หน้าแรก    ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบคำถาม    เข้าสู่ระบบ      


Indo Defense 2014

โดยคุณ : juldas เมื่อวันที่ : 12/11/2014 12:34:16

งานแสดงเทคโนโลยี่ การป้องกันประเทศของ อินโดนีเซีย ประจำปี 2014 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 5 - 8 พ.ย. ที่ผ่านมา

มีการแสดงระบบอาวุธหลายแบบ ที่พัฒนาโดย อินโดนีเซีย ทั้งทาง อากาศ น้ำ และ บก

ที่น่าสนใจสำหรับคนนิยม อาวุธทางเรือ ก็คงเป็น เรือเร็วโจมตี แบบ Trimaran ที่ล่าสุด อินโดนีเซีย ก็ยืนยันจะจัดหาเข้าประจำการจำนวน 4 ลำ 

โดยเป็นความร่วมมือระหว่าง Saab และ PT Lundin

 





ความคิดเห็นที่ 1


Saab Launches Stealth Fast Attack Craft In Indonesia For Global Market

Nov 7, 2014

Saab in partnership with Indonesia’s ship building company “PT Lundin” creates a turnkey high-speed multi-role missile ship that can dominate the littorals while still being affordable to procure and operate.

Result of a collaborative joint venture between Saab and its Indonesian partner PT Lundin,Stealth Fast Attack Craft (FAC) is a high-speed multi-role missile ship that combines innovative hull design and construction with Saab’s renowned 9LV Combat Management System and Fire Control System technology.

Ideal for the littorals and “brown water” operations, the ship is 63 meters long with a draft of only 1.2 meters. The low weight due to composite construction makes it cruise leisurely even in rough sea conditions. The stability and the high mounted sensor suite gives this FAC a sensor range comparable to a frigate, making this vessel ideal to detect and counteract smuggling, piracy and terrorist threats. The vessel also comes with an 11m long, high-speed rigid hull inflatable boat (RHIB) that can be used for Special Forces operations.

The Saab combat system solution comprises of  the 9LV CMS & FCS, the brand new Sea Giraffe 1X surveillance radar,  the long range Anti-Ship Missile RBS15 Mk3, the Radar ESM (SME 150), the Ceros 200 fire control director and the Bofors 40Mk4 Naval Gun with full CIWS capability through its 3P Programmable Ammunition.

“The solution is the outcome of a partnership agreement between Indonesia and Saab. The partnership will allow for extensive technology transfer and industrial cooperation. When it comes to stealthy littoral combat ships, Sweden and Saab has more than 25 years of experience in designing, building and operating composite stealth ships. Stealth FAC, the newest Saab offering, possesses combat capabilities similar to the tried and testedVisby Class Corvette that is currently in operation with the Swedish Navy.” says Dan Enstedt, President & CEO, Saab Asia Pacific.

The Stealth FAC is designed to optimize life cycle cost. Support and service will be offered locally throughout its entire lifetime. The Stealth FAC is uniquely affordable to procure and operate.



โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 09/11/2014 08:06:23


ความคิดเห็นที่ 2


โดยในงานนี้ มีการเปิดเผยแบบจำลอง เรือผิวน้ำล่องหนแบบไร้คนขึ้น ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง Saab กับ PT Lundin ที่พัฒนาต่อยอดขึ้นมา ซึ่งใช้เีรียกโครงการนี้ว่า Bonefish

