หน้าแรก    ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบคำถาม    เข้าสู่ระบบ      


Fast Attack Craft เธอผู้ได้รับสมญานามว่า นักฆ่า (Killer)

โดยคุณ : juldas เมื่อวันที่ : 14/08/2014 23:47:41

จากความเห็นหลาย ๆ ท่าน ในกระทู้ เรือตรวจการณ์ปืน ลำใหม่ของ กองทัพเรือไทย ซึ่ง บางท่าน ก็สงสัย หรือ มีความต้องการว่า เรือตรวจการณ์ น่าจะติด อาวุธนำวิถีโจมตีเรือ หรือไม่

ในเบื้องต้น คงต้องแยกประเภทเรือก่อน คือ เรือตรวจการณ์ จะใช้คำว่า  Patrol Craft  หรือ PC

ส่วนเรือเร็วโจมตี จะใช้คำว่า Fast Attack Craft หรือ FAC

ซึ่งเรือตรวจการณ์ ก็จะมีคุณลักษณะของเรือ แสดงอยู่ในแบบชื่อเรือแล้ว คือ การใช้งานตรวจการณ์เป็นหลัก หรือ รักษากฎหมายทางทะเลเป็นสำคัญ

ส่วนเรือเร็วโจมตี ก็จะมีคุณลักษณะของเรือ แสดงถึงว่า เป็นเรือเน้นภาระกิจการโจมตี เป็นเรือทางยุทธวิธีในสภาวะสงครามเป็นหลัก

ซึ่งสำหรับ กองทัพเรือไทย มี FAC อยู่จำนวน 9 ลำ ด้วยกัน อยู่ในสังกัด กองเรือตรวจอ่าว

แบบชุดเรือเร็วโจมตี ติดอาวุธนำวิถี

แบบที่ 1 เรือชุด ปราบปรปักษ์ จำนวน 3 ลำ

แบบที่ 2 เรือชุด ราชฤทธิ์ จำนวน 3 ลำ

แบบชุดเรือเร็วโจมตี ปืน

เรือชุด ชลบุรี จำนวน 3 ลำ

ซึ่งเรือโดยส่วนใหญ่ ก็มีอายุประจำการ เกินกว่า 30 ปีแล้ว และใกล้ถึงเวลาปลดประจำการ ในระยะเวลาอีกไม่นานนี้ โดยเรือชุด ปราบปรปักษ์ จะเป็นเรือชุดแรก ที่ปลดประจำการก่อน

เรือเร็วโจมตี เป็นเรือที่มีศักยภาพในการทำลายสูง โดยมีค่าใช้จ่ายต่ำ แต่ด้วยข้อจำกัดในเรื่องขนาดของเรือ ทำให้ระยะเวลาปฏิบัติการในทะเลได้ไม่นาน ระวางเรืออยู่ระหว่าง 50 – 800 ตัน และโดยส่วนใหญ่จะใช้ปฏิบัติการในบริเวณใกล้ฝั่ง และด้วยขนาดที่เล็ก แต่มีความเร็วสูง ความเร็วเรือเร็วโจมตี จะอยู่ ระหว่าง 25 – 50 นอต ก็สามารถสร้างความหวั่นเกรง และความน่ากลัวให้กับ เรือรบขนาดใหญ่ได้เช่นเดียวกัน

ปัจจุบัน เรือเร็วโจมตี มีการพัฒนาเพิ่มขึ้น เพื่อตอบโต้ กับภัยคุกคาม จากเรือรบ ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น  และอาจจะรวมหมายถึง เรือบรรทุกอากาศยาน ด้วย เช่น การออกแบบเรือให้ลดการตรวจจับ ทั้งในเรื่องรูปทรง และระบบขับเคลื่อน กว่าที่เรือรบ หรือ เรือดำน้ำ หรือ เรือบรรทุกอากาศยาน จะจับเป้าหมายได้  เรือเร็วโจมตี ก็จะมาอยู่ในระยะใกล้ตัว และสามารถปล่อยอาวุธนำวิถีโจมตีเรือ แล้วหลบหนีไปอย่างรวดเร็ว และยิ่งมีความน่ากลัวมากขึ้นอีก ถ้าเรือเร็วโจมตี มาพร้อม ๆ กัน จำนวนหลาย ๆ ลำ รวมถึงระบบป้องกันตนเองที่จะคล้าย ๆ กับเรือรบขนาดใหญ่ เช่น CIWS หรือ ระบบเป้าลวงต่าง ๆ ที่ป้องกันตนเองจาก อาวุธนำวิถีโจมตี ที่มาจากทางอากาศ และ พื้นน้ำ

ในกระทู้นี้  ก็จะพูดคุย สำหรับเรือเร็วโจมตีใหม่ ๆ ในประเทศ ที่เป็นเพื่อนบ้านของไทย





ความคิดเห็นที่ 1


เริ่มจาก ลำแรก

Houbei Class (Type 022) ของประเทศจีน  โดยผู้ออกแบบ คือ Yang Yi ผู้หญิงในภาพ ครับ เรือ Type 022 นี้ ได้รับ สมญานามว่า นักฆ่าเรือบรรทุกอากาศยาน หรือ Aircraft Carrier Killer Fast Boat

