A model of China's P18 export corvette, a number of which Beijing has reportedly sold to Argentina. Somewhat controversially, the vessels in Argentine service will be known as the Malvinas class. Source: R D Fisher
Argentine president Cristina Fernández de Kirchner is expected to sign agreements with China to increase military co-operation, including construction of new warships for the Argentine Navy, during a visit to Beijing on 3-5 February, according to media reports.
The expanded level of Argentine-Chinese military co-operation, which has been about a year in preparation, follows the signing of a memorandum of understanding (MoU) on 29 October 2014 by an Argentine-Chinese Joint Committee on Co-operation in the Field of Defence Technology and Industry. The actual joint development programmes were finalised during a visit by a Chinese defence trade delegation to Buenos Aires in late January.
Argentine reports indicate the agreement to be signed in Beijing could cover co-production in Argentina of the Norinco VN1 wheeled armoured personnel carrier (APC) and co-operation in building a new ice-breaker, naval tugboats, mobile hospitals, and new warships for the Argentine Navy.
In late 2014 the Argentine government reportedly accepted a Chinese offer to meet its long-standing requirement for a new class of offshore patrol vessel. Over the last decade Argentina has considered purchasing designs from Brazil, Germany, and Spain, but China has reportedly succeeded in selling a more capable warship: a version of the China Shipbuilding Industry Corporation's (CSIC) P18 export corvette.
Somewhat controversially, this vessel will be known as the Malvinas class, after the Argentine name for the Falkland Islands: a UK sovereign territory that Argentine forces invaded in April 1982 before being defeated by a British task force in a conflict that claimed 907 lives.
Two P18N corvettes were sold to Nigeria in 2012 for USD42 million each.
According to Brazilian web magazine Naval Power , an initial Argentine contract may include two ships built in China and three co-produced in Argentina. An Argentine source noted the price for the ships could be USD50 million each.
The P18 corvette displaces 1,800 tonnes, is 95 m long, 12 m wide, and is powered by two German-designed MTU 20V 4000M diesel engines to achieve a speed of 25 kt. It can be armed with a 76 mm main gun, two 30 mm cannons, up to eight anti-ship missiles, two triple torpedo launchers, and can carry one medium-sized helicopter.
Naval Power reported that Argentina has requested a larger flight deck to handle its 10-tonne Sea King helicopters and a towed sonar to increase its anti-submarine capability.
Delivery of the Argentine P18s could start in 2017.
Reports from mid-2014 indicate the Argentine Army evaluated the Norinco VN1 8x8 amphibious APC, considering its 21-tonne infantry fighting vehicle variant along with 105 mm gun- and 120 mm mortar-armed versions. Argentina could acquire up to 110 VN1s, according to Naval Power .
Venezuela's marines took delivery of the region's first VN1s at the end of December 2014.
If concluded, this defence agreement could mark a major step in Argentina's long-standing effort to revive its military capabilities and would constitute a major success for China's 15-year endeavour to expand its military influence and market share in Latin America.
Since the 1982 Falklands War, China has expressed its support for Argentina's continued claims over the islands, which Beijing compares to its claim over Taiwan. However, China's willingness to accept commodity payments to finance initial loans that fund military sales has been key to its military sales success in Argentina.
In 2011 the Fábrica Argentina de Aviones (Argentine Aircraft Factory: FAdeA) reached an agreement to start co-producing China's Changhe Z-11 light helicopter. Then, in June 2013, FAdeA sources told IHS Jane's that talks over co-production of the Chengdu FC-1 lightweight jet fighter had occurred over the previous two years. This option appears to have been lost as Argentina has tried and failed to purchase retired Dassault Mirage F1 fighters from Spain, then refurbished Israeli Aircraft Industry Kfir fighters and, in late 2014, Saab Gripen fighters co-produced in Brazil.
However, the new Argentine-Chinese defence agreement could revive prospects for combat aircraft co-operation. In addition to the FC-1 fighter, China could offer low-cost combat-capable supersonic lead-in trainers like the Guizhou JL-9G/FTC-2000G or the Hongdu L-15.