SAAB’s new unmanned ship the Bonefish 

Saab and PT Lundin have revealed their Bonefish unmanned surface vessel (USV) technology demonstrator at Indo Defence 2014.
Formally unveiled by Indonesia’s defence minister Purnomo Yusgiantoro and Chief of Naval Staff Admiral Marsetio in a joint ribbon-cutting ceremony on the first day of the show, the 12m carbon-fibre composite trimaran prototype is set to begin sea trials next month.
Joint development of the Bonefish demonstrator, which can be seen on PT Lundin’s stand (Hall D, 025) began at the start of this year, the concept marrying Saab’s mission systems integration expertise with PT Lundin’s advanced wave-piercing trimaran hullform.
The prototype was built in approximately six months at PT Lundin’s composite boat production facility in Banyuwangi, East Java.
Capable of speeds of up to 40kts, Bonefish is designed to incorporate a wide range of sensors, satellite-based control and a modular payload bay to enable role flexibility.
Potential missions could include anti-piracy, maritime surveillance, anti-submarine warfare, mine countermeasures, search and rescue, and hydrography.
Peter Carlqvist, head of Saab Indonesia (Hall D, Stand 052), said the collaboration between Saab and PT Lundin represented an exciting opportunity for the two companies.
“Saab has identified the need for a USV that is modular and adaptable according to the mission,” he told the Show Daily. “The wave-piercing trimaran platform developed by PT Lundin is unique with regard to its ability to sustain high speed in high sea states. That is very important for a craft that is going to be out at sea for extended periods by itself.”
Dan Enstedt, president and CEO of Saab Asia-Pacific, added: “We are extremely proud and happy that we were able to unveil this demonstrator at Indo Defence and show a tangible example of co-operation between Saab of Sweden and Indonesian industry.”
Tests and trials of the prototype are expected to run through 2015.

 




โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 09/11/2014 08:09:44


ความคิดเห็นที่ 3


ภาพแบบเรือ Trimaran Batch 2 ในอนาคต

 


โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 09/11/2014 08:11:37


ความคิดเห็นที่ 4


นอกจากนี้ ก็มีโครงการ IFX/KFX ที่ อินโดนีเซีย ร่วมทุนกับ เกาหลีใต้ ในการพัฒนา บ.ขับไล่ล่องหน

 




โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 09/11/2014 08:14:05


ความคิดเห็นที่ 5


N-219 ที่ ทร.ไทย สนใจจะจัดหาในจำนวนมาก

 


โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 09/11/2014 08:15:20


ความคิดเห็นที่ 6


และรถสายพาน , รถเกราะล้อยาง ในส่วนของ Pindad

 




โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 09/11/2014 08:16:56


ความคิดเห็นที่ 7


MLRS ขนาด 122 mm. ของ Pindad ซึ่งทดสอบการยิงไป เมื่อประมาณต้นปี 2014

 



โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 09/11/2014 08:38:07


ความคิดเห็นที่ 8


หลังจากรออยู่หลายวันในที่สุดผมก็เจอเหยื่อ ขออนุญาติซื้อเหล้าพ่วงเบียร์เลยนะครับท่านจูดาส

 

1 ในงานนี้อินโดนีเซียยืนยันว่าได้สั่งซื้อเฮลิคอปเตอร์ปราบเรือดำน้ำรุ่น AS565 Panther จาก Airbus โดยอากาศยานปีกหมุนทั้ง11ลำจะถูกส่งชิ้นส่วนจากฝรั่งเศสมาประกอบขั้นสุดท้ายที่ PT Dirgantara อินโดนีเซีย คาดว่าจะมี Long-Range Active Sonar (HELRAS) dipping sonar มาด้วยจำนวนหนึ่งหรือครบทุกลำ (กองทัพเรือไทยสนใจบ้างไหมครับ)

2 บริษัท BEL ของอินเดียเริ่มต้นการติดตั้งโซนาร์ HMS-X บนเรือฟริเกต Aung Zeya พม่าได้สั่งโซนาร์รุ่นนี้จำนวน3ชุดด้วยกันในวงเงิน29ล้านเหรียญกว่าๆ(ตีกว่า10ล้านต่อ1ชุด)เพื่อใส่บนเรือฟริเกต3ลำของเขา(HMS-X น่าจะใกล้เคียงกับซ้ายสุดของภาพประกอบนะครับ) ขณะเดียวกันก็ยังออกข่าวว่ามีชาติในอาเซียนสนใจโซนาร์HMS-X2ของตนเองอีกด้วย พอดีไม่ทราบสเป็กว่าสุงกว่าหรือต่ำกว่าXธรรมดาเลยเดาชาติที่ว่านี้ไม่ได้

3 ปิดท้ายด้วยโมเดลเรือ KDDX Destroyer และเรือฟริเกตลึกลับไม่ปรากฎสัญชาติ เดากันไม่ถูกล่ะสิ เหอๆๆๆ

 

 

 

 

โดยคุณ superboy เมื่อวันที่ 09/11/2014 13:19:03


ความคิดเห็นที่ 9


โซนาร์ของ อินเดีย นอกจาก พม่า แล้ว....ตามข่าว

ถ้าให้ เดา ตอนนี้ มีอยู่ 2 ประเทศ ที่น่าจะ เดา คือ

1. เวียดนาม

2. ฟิลิปปินส์

ซึ่งผมให้น้ำหนักที่ เวียดนาม มากที่สุด ครับ เพราะดูล่าสุด อินเดีย จะให้ความร่วมมือกับ เวียดนาม ในเรื่องการตรวจการณ์ทะเล อย่างใกล้ชิด ส่วน ฟิลิปปินส์ ก็จะเป็นอันดับรองลงไป ซึ่งอาจจะอยู่ในโครงการ เรือฟริเกตลำใหม่ ที่รู้สึกแบบของบริษัท STX จะเป็นแบบที่จะชนะไป โดยเป็นแบบเรือของฝรั่งเศส

October 28, 2014

India to Supply Vietnam with Naval Vessels

India will soon be supplying naval vessels to Vietnam, Prime Minister Narendra Modi said on Tuesday, the first significant military transfer to Hanoi at a time when it is embroiled in a territorial dispute with China.

The announcement came after Modi held talks with his visiting Vietnamese counterpart, Nguyen Tan Dung, during which the two sides agreed to modernize the Vietnamese military as well as raise Indian involvement in Vietnam's energy sector.

Both India and Vietnam have territorial disputes with China - India in the Himalayas and Vietnam in the South China Sea. New Delhi and Hanoi are beefing up defenses even as they ramp up commercial ties with China, the world's second-largest economy.

"Our defense cooperation with Vietnam is among our most important," Modi told reporters, adding it will be expanded.

Top of the agenda is the sale of four offshore patrol vessels that Vietnam wants to improve its defenses in the energy rich-South China Sea where it is locked in competing claims with China.

Talks on the naval craft have gathered pace since last month when India announced a $100 million credit line for defense purchases, an Indian government official earlier told Reuters.

"We will quickly operationalize the $100 million Line of Credit that will enable Vietnam to acquire new naval vessels from India," Modi said.

Vietnam wants the craft for surveillance off its coast and around its military bases in the Spratly island chain in the South China Sea where it is building a credible naval deterrent to China with Kilo-class submarines from Russia.

Claims by an increasingly assertive China over most of the South China have set it directly against U.S. allies Vietnam and the Philippines. Brunei, Taiwan and Malaysia also claim parts of the waters.

Beijing's placement of an oil rig in disputed waters earlier this year infuriated Vietnam but the coastguard vessels it dispatched to the platform were each time chased off by larger Chinese boats.

India and Vietnam called for peaceful resolution of the disputes in the region.

"They agreed that freedom of navigation and overflight in the East Sea/South China Sea should not be impeded and called the parties concerned to exercise restraint, avoid threats or use of force," a joint statement said.

The two sides also signed an agreement under which India's state-run oil exploration arm, ONGC Videsh Ltd, will enhance cooperation with PetroVietnam.

"The agreement underlines Vietnamese invitation to OVL to expand its presence in Vietnam and further consolidate cooperation in exploration and other areas between the two countries in energy sector," the joint statement said.

China has previously criticized India's cooperation with Vietnam in the oil and gas sector, saying its exploration activities off the Vietnam coast are illegal.

On Tuesday, responding to a question on India and Vietnam exploring oil together in the South China Sea, Beijing said it would have no problem so long as it was carried out in waters that were not disputed.

"China has indisputable sovereignty over the Spratly Islands and its adjacent waters. We have no objection to countries who want to carry out legitimate and lawful oil and gas cooperation in waters that we have no dispute over," Foreign Ministry spokesman Hong Lei said.