ซึ่งนักวิเคราะห์จากกองทัพเรือสหรัฐ ได้ให้ความเห็นไว้ว่า จากการที่ ประเทศจีน เปิดกว้างและให้อิสระกับประชาชนมากขึ้น ทำให้เปิดโอกาสให้กับคนมีความสามารถหลาย ๆ คน ซึงหมายถึง Yang Yi คนนี้ด้วย ที่สามารถออกแบบเรือได้อย่างน่าทึ่ง ซึ่ง ความน่ากลัวของ Type 022 คือ การที่รูปทรง เรือมีขนาดเล็ก ออกแบบลดการตรวจจับแล้ว ยังใช้สีทาเรือดูดคลื่นตรวจจับ และระบบขับเคลื่อนเรือแบบ ไอพ่นน้ำ ซึ่งลดเสียงมีความเงียบ ทำให้ตรวจจับยากมากยิ่งขึ้น ซึ่งกว่าจะทำการตรวจจับได้ ก็อาจจะเห็นเรือปรากฏอยู่ตรงหน้าแล้ว และเมื่อทำการปล่อยอาวุธนำวิถีโจมตีเรือ ก็สามารถหลบหนีไปได้อย่างรวดเร็ว และถ้านึกถึงว่า มีเรือชุดนี้ มาพร้อม ๆ กัน สักประมาณ 10 ลำ ก็สามารถทำยุทธวิธี สร้างความเสียหายให้กับกองเรือ และทำลาย เรือบรรทุกอากาศยานของสหรัฐ ได้  (ซึ่ง LCS ของ สหรัฐ ก็มีวัตถุประสงค์ข้อนึง คือ ออกแบบมา เพื่อตอบโต้และทำลายเรือ Type022 นี้ด้วยเช่นกัน)

China’s Aircraft Carrier Killer Fast Boat Designed by a Pretty Girl

The pretty girl in the photo is Yang Yi, chief designer of China’s formidable Type 022 fast missile boat.

She may be 40 now, but still looks young in photos. However, nearly 2 decades ago in 1994, she was assigned chief designer of China’s well-known Houbei Class (Type 022) fast attack missile boat. At that time, she was the youngest chief designer ever in China.

The boat has such outstanding strength that John Patch, a retired U.S. Navy officer said in his article for the United States Naval Institute in 2012, "This craft is a purebred ship killer, perhaps even a carrier killer".

Britain’s Jane’s Defence weekly believes China’s Type 022 stealth fast missile boat is perhaps the first stealth fast missile boat in the world that adopts wave-piercing technology. Its three great advantages of high speed, quietness and undetectability make it so powerful that under certain circumstances, it may scare away a US aircraft carrier.

Its shape with lots of sharp angles greatly reduced the reflection of radar wave.

Close view of Type 022 fastboat's water jet.

Its water jet propulsion avoids the noise caused by the air bubbles in propeller propulsion to make it very quiet.

On October 28, 2013, a reporter of Chinese Navy’s website navy.81.cn was on board of a Type 022 missile fast boat to watch the drill of a flotilla of Type 022 fast boats. According to him, the boats’ stealth function is so superb that tens of radars cannot detect them while their coating is so wonderful that one cannot see them until they have come quite close.

Type 022 fast missile boat launches a missile.

Jane’s weekly said in its report that the boats’ eight YJ83 new-type medium-range (150 km) anti-ship missiles can attack multi-targets beyond visual range. A flotilla of more than two dozen such boats can conduct saturate attack by simultaneous fan-shaped launch of all the boats’ missiles.

That is quite formidable as the boats can approach enemy fleet to a very short distance without being detected due to its radar and optical invisibility and quietness. They may leave the battle field after firing their missiles as due to the boat’s advanced data link, they can leave the missiles to the care of Chinese AEW&C aircraft or other warships.

Each boat has a 30mm six-barrel high-speed gun for short-range air and missile defense.

The boat’s multi-purpose radar can search and lock on targets both in the air and at sea and guide anti- ship and aircraft missiles. It has also optical-electronic and infrared tracking devices and laser distance measuring device. In addition, it can provide navigation guidance and short-range early warning for other boats that are maintaining radar silence.

The boat’s wave-piercing catamaran was learned from an Australian company, but all the other wonderful functions and performance have been designed by Chinese engineers under the young chief designer’s leadership. It proves Chinese engineers’ creativeness in exploiting other countries’ technology to develop advanced weapons other countries do not have the least idea of.

When Yang was appointed, fast boats seemed outdated. Perhaps, that was the reason to entrust a young girl the design of a new type of it, though she had already made prominent achievements in fundamental research.

Before the emergence of Yang’s fast boats, China used its fast boats for defense of its coast. Now however, Yang’s talents have turned what was for defense into a fierce weapon of attack far away from Chinese coast. The wave-piercing design enables the boat to operate at high sea.

From Yang’s success, we see the mystery of China’s success. As mentioned in my book Tiananmen’s Tremendous Achievements Expanded 2nd Edition, “China’s Prosperity Was due to Its Talented Intellectuals with Moral Integrity”. With the fear created by Tiananmen Protests and the assistance of a new generation of talented intellectuals with moral integrity emerged during the Cultural Revolution, Jiang Zeming has successfully carried out a silent peaceful coup d’état to replace intellectuals’ dominance for uneducated workers’ and peasants’ dominance of the Party and state. That enables Chinese reformists to give play to the talents and diligence of Chinese people, especially intellectuals.