เรือจีนขายดี.........กองทัพเรืออาร์เจนตินาตกลงจัดซื้อเรือฟริเกตจำนวน 5 ลำจากจีน โดยสองลำแรกต่อที่จีนและอีก 3 ลำ ต่อที่ประเทศอาร์เจนตีน่าภายใต้ข้อตกลงการถ่ายทอดเทคโนโลยี แบบเรือโดยทั่วไปจะเหมือนกับเรือ OPV (P18N) ที่ต่อให้กับกองทัพเรือไนจีเรียเป็นหลัก แต่ติด C-802 จำนวน 8 นัด และมีการขยายดาดฟ้าจอดฮให้ใหญ่ขึ้นเพื่อรองรับ ฮ ขนาดใหญ่ของทรอาเร์เจน .....( ภาพประกอบเป็นเรือ OPV P-18N ที่จีนต่อให้กับไนจีเรีย)
แปลโดย Surin Lertseethong
ในที่สุด ความฝันเป็นจริง สักทีหลังจากมีบทเรืยนอารฺเจนติน่าโดนตัดอะไหล่อาวุธกระจากชาติตะวันที่รวมหัวรุมอาร์เจนติน่าเพื่อชิงเกาะฟอล์กแลนด์จากอาร์เจน ในที่สุดอาร์เจนติน่าเริ่มมีบทเรียนเริ่มซื้ออาวุธจากชาติตรงข้ามตะวันตกอย่างจีนแล้วในอนาคตคงได้เห็นเครื่องบินรบรัสเซียในไม่ช้าและอาวุธคงเพียบพร้อมทั้งการถ่ายทอดเทคโนโลยีกระสุนอะไหล่ไม่อั้น แล้วอาร์เจนติน่าจะเอาคืนอังฤกษเรื่องฟอล์กแลนด์สักวันแน่นอน
ผิดหรือเปล่าครับ เกาะฟอร์คแลนด์ เป็นของอังกฤษอยู๋แล้ว ประชากรในนั้นก็เป็นคนอังกฤษ อาเจนมายึดตอนสงครามฟอร์คแลนด์ แล้วอังกฤษก็ไปยึดคืน แต่ชื่อชั้นเรือนี่ชวนให้มีปัญหาจริงๆ
ไม่ใช่ครับท่าน skysky เกาะฟอล์คเเลนด์เป็นของอาร์เจนติน่ามานานนมเเล้วครับ มีชนพื้นเมืองอาศัยอยู่บนเกาะด้วย ชื่อเดิมคือเกาะมัลวีนัส เเต่ถูกอังกฤษยึดเป็นอาณานิคม ถ้าว่าตามกฏทางทะเลระหว่างประเทศฉบับปัจจุบันก็ควรจะเป็นของอาร์เจนเเหละครับ เเต่สมัยนั้นมีหลายชาติเข้ามาตั้งถิ่นฐานรวมถึงอังกฤษด้วย อังกฤษเลยประกาศเป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของตัวเองซะเลย อาร์เจนจะสู้ก็สู้ไม่ได้ครับเเสนยานุภาพสมัยนั้นสู้อังกฤษไม่ได้ ก็เลยเป็นปมเรื่อยมาจนเกิดสงครามฟอล์คเเลนด์ครับ
จะคุยเรื่องเรือหรือเรื่องเกาะดี ฮา
คือหมู่เกาะนี้ตอนพวกยุโรปค้นพบไม่มีคนอยู่นะครับ แล้วมหาอำนาจเข้าไปยึดตั้งรกรากกัน หมู่เกาะนี้มันไม่ค่อยมีประโยชน์ พวกมหาอำนาจเลยทิ้งๆขว้างๆ หลายครั้งก็แค่อ้างสิทธิ์แต่ไม่ได้มีคนอยู่ หรือมีหน่วยงานรัฐอยู่ในนั้น