"But if such cooperation harms China's sovereignty and interests, we will resolutely oppose it."

By Sanjeev Miglani (C) Reuters 2014.

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 09/11/2014 17:28:04


ความคิดเห็นที่ 10


โครงการ IFX/KFX อาจจะเป็นคู่แข่งของ SAAB Gripen NG ของเราก็ได้ 

ถ้าให้ Perfect กว่านี้ มี SAAB เข้าไปร่วมโครงการด้วย จะน่าสนใจขึ้นอีกมาก

โดยคุณ Freedom เมื่อวันที่ 09/11/2014 18:52:43


ความคิดเห็นที่ 11


gripen NG ของเรา???? เราไหนครับ? ไทยไม่ได้เกียวข้องอะไรเลย

นอกจากนี้กริพเพน E/F พัฒนาแทบเสร็จแล้วแหละครับ เป็นแค่การเกลารายละเอียดเท่านั้น ไม่มีการเปลียนคอนเซ็ปท์อะไรได้ ส่วนของเกาหลีกับอินโดนั้นยังลอยอยู่ในอากาศ นอกจากนี้ทั้งสองโครงการยังไม่เกี่ยวกันเลย เครื่องคนละแบบเลยทีเดียว

เรื่องการร่วมมือผลิตเครื่องสเต็ลธ์ของกริพเพนกับเกาหลีกับอินโดฯ นั้น ผมว่าคงไม่เกิด เพราะต่างคนต่างถือทิฐิ ช่วงแรกๆ ที่มีกระแสโครงการนี้ซ้าบยังบอกให้เกาหลีกับอินโดฯ มาทำกับซ้าบอยู่เลยมั้งถ้าจำไม่ผิด

โดยคุณ tongwarit เมื่อวันที่ 10/11/2014 10:15:49


ความคิดเห็นที่ 12


คุณ freedom คงหมายถึง saab fs2020

kddx กับฟริเกตไทย (satcom ลูกขนาดนั้นีเจ้าเดียว ฮ่าๆ) นี่หน้าตาสะอาดสะอ้านดี เสากระโดงของ kddx สวยดี ของเราปรับตามทันมั้ยเนีย 

เรื่องเรือ FAC ผมว่าทร.น่าจะหันกลับมาหาพวกนี้ก็ดีนะครับ เพราะค่าปฏิบัตการถูกกว่าเรือขนาดใหญ่มาก ด้วยงบประมาณที่ทร.ได้รับ มันไม่พอกับการจัดหาฟริเกตในจำนวนที่เพียงพอและมีความพร้อมรบ เราถึงซื้อเรือที่มีระบบอาวุธไม่ครบถ้วน เอาง่ายๆเทียบเรือชั้น visby หรือ hamina (hamina ติด vls visby ตังค์หมดไม่ได้ติด) กับเรือชุดเจ้าพระยา เรือชุดเจ้าพระยา (หรือเอาจริงๆก็เรือรบทุกลำของไทยในสภาพปัจจุบัน) เป็นรองทุกด้านนอกจากระยะปฏิบัติการกับความคงทนทะล หรือสามารถปฏิบัติการกับฮ.ได้ในชั้นกระบุรี

ยิ่งเรือ fac สมัยใหม่ๆความเร็วสูงมาก ตรวจจับยากอีก ใช้งานในอ่าวไทยหรือในน่านน้ำใกล้บ้านก็เหลือๆ แล้วถ้าเปรียบเทียบกับหลักนิยมทัพเรือ สแกนดิเนเวียนทั้งหลายที่บ้านอยู่จ่อกับรัสเซียต่างก็มีเรือ fac สเตลธ์ใช้กันทุกคน ถ้าทร.ลดจำนวนฟริเกตแล้วไปจัดหา fac หรือ corvette เบาแต่ติดอาวุธครบๆ อาจได้งบมาจัดหาเรือดำน้ำ (เอ๊ะหรือไม่เกี่ยวกับงบหว่า) หรือเรือปราบเรือดำน้ำ