That is a long story that is described in details in the book.

Under such circumstances, Chinese military leaders’ appointment of a talented girl as chief designer, though exceptional, is normal.

Anyway, the story of Yang’s success tells us not to underestimate Chinese intellectuals’ talents and diligence

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 14/08/2014 13:36:48


ความคิดเห็นที่ 2


ลำที่สอง ของประเทศไตหวัน หลังจากที่ กองทัพเรือจีน เริ่มดำเนินการเรือบรรทุกเครื่องบิน เข้าประจำการ ประเทศไตหวัน ก็คงใช้หลักคิดเดียวกับ ประเทศจีน คือ สร้างเรือเร็วโจมตี นักฆ่าเรือบรรทุกอากาศยาน ขึ้นมาด้วยเช่นกัน

Taiwan launches first 'carrier killer' stealth missile corvette

Ridzwan Rahmat, Singapore - IHS Jane's Navy International

13 March 2014

The Republic of China Navy launched the first of a new class of stealth missile corvettes on 14 March. Source: Ministry of National Defense, Republic of China

The Republic of China Navy (RoCN) launched the first of a new class of stealth missile corvettes on 14 March.

Tuo Jiang , a 500-tonne twin-hull boat built by Lung Teh Shipbuilding, was named in a ceremony conducted in Suao, Yilan County.

The high-speed corvette, described as a 'carrier-killer' by Taiwanese media, has a maximum speed of 38 kt and a range of 2,000 n miles. The 60 m by 14 m vessel has a low radar cross section (RCS) design and can carry a crew of 41.

There are few details on Tuo Jiang 's weapon systems but armaments reportedly include the Hsiung Feng III (HF-3) ramjet-powered supersonic anti-ship missile. The HF-3, manufactured by the defence ministry's Chung-Shan Institute of Science and Technology (CSIST), is touted as Taiwan's most potent weapon against the People's Liberation Army Navy's (PLAN's) aircraft carrier. Previously revealed models of the corvette showed a primary gun on its foredeck and a close-in weapon system (CIWS) turret towards its aft section.

The Taiwanese legislature approved a TWD24.98 billion (USD823 million) budget in 2011 to fund the construction of between seven and 11 of such corvettes under the Hsun Hai (Swift Sea) programme. A fleet of 12 ships is now expected.

Tuo Jiang will undergo final tests and reviews before it is commissioned. The vessel is scheduled to be deployed with the RoCN in the first half of 2015.

Tuo Jiang was named in a ceremony conducted in Suao, Yilan County (Ministry of National Defense, Republic of China)

Tuo Jiang was named in a ceremony conducted in Suao, Yilan County (Ministry of National Defense, Republic of China)

The 500-tonne twin-hull boat was built by Lung Teh Shipbuilding Co. (Ministry of National Defense, Republic of China)

The 500-tonne twin-hull boat was built by Lung Teh Shipbuilding Co. (Ministry of National Defense, Republic of China)

 

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 14/08/2014 13:40:32


ความคิดเห็นที่ 3


ลำที่สาม ของ ประเทศเกาหลีใต้ หลังจากที่มีการปะทะกัน ระหว่างเรือตรวจการณ์เกาหลีเหนือ กับ เกาหลีใต้ เมื่อปี 2002 ส่งผลให้เรือตรวจการณ์ของ เกาหลีใต้ จม ต่อมา  เกาหลีใต้ ได้มีแผนพัฒนากองเรือให้มีทันสมัยขึ้น จึงได้ออกแบบ Patrol Killer ขึ้น โดยมี Patrol Killer มีอยู่ 2 แบบ คือ แบบ A ติดตั้ง อาวุธนำวิถีโจมตีเรือ และ แบบ B มีเฉพาะ ปืนเรือ

ซึ่งในความเห็นส่วนตัว เกาหลีใต้ จัดหาเรือเร็วโจมตีติดอาวุธนำวิถี ก็ด้วยมีเหตุผลหนึ่งที่เป็นเหตุผลเสริม คือการประจำการ เรือบรรทุกเครื่องบินของ ประเทศจีน ด้วยเช่นกัน

Patrol Killer Guied missile (PKG)

The Gumdoksuri Class is a next-generation patrol boat designed for the Republic of Korea Navy (ROKN), a branch of the Republic of Korea Armed Forces. Gumdoksuri Class vessels are high-speed boats armed with missiles, and will be the successor to the old Chamsuri Class patrol boats. The lead ship of the Gumdoksuri Class, the Yoon Young-ha (PKG 711), was launched on 28 June 2007 by Hanjin Heavy Industries (HHI).

The vessels will be deployed near the inter-Korean maritime border to help protect and defend ROKN's interests in the ocean. The vessels are also known as the fast patrol boat (PKX) and guided-missile patrol killer (PKG).

The Gumdoksuri Class is built by two companies – Hanjin Heavy Industries and STX. The first boat of the Gumdoksuri Class was commissioned on 17 December 2008 and will serve as a testing bed for revised design to be developed in future.