ตอนนั้นประเทศอาร์เจนตินายังไม่มีเลยครับ พอประกาศเอกราชจากสเปนก็ (สมัยก่อนก็แปลกๆนะอมเริกาใต้ คือพวกที่เป็นสืบทอดเชื้อสายของยุโรปทั้งนั้นที่ประกาศเอกราชจากยุโรป ไม่ใช่คนพื้นเมืองเพียวๆ อย่างบราซิลนี่ลูกเป็นข้าหลวงประจำประกาศเอกราชจากพ่อที่เป็นกษัตริย์โปรตุเกสนี่ฮาสุด) อ้างสิทธิ์เหนือดินแดนนั้น ซึ่งอังกฤษก็ไม่ได้สละสทธิ์เหมือนกัน ถึงย้ายกันออกไปหมดแล้ว แล้วอาร์เจนตินาก็ไม่ได้เข้าไปยึดจริงจัง พวกมหาอำนาจ ทั้งสเปน อังกฤษ อเมริกา ก็ทำเป็นหมาหวงก้างกลับมายึดคืนแล้วก็ไป วนกันไปมาหลายรอบตลอดประวัติศาสตร์
ถ้าถามผมส่วนตัวผมก็ว่าควรคืนๆไปเหอะ ถ้าการได้มามันไม่ชอบธรรม มันผิดตั้งแต่ไปไล่ล่าอาณานิคมแล้ว ดูทางภูมิศาสตร์ก็ชัดเจนแล้วว่ามันควรจะอยู่รวมกับใคร
อันนี้มันต่างกับกรณีไครเมียที่โซเวียตสะเออะเอาไปให้เองแล้วจะมาเอาคืนอย่างนี้น่าเกลียด โง่เอง ฮา
คุยเรื่องเรือดีกว่า ถ้าอาร์เจนตินาเอาจริงในการเร่งพัฒนา ขยายกำลังรบกองทัพตอเนื่อง งานนี้มีหนาวๆร้อนๆ อย่างน้อยก็อาจสร้างแรงกฏดันให้อังกฤษยอมรอมชอม อาจไม่ต้องถึงขั้นไฝว้กัน เพราะอังกฤษก็ถังแตกตามสูตรประเทศใจใหญ่ โครงการณ์อนาคตเยอะแต่ตังไม่ค่อยจะพอ นอกจากนี้ยังอยู่โคตรไกลจากแผ่นดินแม่ ต่างกับกรณียิบรอลต้าที่อยู่ใกล้ ถึงขนาดเอาเรือรบมาฮึ่มใส่สเปนที่เป็นแกนหลักนาโต้ด้วยกัน ซึ่งก็ไม่ใช่เด็กๆให้ตบ ดีไม่ดีอาจะมีหงายท้องกลับถ้าลงไม้ลงมือกันจริง
รู้กันหรือเปล่า คนอาร์เจนติน่า เค้าพูดภาษาอะไรกัน เชื้อสายเค้ามาจากบริเวณไหนของโลก คนพื้นเมืองจริงๆอะยังมีอยู่เปล่า ผมว่าไม่แปลกอะที่ฟอล์กแลนด์เป็นของอังกฤษ
ผมว่ามันแยกเป็น2กรณีนะครับ ฟอร์คแลน อังกฤษไปครอบครองก่อนมีประเทศอาเจนติน่า แถมคนที่อยู่ก็เป็นคนอังกฤษ ลงประชามติก็บอกว่าจะอยู่กับอังกฤษ มันก็ควรเป็นของอังกฤษนะถูกแลัว เพียงแต่มันอยู่ใกล้อาเจนมากกว่า ส่วนกรณีรัสเซีย มันยกให้ยูเครนตอนยูเครนเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซีย ก็ไม่แปลกนิครับ เหมือนวันดีคืนดี เราบอกว่าเอาลำพูนกับเชียงใหม่ไปร่วมเป็นจังหวัดเดียวกันก็ไม่แปลก แต่บังเอิน รัสเซียมีกองเรือทะเลดำอยู่ที่นั้น พอยูเครนไปโปร ตต เลยขอคืน. จริงๆต้องบอกก่อนว่าสาเหตุคือ ตต ไปเบี้ยวรัสเซียเอง. ตอนวิกฤตการยูเครน ตกลงกันได้ว่าเดี๋ยวเลือกตั้งใหม่ ปธน คนเดิมอยู่ไปก่อน ดันเบี้ยวไปปลด ปธนที่โปรรัสเซีย เลยยาวเลยทีนี้ เพราะไครเมียเป็นพทยุทธศาสตรของรัสเซีย มีกองเรืออยู่ที่นั่น เป็นทางออกทะเลอีก เลยเอาคืนละกันเดียวยูเครนเข้าอียูแล้สจะโดนล้อม คราวนี้พอเอาไครเมียออกไปซึ่งไครเมียมี ปชช เชื้อสายรัสเซียเยอะ เลือกตั้งใหม่ไครเมียไม่มาเลือกด้วยฝั่งงโปรรัสเซียเลยเสียงตก. เลยคราวนี้ขอแยกประเทศรบกันเละ
@คุณpotmon คนอาร์เจนตินาท้องถิ่นมีครับ เชื้อสายคนท้องถิ่นอเมริกาเขาอพยพกันมาเป็นหมื่นปีแล้วครับ ถ้าทฤษฎีล่าสุดที่อยู่ในอเมริกาใต้ก็เลาะชายฝั่งมาจากอเมริกาเหนือกันลงมาครับ หลังจากข้ามแปซิฟิกตอนเหนือกันมา ช่วงอลาสก้ากับรัสเซียจะเห็นว่าใกล้กันมาก ไม่แน่ใจว่ายังถือทฤษฎีที่ว่าช่วงนั้นน้ำลดหรือเปล่า เพราะเหมือนมีหลักฐานว่ามีคนอยู่อาศัยในทวีปอเมริกามาก่อนยุคที่น้ำทะเลลดเปิดเป็นทางให้เดินข้ามได้ หรืออาศัยพายเรือเลาะเกาะแก่งกันมาผมจำไม่ค่อยได้แล้ว
แล้วเขาพูดสเปนกันครับตอนนี้ เป็นภาษาราชการ ไม่มีอะไรเกี่ยวกับอังกฤษเลยครับ หมู่เกาะนี้ก็เคยมีทั้งสเปนกับอังกฤษจับจองพร้อมๆกันมาแล้ว แต่ไม่รู้ว่าอีกคนก็ยึดอีกฝั่ง เกือบตีกันไปที
เอาจริงๆมันมีช่วงหนึ่งที่เว้นว่าง ตอนอา์เจนฯเพิ่งประกาศเอกราชปั๊บก็ทำการเคลมเกาะ ตอนนั้นไม่มีใครอยู่แล้วครับ อังกฤษกลับไปหมดแล้ว
สรุปแล้วนี้มันเป็นกระทู้กรณีพิพาทว่าด้วยเรื่องหมู่เกาะฟอล์กแลนด์หรือเรือรบกันแน่ฟระ
เอาเป็นว่าดีครับที่อาร์เจนติน่าตัดสินใจซื้อเรือรบจากจีนเพราะเราจะเห็นการพิสูจน์ตนเองของจีนว่าเรือรบเพื่อการส่งออกของประเทศนี้มีพัฒนาที่ขึ้นหรือเหมือนเดิมคือว่าด้วยเรื่องคุณภาพของเรือ แต่ดูจากแบบของเรือรบเลยดูรู้สึกคุ้นๆนะ
แล้วในอนาคตเราจะมานั่งคอยฟังข่าว feed back จากอาร์เจนติน่ากันดีกว่าว่าจะมีอะไรดีๆหรือแย่ๆมาออกเป็นข่าวจากทางฝั่งอาร์เจนติน่า
อังกฤษเองก็คงกังวลใจนิดๆ ทางอาร์เจนฯเริ่มมีการปลุกกระแสการทวงสิทธิในตัวเกาะ ไหนทางรัสเซียก็มาเสนอ SU24 อาหารอีก