โดยคุณ toeytei เมื่อวันที่ 10/11/2014 12:12:02


ความคิดเห็นที่ 13


ผมล่ะอิจฉากองทัพอดินโดนีเซียจริงๆ อยากได้อะไรรัฐบาลก็จัดให้ อยากวิจัยอะไรรัฐก็สนับสนุนและกองทัพยังสนับสนุนด้วยการเอามาใช้อีกด้วย ไม่งอแง

 

โดยคุณ ALPHA001 เมื่อวันที่ 10/11/2014 12:35:52


ความคิดเห็นที่ 14


FACกองทัพเรือเราก็สนใจแหละ ติดแต่ว่าราคาแพงและเรือตรวจการณ์ปืนยังมีไม่เพียงพอก็ต้องจัดหาในส่วนนี้ไปก่อน ผมว่าเรือเร็วโจมตีรุ่นใหม่ค่อนข้างซับซ้อนมากกว่าเดิมพอสมควรนะครับ และด้วยเรือขนาดเท่านี้เราจะต้องต่อในประเทศสถานเดียวขืนซื้อเข้ามาโดนด่ายับแน่ มันจึงต้องมีการติดต่อและหรือซื้อไลเซ่นในเรื่องอุปกรณ์เรดาร์ อาวุธปืน อาวุธจรวดเหมือนที่อินโดนีเซียและพม่ากำลังทำอยู่ จึงสมควรที่จะต่อในจำนวนมากถึงจะคุ้มค่ากับการลงทุนและลงแรง ไม่เหมือนเรือตรวจการณ์ปืนที่มีแค่เรดาร์เดินเรือกับปืนอู่ไหนๆก็ต่อได้

 

อาวุธสมัยนี้ผมว่าที่แพงเวอร์กว่าใครๆก็คือCIWSและระบบปราบเรือดำน้ำ โซนาร์พื้นๆของอินเดีย10ล้านเหรียญเข้าไปแล้ว ติดแท่นยิงแฝด3จำนวน2แท่นพร้อมระบบควบคุมการยิงและตอร์ปิโดเบา6ลูก(MU-90ราคาลูกละ2.1ล้านเหรียญในปี2012)ผมว่าราคารวมใกล้เคียงกับ30ล้านเหรียญแล้วนะ ในแถบอาเซี่ยนเองกำลังจะมีแค่เรือไทยกับเรือมาเลเซียเท่านั้นที่ติดโซนาร์ลากท้ายขั้นเทพกับASW Suite(1ไม่นับเรือเก่าชั้นknox 2หวังว่าเราจะมีนะ 3formidableของสิงค์โปร์ก็ไม่ได้ติด) ไหนจะเรื่องlinkระหว่างเรือกับเฮลิคอปเตอร์อีกล่ะทำให้ราคาเรือทั้ง2ลำเกิน400ล้านเหรียญไปแล้ว โซนาร์จากยุโรปราคาไม่ถูกแน่นอนแต่ขอให้มันดีจริงๆเถ๊อะ

ส่วนCIWSก็อย่างที่รู้ๆ ถูกสุดคือ millenium gum ราคา10ล้านเหรียญแต่ไม่มีเรดาร์ควบคุมการยิงและยังต้องใช้คนคุม phalanx16ล้านเหรียญขึ้น goalkeeper 25ล้านเหรียญขึ้น  RAMพร้อมจรวด21นัดเกิน30ล้านเหรียญแน่นอน ขณะที่ปืนกลติดรีโมทราคาถูกกว่าเยอะ อย่างปืนกลMK38ที่ฟิลิปปินส์ซื้อไปติดเรือตัวเองมีครบทุกอย่างในราคา1.2ล้านเหรียญเท่านั้นเอง (ภาพถ่ายจากเรือต้องสงสัยอีกแล้ว ทำฐานยิงใหม่เฟ้ย)

 