Gumdoksuri A, a variant of the class, has faced certain problems while sailing. The current speed of the variant is 20kt, half the required speed of 40kt. The problems arose due to the technical infeasibility between the water jet propulsion system and the hull's design.

The Republic of Korea Navy (ROKN) has received the 13th domestically-built Gumdoksuri-class patrol killer fast-attack craft, Han Munsik (PKG-726).

IHS Jane's cites the Defense Acquisition Program Administration (DAPA) as saying that the vessel has been delivered by Hanjin Heavy Industries & Construction to the navy command, located in Jinhae, some 410km south of Seoul.

The vessel will conduct patrol missions aimed to defend the nation's shoreline and harbour waters, following completion of two months of deployment programme, DAPA said.

Designed to provide cooperative engagement capability, the 450t high-speed ship is fitted anti-ship missiles that have a range of 140km and can cruise at a top speed of 40k, according to Yonhap News Agency.

The two variants of the Gumdoksuri-class vessel are the Gumdoksuri A, which is armed with anti-ship missiles and the second is the Gumdoksuri B, a 200t patrol boat.

"The ships are outfitted with surface to surface fire systems and are armed with KSSM anti-ship missiles."

Featuring Dyneema HB25 for protection against a spectrum of ballistic threats, the vessels of the class are protected by an aluminium and glass-epoxy resin layer to reduce the overall weight while maintaining flame retardant properties.

The Hanjin Heavy Industries (HHI) and STX Offshore & Shipbuilding-built Gumdoksuri-class vessels also feature the EOTS, tracking radar to identify more than 100 targets simultaneously, as well as electronic optical tracing system with target tracking functions.

Capable of accommodating a crew of more than 40, the ships are outfitted with surface to surface fire / air control systems and are armed with KSSM anti-ship missiles, 76mm guns and advanced radar systems.

Currently about 24 Gumdoksuri As and 18 Gumdoksuri Bs are in production and nine are scheduled to enter service with the ROKN by 2015.

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 14/08/2014 13:44:06


ความคิดเห็นที่ 4


ลำที่สี่ เป็นของ ประเทศอินโดนีเซีย

ซึ่งแผนการจัดหา ก็เป็นแผนพัฒนากองเรือเพื่อสร้างความสมดุล ในความเห็นส่วนตัว ก็น่าจะเป็นการมีประจำการเรือ LHD และ เรือป้องกันภัยทางอากาศของ ของ ทร.ออสเตรเลีย และคงใช้ คอนเซ็ปเรือที่มีสมรรถนะดูเป็น Aircraft Carrier Killer เหมือนกัน เพราะติดตั้ง C-705 ระยะ 75-170 ก.ม. โดยความร่วมมือกับ ประเทศจีน

Indonesia’s Fast Attack Craft Acquisition:
Toward a “Balanced” Fleet?

By Ristian Atriandi Supriyanto

Synopsis


The Indonesian Navy recently received its second locally-made fast attack craft with a plan to procure 14 units until 2014. This is part and parcel of its plan to have a ‘balanced’ fleet capable of performing wide-ranging naval tasks.

Commentary

SOUTHEAST ASIAN navies have been developing their ‘asymmetric capabilities,’ judging by their recent procurements. These range from submarines and mine warfare vessels to fast attack craft (FAC) armed with advanced anti-ship cruise missiles (ASCM).

Indonesia, too, is investing in these assets. Having recently secured a deal for three Type-209 Chang Bogo submarines from South Korea, Jakarta now plans to acquire 14 new FAC by 2014. This plan, however, should not obscure Jakarta’s intention to have a ‘balanced’ fleet to perform wide-ranging naval tasks.

Indigenous Fast Attack Craft

On 17 February 2012, the Indonesian Navy (TNI-AL) received its second locally-made KCR-40 FAC, KRI Kujang, after commissioning its first, KRI Clurit, in April 2011. Assistant for Planning for The Navy Chief of Staff, Rear Admiral Sumartono, said the boats would be deployed in the western part of Indonesia and North Sulawesi. They further augment TNI-AL’s fleet of FAC which currently numbers around 18 boats (4 Todak-class, 4 Kakap-class, 4 Singa-class, 4 Mandau-class, and 2 Selawaku (ex-Waspada)-class).

The FAC’s asymmetric leverage will also increase when they are fitted with ASCM, which Indonesia is also trying to develop. In addition, the Navy has ordered four 130-tonne trimarans from a local shipyard, with four anti-ship missile launchers in each hull, to be delivered by 2014.

Indonesia is also developing its indigenous naval missile technology to reduce dependence on foreign suppliers, and increase the FAC lethality. In March 2011, Indonesia and China signed a Memorandum of Understanding (MoU) which paved the way for closer defence cooperation, including joint missile production. Indonesia has acquired and tested a substantial number of Chinese C-802 missiles and installed them aboard Todak-class FAC and Ahmad Yani-class frigates. Regarded as more lethal than the C-802, Indonesia now aims for C-705 and has become its first overseas customer.

With a range of 75-170 km and smaller than the C-802, the C-705 is appropriately fitted for the smaller KCR-40 FAC. Based on the MoU, Indonesia would build a plant to manufacture the C-705, although this is not only related to the FAC project.

