be built.
If the submarine deal is signed, China may also offer Pakistan concessions on building a refueling and mechanical station in Gwadar, a defense analyst said.
China's own submarines could use the station to extend their range in the Indian Ocean.
ก๋็ตามที่เคยให้ความเห็นไว้ครับ...ท่าน superboy...
ว่า ถ้า ไทย จัดหาอาวุธหลัก จากประเทศจีน มา...
ก็ให้ระวัง การถูกควบคุมจากประเทศจีน...เพราะถ้า การลงทุน ท่ี่เขาลงทุนไว้ในประเทศ...
เกิดความเสี่ยง เมื่อไหร่...เชื่อเถอะว่า...พวกเขาพร้อมจะมาใช้อาวุธ ที่เขาขายให้ โดยไม่ต้องไปแบกเอามาจากประเทศเขาเลย...
ฮ่า ฮ่า ฮ่า...ว่าแล้ว ว่าท่าน hongse_c อ่านแล้ว ตีความ ไม่เป็น...
เรือฟริเกตของ ปากีฯ ที่ท่านยกมานั้น...ผมก็บอกแล้วว่า ให้รอดูปี 2020 หรือ 2025...
แล้วท่าน ค่อยกลับมาคุยกันผมใหม่ครับ...
ว่า ปากีฯ ยังจะซื้ออาวุธ ที่มาจากประเทศจีน อีกไหม...
ตอนนี้ มันยังใหม่...เหมือน ทร.ไทย ที่ยังได้เรือฟริเกตชั้น เจียงหู ใหม่ ๆ แหล่ะครับ...
เรื่องอย่างนี้ มันต้องใช้เวลาเป็นเครื่องพิสูจน์ ครับ...
ก็ลองดูพม่า แหล่ะครับ...ซื้อเรือตรวจการณ์ ได้ชุดเดียว ก็เลิกแล้วครับ...สร้างเองดีกว่า...
ส่วนที่เพิ่งซื้อมานั้น ก็เป็น มือสอง ที่ จีน ใช้ประจำการเอง...ไม่ใช่ สร้างเพื่อขาย...
ก็ตามทัศนคติ แหล่ะครับ...จีน ขายอาวุธ 2 มาตรฐาน...เป็นที่ทราบ ๆ กันอยู่แหล่ะครับ...
ว่า หาข่าวเจอ รึยังครับ ? ว่า จีน ขอซื้อ Phalcon Star จากอิสราเอล ?
อาวุธจีนผมว่าเหมาะนำมาใช้เวลาเกิดสงคราม แต่ไม่เหมาะเอามาเก็บไว้เพราะอายุการใช้งานสั้นกว่าของตะวันตกเยอะ
ตามความเข้าใจของผมนะคือประเด็นคือคุณ juldas บอกว่า "ราคามันถูก คือ เหตุผลสำคัญ....คงไม่ใช่ ประสิทธิภาพ เป็นเหตุผล หลัก" ซึ่งคุณ hongse_c ก็บอกว่าไปเอามาจากไหนว่าจีนซื้อด้วยเหตุผลตามโควตนั้น (ไม่ใช่เพราะดี) ช่วยไปเอาข่าวมาหน่อยซิที่ระบุไว้ว่า "ราคามันถูก คือเหตุผลสำคัญ...คงไม่ใช่ประสิทธิภาพเป็นเหตุผลหลัก"
คุณจูลดาสก็เลยบอกว่าก็ไม่ได้มีใครออกข่าวว่าอย่างนั้น แต่ที่ผ่านมามีข่าวดังนี้คือ
1. ปากีจะซื้อเรือดำน้ำเยอรมันมือสอง เยอรมันไม่ขาย
2. ปากีจะซื้อเรือดำน้ำฝรั่งเศส ฝรั่งเศสไม่ขาย
3. ปากีจะซื้อเรือดำน้ำจีน
โดยมีการอ้างอิงข่าวทั้งสามข้อนี้ (ไม่ได้อ้างอิงว่าซื้อของจีนเพราะถูก)
คุณจูบดาสจึงสรุปจากการวิเคราะห์ของตัวเองได้ว่า ปากีอยากซื้อของเยอรมันกับฝรั่งเศสมากกว่าซื้อของจีน เพราะถ้าอยากซื้อของจีนเพราะประสิทธิภาพดีจริงก็จะไปเหนื่อยเจรจาอีกสองประเทศให้ลำบากทำไม ก็ซื้อของจีนไปแต่แรกก็จบ
(อันนี้ส่วนตัวผมก็เห็นด้วยว่าปากีน่าจะอยากได้ของอีกสองชาติมากกว่า)
เมื่อสรุปได้ดังนี้แล้ว ก็มองไม่ออกว่าของจีนมันดีกว่าของอีกสองชาติตรงไหนนอกจากราคาถูก ก็เลยสรุปได้ว่า "ราคามันถูก คือเหตุผลสำคัญ ไม่ใช่ประสิทธิภาพ"
คุณ โอพล็อตเอ็ม จะให้ซื้ออาวุธตอนจะรบมันเสี่ยงไปละครับ เพราะเราก็ต้องมีการฝึกฝนกันก่อนถูกไหม และเกิดตอนจะซื้อตอนรบกันแล้วและเกิดซื้อไม่ได้ก็ซวยสิครับ ดังนั้นยามสงบจึงต้องพร้อมรบ
เป็นรูปสภาพเรือหลวงนเรศวร จากวารสารกองทัพเรือ
รูปที่ 1 จะเห็นลูกศรสีเขียวชี้ไปที่รูหลายรูที่พื้น ซึ่งเกิดจากการกัดกร่อนเสื่อมสภาพ บริเวณดังกล่าวเป็นพื้นภายในตัวเรือส่วนที่ไม่โดนนํ้าทะเล
รูปที่ 2 ตรงส่วนน่าจะเป็นส่วนภายในเรือที่มีการเชื่อมเปะหลายรอบจนรอยเชื่อมดูหยาบๆ หรือ คงเป็นส่วนที่อยู่ภายในที่ซ่อมบำรุงลำบากทำให้สภาพเป็นแบบนี้
อ่านดูยังไม่มีประเด็นอะไรน่าสนใจ ใว้มีอะไรน่าสนใจ ค่อยคุยกันใหม่ครับ