เรือฟริเกตเรานับตามข้อเท็จจริงตอนนี้มี8ลำ  เจ้าพระยา2 กระบุรี2 นเรศวร2 พุทธ2(แทนที่ด้วยdsme2) ถ้าน้อยกว่านี้ก็ไม่ดีแล้วนะเพราะต้องคำนึงถีงเรือซ่อมบำรุงตามวงรอบและการปรับปรุงต่างๆด้วย อย่างตอนนี้เรือหลวงปัตตานีเข้าอู่ไปแล้วเท่ากับเรือOPVแท้ๆหายไป1ลำ เพิ่งได้ยินข่าวว่ากองทัพเรือจัดเรือหลวงรัตนโกสินทร์มาคอยช่วยเหลือประชาชนเพราะพายุเข้า จะเอาไปช่วยอะไรได้ฟระในเมื่อเรือลำน้อยและแบกอาวุธจนหลังแอ่นเพราะเป็นเรือรบจริงๆ ยังเตรียมเครื่องบินไว้อีก2ลำเรือยกพลขึ้นบก2ลำแต่เฮลิคอปเตอร์ลำเดียว(เยอะมากกกกก)

โดยคุณ superboy เมื่อวันที่ 10/11/2014 14:41:31


ความคิดเห็นที่ 15


เห็นด้วยครับ เรื่อง ร.ล.รัตนโกสินทร์ กับ การช่วยเหลือผู้ประสบภัย ดูจะเล็กไปหรือเปล่า ?

ผมว่า สภาพพายุขนาดนี้ เรือชุด พุทธฯ น่าจะมี ประสิทธิภาพกว่า แม้ค่าใช้จ่ายการปฏิบัติงานจะสูง แต่ก็น่าจะยอมจ่าย เพราะมันเป็นเรื่องของภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งมัน คาดคะเน ความเสียหาย ความรุนแรง ได้ยาก...

และความสามารถเรือมันครบสูตร ตั้งแต่ ลานจอด ฮ. และระวางเรือ ความคงทนทะเล...

เผื่อไม่แน่ มันอาจจะเกิด Trible Super Double Storm ขนาดที่อาจจะทำลายล้าง มวลมนุษยชาติได้...และต้องใช้ พลังงานกำลังจลย์สูง เพื่อสกัดทำลาย ให้เกิดการหักเหของกระแสน้ำอย่าง ฉับพลัน...

อาจจะเป็นหน้าที่ของ เรือชุด พุทธฯ ต้องทำการยิง ASROC ติดหัวรบนิวเคลียร์ (ที่เราแอบมีอยู่แบบลับ ๆ) ให้ได้อย่างทันท่วงที ก็เป็นได้...5 5 5 5 5 5

 

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 10/11/2014 16:16:16


ความคิดเห็นที่ 16


A model of the DSME 8000 destroyer design displayed at Indodefence 2014. (IHS/Ridzwan Rahmat)A model of the DSME 8000 destroyer design displayed at Indodefence 2014. (IHS/Ridzwan Rahmat)

Indodefence 2014: DSME unveils details of KDDX destroyer proposal

Ridzwan Rahmat, Jakarta - IHS Jane's Navy International

04 November 2014

Key Points

  • DSME has revealed details of the proposed weapons fit for South Korea's KDDX destroyer programme
  • The proposed platform could potentially launch a new variant of South Korea's Haeseong anti-ship missile

Daewoo Shipbuilding & Marine Engineering (DSME) revealed further details of its proposal for the Republic of Korea Navy's (RoKN's) KDDX destroyer programme at the Indodefence 2014 exhibition in Jakarta.

The platform, known as the DSME 8000, is being touted as a cost-effective solution to the RoKN's search for a class that can fill the gap between the KDX-2 destroyers and the larger KDX-III Aegis ships.

"Think of the DSME 8000 as a cheaper version of the Aegis ships, but with almost all of the class's functionalities", said Jae Do Na, an assistant engineer from DSME's naval and special ship design team.

 

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 12/11/2014 08:53:12


ความคิดเห็นที่ 17


มาแนว imast เลยแหะ

โดยคุณ toeytei เมื่อวันที่ 12/11/2014 12:34:16