In addition, it recently bought an undisclosed number of Russian SS-N-26 ‘Yakhont’ supersonic anti-ship missiles for US$1.2 million apiece to replace Harpoon missiles on its frigates. In April 2011, the Yakhont was successfully tested and destroyed a designated target over 250 kilometres away. Jakarta also aims to manufacture 1,000 RHan 122 indigenous short-range ship borne missiles starting from 2014.

The FAC and anti-ship missiles will further bolster Indonesia’s sea denial capabilities. Together with naval mines and submarines, the FAC will support the TNI-AL’s Archipelagic Sea Defence Strategy (Strategi Pertahanan Laut Nusantara, SPLN), which seeks to deny the enemy fleet access to Indonesia’s archipelagic waters. Operationally, they are suitable for Indonesia’s complex maritime geography, with many gulfs, bays, estuaries, coves, and islets scattered across the archipelagic landscape.

This operating environment will also enable easier force dispersion and concealment when deployed against a larger adversary fleet. They will be effective to patrol maritime choke-points, such as the Malacca, Singapore, Sunda, and Lombok-Makassar Straits; and disputed waters in Sulawesi Sea. Costing over Rp. 73 billion (approx. US$8 million) each, the KCR-40 FAC provide a cost-effective means for the TNI-AL to, on one hand, increase its presence in the strategically vital, but criminally-prone, maritime areas, as well as maintain its naval warfighting orientation, on the other.

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 14/08/2014 13:47:34


ความคิดเห็นที่ 5


ลำที่ห้า ของประเทศ พม่า

ประเทศพม่า มีเรือ FAC เป็นกองเรือรบหลักของ กองทัพเรือ โดยล่าสุดได้มีการสร้างเรือเร็วโจมตีลดการสะท้อนเรดาร์ ซึ่งในความเห็นส่วนตัวว่า น่าจะเป็นผลพวงมาจาก กรณีที่มีกองเรือรบ สหรัฐ เข้ามาได้ถึงน่านน้ำพม่า โดยมีเรือ USS Essex (LHD-2) เป็นเรือแม่ ในเรื่องที่มาให้ความช่วยเหลือจากพายุนากิส ซึ่งจากเหตุการณ์ดังกล่าว ดูแล้ว มันก็ตรงกับคุณสมบัติของเรือเร็วโจมตี นักฆ่าเรือบรรทุกอากาศยาน สำหรับประเทศที่มี กองเรือรบขนาดเล็ก แบบพม่า

กองทัพเรือพม่า มีการสร้างเรือเร็วโจมตี FAC-491 โดยความร่วมมือกับประเทศจีน ซึ่งคิดว่า คงใช้ คอนเซ็ป แบบเดียวกับ Type-022 ที่มีความเป็น เรือ Aircraft Carrier Killer ลักษณะเดียวกัน

49 meter FAC-M

 

Fast Attack Craft Missile 491 and 492 of Myanmar
Myanmar has completed the first of ten new FAC-M vessels, which besides having weapon system and electronic suite from the Russian-Chinese combination, also incorporates RCS technology much like other main ASEAN naval power such as Singapore, Vietnam, Indonesia, Brunei, Thailand and Malaysia. One of the most significant development for Myanmar Navy in 2013 was the launching of new FAC (Stealth)(pennant number P 491) which is 49 meter long and armed with 4 x C 802 SSMs and a single AK 630 CIWS. A second ship of this class was already under construction and expected to be completed by early 2014. Myanmar Navy planned to build 10 ships of this class.
Kanwa Defense Review, a magazine published by Andrei Pinkov, a military analyst from Canada, said Myanmar's stealth looked very similar to the 500-tonne fast attack craft the PLA Navy turned over to Pakistan in 2012. The new stealth missile boat will likely carry the C-802 or C-802A like its counterpart in Pakistan, the article said. This demonstrates that China still has strong influence over Myanmar despite the end of the nation's military regime. Islamabad is also negotiating with Beijing to purchase the C-602 missile, according to Kanwa.

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 14/08/2014 13:49:59


ความคิดเห็นที่ 6


แบบเรือเร็วโจมตี แบบใหม่ ทั้ง 5 แบบ จะเห็นข้อมูลบางอย่างว่า  ทั้ง 5 ประเทศ ยังเล็งเห็นถึง ภัยคุกคามของเรือรบสมัยใหม่ ที่ปัจจุบันจะสามารถมาถึงน่านน้ำสำคัญหน้าประเทศของตัวเองได้  ซึ่งแม้แต่ประเทศจีน ก็ยังมีความต้องการเรือประเภทนี้ จึงต้องมีการจัดหา เรือเร็วโจมตีที่มีสมรรถนะสูง ประจำการไว้ เป็นกำลังป้องกันด่านสุดท้าย ที่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่า เรือรบสมรรถนะสูงขนาดใหญ่  โดยแต่ละประเทศมีการจัดหาโดยวาง เป้าหมายไม่ต่ำกว่า  10 ลำ (แม้แต่ ประเทศไตหวัน จัดมีแผนจัดหา สูงสุดถึง 11 ลำ)