SU24 เป็นเครื่องบินโจมตีระยะไกล มีอาวุธแบบลูกยาวหลายแบบ ทำให้สามารถปล่อยอาวุธได้ก่อนระยะทำการของระบบป้องกันภัยทางอา กาศของอังกฤษที่ประจำอยู่บนเกาะ ทางด้านเครื่องบินมี บ.ยูโรไฟเตอร์ เฝ้าเกาะอยู่แค่4ลำ ตอนนี้เรือบรรทุกเครื่องบินก็ไม่มี ถึงจะเอาเรือเก่ามาใช้ก็ไม่มีแฮริเออร์เหมือนคราวที่แล้ว จะเอาเรือรบมาขู่ก็เสี่ยงเพราะไม่มีกำลังทางอากาศคุ้มกัน
ผมว่าช่วงนี้ก็เหมาะนะ เพราะรอนานกว่านี้เรือบรรทุกเครื่องบินลำใหม่ของอังกฤษต่อเสร็จแถมมี F35B อีกถึงเวลานั้นมาทวงเกาะคืนคงไม่มีกำลังต่อรองเท่าไร
SU24
ผมว่าเทียบกับปัตตานีาจจะไม่ได้ครับ ปัตตานีเป็นเรือOPV malvinas เป็น เรือ คอเวท ปัตตานีนี่ไม่แน่ใจว่าใช้มาตรฐานเรือพานิชหรือเปล่า เพราะราคาแค่ 2000กว่าล้าน คอเวท ควรจะเป็นเรือรบแท้ๆ มาตรฐานทหาร
ส่วนเรื่องอังกฤษไม่มีเรือบันทุกเครื่องบิน ผมว่าก็เป็นส่วนหนึ่งแต่ไม่ใช่ปัญหา เพราะ หากจำเป็นจริงๆ ก็คงไปเช่ายืม สนามบิน ของ สรอ ที่อยู่แถวนั้น หรือ ไม่ก็เช่าเรือ บรรทุกเลย ได้ อีกอย่าง ถึงไม่เช่า สมัยนี้ เรือ สามารถ โจมตีฝั่ด้วยจรวดได้ sam จากเรือยืงได้ไกล เผลอๆจะไกลกว่าระยะยิงของ จรวดจากเครื่องบินมายิงเรือ อีก
อืม....ถ้าจะเช่าเรือบรรทุกเครื่องบินจะไปเช่าที่ไหนครับ มีแต่เรือเก่าถ้าจะเอาก็ต้องปรับปรุงเป็นปี ถ้าจะเอาที่ลูกพี่ใช้งานอยู่เค้าคงไม่ให้ ไหนจะเครื่องบินอีก กว่าจะฝึกกันจนใช้งานคล่องก็คงร่วมปี ส่วนเรือที่มีsamระยะไกลก็เข้าใจครับ ถ้าเกาะโดนบุกไปแล้วกว่าจะเอาเรือมาก็เสี่ยง มีแต่เรือ.....คราวที่แล้วขนาดมีแฮริเออร์คุ้มกันบนฟ้า ก็มีเรือโดน A4 ทิ้งระเบิดธรรมดาใส่ไปหลายลำ
เช่าลำที่ประจำการสิครับ เหมือนที่ อเมริกา เคยเช่า เรือดำน้ำgotland ของสวีเดน หรือไม่ต้องเช่าก็ได้ ให้อเมริกาoperate ให้เลยยังได้ อย่าลืมว่า ฟอร์คแลน เป็นส่วนหนึ่งของอังกฤษโ อังกฤษอยู่ในนาโต้ อเมริกาก็อยู่ ถ้าอาเจนบุกยึดจริง ก็เท่ากับ บุกดินแดนของสมาชิกนาโต an attack to one is an attack to all
ระบบป้องกันภัยทางอากาศสมัยก่อนมันห่วย(กว่าสมัยนี้)ครับ ลองเอาเรือType45ใช้เรดาร์SAMPSON ระบบ Sea Viper ไปดูสิ แถมสมัยก่อนไม่มีCIWs พอผ่านSea Dart มาได้นี่จบเลย