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 14/08/2014 13:51:13


ความคิดเห็นที่ 7


กำลังวาดรูปเรือเร็วโจมตีตระกูลหมายเลข5ของพม่าอยู่พอดีเลย  :) ดูเหมือนในปัจจุบันคำว่า FAC จะถูกเรียกกับเฉพาะเรือที่มีอาวุธจรวดติดตั้งเท่านั้น ส่วนเรือเร็วโจมตีที่ติดปืนจะกลายเป็น PB - Patrol Boat (ถ้ายาวไม่เกิน 30 metersหรือ100 feet) และหรือ  PC - Patrol Combatant (ถ้ายาวเกิน 30 metersหรือ100 feet) ไปเสียแล้ว  ใหญ่กว่านี้ก็กลายเป็นOPVไป ไอ้ครั้นกระผมจะใช้คำว่าเรือปืน PG - Gunboat ค้นประวัติก็ย้อนกลับไปเกือบ100ปีโน่น สรุปเรือพม่าที่ไม่มีจรวดผมใช้คำนำหน้าว่าPCแต่ถ้ามีจรวดไปFACแล้วกัน

 

แบ่งแบบนี้ก็เข้าใจชัดเจนดีครับ เพราะไม่อย่างนั้นจะแยกเรือเร็วโจมตีปืนกับเรือตรวจการณ์ติดปืนด้วยกายภาพลำบากมาก แต่ที่พูดมานี่มาตราฐานของอเมริกานะครับ ถ้าโปรรัสเซียเรือตามรูปก็ต้อง RKA - RAKETNYE KATERA เลย

โดยคุณ superboy เมื่อวันที่ 14/08/2014 13:58:44


ความคิดเห็นที่ 8


รบกวนถามท่าน juldas หน่อยครับ เรื่อง เรือ รจอ.

1. เรือชุด ปราบปรปักษ์ จำนวน 3 ลำ ที่ท่านบอกว่ากำลังจะปลดประจำการ ไม่ทราบว่าทาง ทร. เรามีโครงการที่จะหาเรือ รจอ. มาทดแทน  เรือชุด ปราบปรปักษ์ หรือยังครับ 

2. เรือ รจอ. ที่สามารถ ยิงอาวุธปล่อยนำวิถี ตอนนี้มีมีเพียง เรือชุด ร.ล.ราชฤทธิ์ 3 ลำ เท่านั้น ซึ่งมันจะน้อยไปหรือไม่ครับ และควรจะเพิ่มจำนวนเป็นเท่าไรถึงจะดีครับ

3. ถ้ามีโครงการจัดหาเรือทดแทนจริงจะเป็นเรือจากค่ายไหนดี และมีอาวุธปล่อยนำวิถี แบบไหนดีถึงจะเหมาะสมครับ

รบกวนขอความรู้หน่อยครับ ขอบคุณครับ

โดยคุณ Odin เมื่อวันที่ 14/08/2014 14:31:19


ความคิดเห็นที่ 9


กระทู้ดีมีประโยชน์จริงๆ ผมก็กำลังสนใจอยู่และหวังอยู่ว่า ถ้าเรือชุด ร.ล.ปราบปรปักษ์ ปลด น่าจะมีการจัดหาใหม่ดดยต่อในประเทศ

โดยคุณ เด็กทะเล เมื่อวันที่ 14/08/2014 14:41:50


ความคิดเห็นที่ 10


กรณีอินโดนีเซีย ซื้อสิทธิบัตรในการผลิต C-705 มาผลิตในประเทศ โดยมีแผนผลิตเพื่อใช้งานในทุกรูปแบบของกองทัพเรือเป็นอาวุธมาตราฐานเลย

ถ้าเราต่อเรือเองได้ ซึ่งตอนนี้ถ้าไม่ติดงบประมาณคงไม่ใช่อุปสรรคแล้วล่ะครับ แล้วซื้ออาวุธของจีนมาติดตั้ง

น่าจะเพียงพอกดดันเรือข้าศึกที่จะเข้ามาในอ่าวได้ บ้านเราเองเกาะแก่งก็เยอะซ่อนพรางได้ด้วย

โดยคุณ MIG31 เมื่อวันที่ 14/08/2014 15:58:03


ความคิดเห็นที่ 11


น่าสนใจครับกระทู้นี้สมัยก่อนผมอ่านสมรภูมิเห็นเรือเร็วโจมตีชุดเรือหลวงปราปรปักษ์กับเรือหลวงราชฤทธิ์ฝึกยิงขีปนาวุธผมชอบมากได้เห็นรูปตอนยิง และคิดว่าในอนาคตกองทัพเรือน่าจะมีหรือจัดหาเรือประเภทนี้เพิ่มเติมแต่ก็ผ่านมาเกือบ20ปีก็ยังไม่มีวี่แวว ตอนนั้นพยายามหาข้อมูลของเรือชุดนี้แต่ก็หายากมากเพราะอินเทอร์เน็ตยังเข้าไม่ถึง ถึงตอนนี้ยังไงเรือประเภทนี้ก็ยังจำเป็นที่ควรจะมีเพราะเรายังไม่สามารถไปสู่บลูเนวีได้ ขนาดของเรือก็ไม่น่าจะเกิน450-850ตัน ยาวสัก45-58เมตรความเร็วประมาณ25-45น็อต ติดอาวุธนำวิถีที่มีระยะยิง45-80 กม.สัก4นัด ปืน 40หรือ76 มม.ติดปืนรอง 20หรือ30ติดระบบเป้าลวงที่เหลือก็ระบบควบคุมการยิงที่สามารถควบคุมการยิงระบบอาวุธทั้งหมด พวกตัวเรือก็ต่อเองในประเทศเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมต่อเรือต่อสัก6-9ลำแค่นี้ก็น่าจะดี(คห.ส่วนตัวครับ)

โดยคุณ ALPHA001 เมื่อวันที่ 14/08/2014 16:03:19


ความคิดเห็นที่ 12


ขอตอบใน ความเห็น ส่วนตัว นะครับ ขณะนี้ ยังไม่มีข้อมูลอ้างอิง อะไรน่ะครับ

1. เรือชุด ปราบปรปักษ์ จำนวน 3 ลำ ที่ท่านบอกว่ากำลังจะปลดประจำการ ไม่ทราบว่าทาง ทร. เรามีโครงการที่จะหาเรือ รจอ. มาทดแทน  เรือชุด ปราบปรปักษ์ หรือยังครับ 

ตอบ  คิดว่า เรือตรวจการณ์ปืน ที่กำลังสั่งซื้อใหม่ น่าจะมาทดแทนในส่วนนี้ ครับ ปัจจุบัน เรือชุด ปราบปรปักษ์ ไม่มี อาวุธนำวิถี มาหลายปีแล้วครับ น่าจะเกือบ ๆ 10 ปี แล้ว และมีข่าวว่า ทร. ปรับปรุงเป็น เรือตรวจการณ์ปืน แทน หลังจากปลด จรวดกาเบรียล เรือตรวจการณ์ปืนลำใหม่ ถึงมี ข้อมูล ว่า เรือสามารถติดตั้ง อาวุธนำวิถี ได้ ซึ่งคิดว่า ทร. คงยังไม่ต้องการ เรือ FAC แท้ ๆ ในขณะนี้ น่าจะด้วยงบประมาณ ที่ปัจจุบัน ต้องการเรือผิวน้ำขนาดใหญ่ อีกหลายลำ

2. เรือ รจอ. ที่สามารถ ยิงอาวุธปล่อยนำวิถี ตอนนี้มีมีเพียง เรือชุด ร.ล.ราชฤทธิ์ 3 ลำ เท่านั้น ซึ่งมันจะน้อยไปหรือไม่ครับ และควรจะเพิ่มจำนวนเป็นเท่าไรถึงจะดีครับ

ตอบ คิดว่า น้อยครับ ถ้า ทร. มีหลักนิยม เหมือนประเทศอื่น ๆ ในการจัดหา เรือเร็วโจมตีแล้ว เท่าที่ดูข้อมูล จะมีการจัดหา อยู่ระหว่าง 8 - 10 ลำ เป็นขั้นต่ำครับ แม้แต่ พม่า ยังวางเป้าหมายไว้ที่ 10 ลำ ครับ หรือ อินโดนีเซีย วางเป้าหมายไว้ ประมาณ 14 ลำ คิดว่า แนวคิด การใช้เรือ FAC ในการโจมตี น่าจะใช้จำนวนหลายลำ ไม่น้อยกว่า 2 ลำ ในการโจมตี แต่ละครั้งครับ ซึ่ง คงต้องดู คุณลักษณะเรือ และล่าสุด เมื่อปีที่แล้ว มาเลเซีย ประกาศมีความต้องการเรือ FAC มาทดแทนของเก่า ที่กำลังจะปลดประจำการ เช่นกันครับ

3. ถ้ามีโครงการจัดหาเรือทดแทนจริงจะเป็นเรือจากค่ายไหนดี และมีอาวุธปล่อยนำวิถี แบบไหนดีถึงจะเหมาะสมครับ

ตอบ คิดว่า น่าจะเป็นอู่เรือ ภายในประเทศ หรือ สิงคโปร์ หรือ เกาหลีใต้ เรื่องแบบ อาวุธนำวิถี คิดว่า น่าจะเป็นแบบ ฮาร์พูน หรือ แบบเดียวกับ เรือฟริเกตสมรรถนะสูง ลำใหม่ ถ้าเป็นเรือ FAC แบบพันธ์แท้ นะครับ

แต่ถ้า ทร. ยังไม่มีความต้องการ FAC พันธ์แท้ คิดว่า แบบอาวุธนำวิถี น่าจะเหมือนกับชุด ต. 994 (ที่มีแผนจะติดตั้ง) หรือ เรือตรวจการณ์ปืน ชุดใหม่ ที่อาจจะมีการติดตั้ง อาวุธนำวิถี ด้วยที่ว่า ในปัจจุบัน ประเทศไทย ยังไม่มีเหตุการณ์ ทีส่อแวว จะเกิดภัยคุกคาม ของเรือรบขนาดใหญ่ คงทำไว้ แค่ เผื่อเอาไว้ เท่านั้น

 

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 14/08/2014 16:07:27


ความคิดเห็นที่ 13


ตอนนี้ มีประเทศ ตรุกี ที่กำลังจัดหา FAC ใหม่ ทดแทนของเดิม จำนวน 4 ลำ โดยมีเป้าหมายในอนาคต ต่อเพิ่มอีก 6 ลำ รวมเป็น 10 ลำ