ผมว่าการจัดหาเรือรบใหม่ของอาร์เจนติน่ามันไม่น่าจะเกี่ยวกับจะทวงเกาะฟอล์กแลนด์คืนจากอังกฤษเลยนะ
น่าจะเป็นการจัดหาเรือรบทดแทนเรือลำเก่าที่ใกล้หมดอายุการใช้งานมากกว่า(ไม่ใช่การเพิ่มกองกำลัง) เพราะช่วงเกิดวิกฤตถังแตกมานานหลายปีทำให้รัฐบาลต้องประกาศให้ปลดประจำการอาวุธหลายประเภทในกองทัพอาร์เจนไตร์ไปเยอะ นั้นก็รวมไปถึงเรือบรรทุกเครื่องบินของตนเองด้วย
นี้ก็ถือว่าเป็นมิติใหม่ของกองทัพอาร์เจนไตร์ที่ซื้ออาวุธจากจีน โดยปกติประเทศนี้เดิมก่อนจะเกิดวิกฤตเศรษฐกิจภายในประเทศ ประเทศนี้ซื้อแต่อาวุธไฮโซจากยุโรปและอเมริกามาใช้งานจนได้รับการยกย่องว่าเป็นประเทศที่มีกองทัพที่แข็งแกร่งที่สุดในทวีปอเมริกาใต้
พูดตามตรงสถานการณ์ของอาร์เจนติน่าตอนนี้แทบจะไม่มีความพร้อมที่รบกับอังกฤษเลยเมื่อเทียบกับเมื่อตอนเกิดสงครามตอนปี 1978
กองกำลังทางอากาศแย่กว่าทอ.ไทยเราเสียอีก
ถึงจะทดแทนแต่อย่างน้อย คือ อาวุธปล่อยนําวิถี c-802a ก็สามารถซื้อจากจีนได้เท่าไหร่ก็ได้ไม่ต้องลังเลถ้ามีสงครามกับอังฤกษแล้วจะโดนล๊อคไม่ส่งมอบอาวุธให้อาร์เจนติน่าแบบเมื่อก่อน จะซื้อเท่าไหร่ก็ได้ ถึงจะทดแทนแต่ก็ทดแทนเรือรบตะวันตกที่มีปัญหาเรื่องกั๊กอาวุธ
อาร์เจนติน่านั้นกองทัพโทรมทั้งสามเหล่าทัพทีเดียว ผมคิดว่าการซื้อเรือรบเพราะคิดว่ามีความอเนกประสงค์มากกว่าการซื้ออาวุธเช่นรถถังหรือเครื่องบินขับไล่ ซึ่งประเทศที่กองทัพโทรมๆ ก็มักจะทำอย่างนี้กัน เช่นประเทศบราซิลเครื่องบินขับไล่อย่างล้าสมัยๆ เลย แต่มีเครื่องบินขนส่ง ลาดตระเวณ เติมน้ำมันเยอะ
ติงนิดนึงเรื่องการเปรียบเทียบรัสเซียกับยูเครนเหมือนลำพูนเชียงใหม่ ต้องเข้าใจก่อนว่ารัสเซียกับยูเครนนั้นเป็นสองรัฐมานาน ซึ่งสมัยรัสเซียขยับขยายสมัยที่กลายเป็นอาณาจักรนั้นก็แปลว่าปกครองเหนือเจ้าครองรัฐต่างๆ ในยุโรปตะวันออกทั้งหลาย พอสมัยปฏิวัติรัสเซียนั้นก็มีการแตกแยกกระจัดกระจายบ้าง แต่สุดท้ายคอมมิวนิสต์ก็กินเรียบและตั้งสหภาพโซเวียตขี้นมา ซึ่งสหภาพกับประเทศนั้นต่างกันเพราะสหภาพนั้นหมายถึงแต่ละรัฐมีความเป็นอิสระ มีรัฐบาล มีกฎหมาย มีสภา มีองคพยพในการบริหารของใครของมัน