มาเลเซีย ประกาศ มีความต้องการ FAC ใหม่ มาทดแทนของเดิม ซึ่งคาดว่า ก็น่าจะไม่ต่ำกว่า 6 ลำ

ประเทศ ปากีสถาน กำลังต่อ FAC ใหม่ แบบเดียวกับ ของ ทร.พม่า ตอนนี้ ต่อได้แล้ว จำนวน 2 ลำ แต่ยังไม่มีข้อมูล ว่ามีความต้องการรวมเท่าไหร่

และ บังคลาเทศ มีความต้องการ จำนวน 10 ลำ เพื่อทดแทนของเดิม กำหนดแผน ครบในปี 2025

Based on this information, the following acquisition plan for a buy of ten units, valued at an estimated US$25M each, is projected:

  • Concept Start 2015
  • Concept Select 2016
  • Contract Design 2017
  • Construction Contract RfP 2018
  • Construction Contract Award 2019
  • First of Class Commissions 2022
  • Hulls Two and Three Commission 2023
  • Hulls Four and Five Commission 2024
  • Hulls Six and Seven Commission 2025
  • Hulls Eight and Nine Commission 2026
  • Hull Ten Commissions 2027

และปัจจุบัน มีหลายบริษัท ออกแบบ FAC หลายแบบ หลายขนาดเพื่อให้เป็นตัวเลือก ตรงความต้องการของ ประเทศลูกค้า ซึ่ง เรือ FAC ดูจะเป็น ตลาดเรือรบ อีกตลาดหนึ่ง ที่ปัจจุบัน ก็กำลังทะยอยจะได้รับคำสั่งซื้อจากหลาย ๆ ประเทศ ต่อจากเรือ OPV

 

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 14/08/2014 16:22:41


ความคิดเห็นที่ 14


ให้เดา คิดว่า ของ ทร.ไทย น่าจะเป็น Littoral Patrol Craft มาแทน FAC ในขณะนี้ คล้ายกับ LPC ของ ทร.บังคลาเทศ ที่สั่งซื้อจาก ประเทศจีน จำนวน 3 ลำ

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 14/08/2014 16:34:56


ความคิดเห็นที่ 15


จริงๆถ้าเป็นเรือโจมตีเร็วขนาดไม่ใหญ่มากทำไมกองทัพเรือไม่คิดที่จะออกแบบและต่อใช่เองบางนะ ขนาดเรือชั้นกระบี่ถึงเราจะไม่ได้เป็นคนออกแบบเองแต่ก็สามารถต่อใช่เอง แล้วทำไมไม่คิดที่จะดัดแปลงแบบเรือ ทั้งๆที่ในกองทัพเรือก็มีนายทหารวิศกรที่เรียนจบเกี่ยวกับวิศวกรรมเรือก็เยอะ

โดยคุณ Woot1980 เมื่อวันที่ 14/08/2014 22:06:27


ความคิดเห็นที่ 16


   จากคำถามที่ว่าทำไม ทร ไทยไม่ออกแบบเรือเอง ทั้งที่มีนายทหารที่จบวิศกรรมก็เยอะ  

   คำถามนี้เคยมีคนถามแล้วครับและคำตอบจากนายทหารผู้รับผิดชอบโครงการซึ่งได้ตอบไว้ในหนังสือ สมรภูมิเล่มที่เป็นสกู๊ปพิเศษ เรือหลวงกระบี่ นั่นท่านได้ให้ความเห็นไว้ว่า

          การที่จะออกแบบเรือขึ้นเองนั้นไม่ใช่ว่านายทหารเรือนั้นจะทำเองไม่ได้ หรือไม่มีความสามารถ หากแต่ว่าการที่จะสร้างแบบเรือขึ้นมาได้ ให้มีมาตรฐานที่ถูกต้องตามหลักสากลนั้น ต้องใช้งบประมาณที่สูงมากเพราะไม่เพียงแค่การออกแบบในกระดาษหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียว แล้วจะสามารถสร้างเรือที่มีประสิทธิภาพและสมบูรณ์แบบได้ ต้องมีการทดสอบ โดยการทดสอบนั้นอาจต้องมีการสร้างเรือต้นแบบ ซึ่งถ้าไม่ผ่านตามมาตรฐาน ก็ต้องแก้ไขแบบ เป็นต้นแบบลำที่ 1 ต้นแบบลำที่ 2 ไปเรื่อยๆ เป็นต้น ซึ่งงบประมาณในการวิจัยพัฒนาโครงการที่ใหญ่ขนาดนี้ กองทัพเรือมีไม่เพียงพอ จึงได้ทำการซื้อแบบ (แบบที่กล่าวถึงคือแบบของเรือหลวงกระบี่) ที่ได้มีการสร้างใช้แล้ว และมีการทดสอบแล้วว่าได้ตามมาตรฐานสากล ซึ่งจะเป็นการประหยัดงบประมาณในการออกแบบเรือด้วยตนเองได้.........

 

โดยคุณ GT500 เมื่อวันที่ 14/08/2014 23:47:41