ส่วนรัฐบาลกลางนั้นมีหน้าที่บริหารในภาพรวมและในเวทีระหว่างประเทศ ยกตัวอย่างตอนโซเวียตล่มนั้นปธน. โซเวียต(สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต) คือ กอบาชอฟ ส่วน ปธน. สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย คือเยลต์ซิน จะเห็นได้ว่ารัสเซียและรัฐอื่นๆ มีความเป็นเอกเทศพอสมควร และมากพอที่จะมีการประกาศเอกราชกันเป็นพัลวัน รวมถึงก่อนหน้านั้นก็ทะเลาะกันบ่อยอยู่แล้ว
ซึ่งก็คล้ายๆ กับสหรัฐฯ แต่ก่อน (แต่ตอนนี้ผ่านมาค่อนข้างนานความรู้สึกเป็นเอกเทศของประชาชนลดลงจนรู้สึกเหมือนประเทศเดียวกัน) หรืออย่างออสเตรเลียที่คล้ายๆ กับสหรัฐฯ ซึ่งตอนนี้ก่อตั้งประเทศออสเตรเลียแต่ละรัฐยังทะเลาะกันเลยว่าใครจะได้เป็นที่ตั้งเมืองหลวง หรืออย่างพม่าที่ประกอบด้วยหลายๆ รัฐฯ แต่ตอนหลังรัฐบาลทหารกินเรียบทำการกำราบรัฐอื่นๆ หมด
ส่วนกรณีโซเวียตนั้นรัสเซียเนื่องจากใหญ่จัดและเป็นศูนย์กลางก็ทำให้มีอิทธิพลสูงมากในสหภาพโซเวียต ซึ่งตอนนั้นคงไม่มีใครคิดมั้งว่าโซเวียตจะแตก จึงมีการยกไครเมียให้ยูเครนเป็น good will และพอโซเวียตแตกก็เลยหลุดลอยจากมือไป
สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต
ส่วนจังหวัดในไทยนั้น ความรู้สึกแตกต่างทางชาติพันธ์ในหลายๆ ส่วนเช่นภาคเหนือแทบสาบสูญไป แล้ว หลักๆ ก็น่าจะมาจากการปฎิรูปการปกครองและละลายรูปแบบเดิมที่เป็นหัวเมืองๆ ประเทศราชมีเจ้ารองนคร ซึ่งประเทศเราก็บวกๆ แยกๆ จังหวัดหลายรอบมาก
อิงจาก http://www.thaifighterclub.org/webboard/3955/C-802-for-Thai-frigates.html
ราคาติดอุปกรณ์ที่จะใช้ยิง c802 พร้อมลูกจรวด $70 mil(ของไทย) ราคาเรือ $50 mil พอๆกับเรือปัตตานีเลย
คาดว่าคงได้เฉพาะตัวเรือนะคิดว่า ส่วนสเปคเรือที่รองรับได้ก็ว่ากันไปตามข่าวนั้นด้านบนกระทู้เลย
เรือประสบการณ์ใช้เรือ ทร น่าจะรู้ดีสุด (ผมก็ว่างั้น)
อันนี้เป็นภาพจากวารสารกรมอู่ทหารเรือเอง http://www.dockyard.navy.mi.th/doced/Homepage/sontetset_files/varasan_dock58/04.pdf
ใครอยากอ่านเพิ่ม เชิญสัมผัสเบาๆได้
แต่ว่าตัวผมไปพบข่าวทีแรกที่ http://thaidefense-news.blogspot.com/2015/01/1-3.html