Após mais de dez anos, Dilma escolhe caças suecos para a FAB
Após mais de dez anos de discussão, a presidente Dilma Rousseff decidiu pela aquisição de caças Gripen NG, da sueca Saab, para a FAB (Força Aérea Brasileira) para o programa FX-2.
O ministro da Defesa, Celso Amorim, e o comandante da Aeronáutica, brigadeiro Juniti Saito, concederão entrevista coletiva, às 17h, para o anúncio da aquisição dos caças. No sábado, o Painel havia antecipado que a presidente havia comunicado ao presidente da França, François Hollande, que o Brasil não compraria da França as 36 aeronaves.
É um final surpreendente para a disputa, que teve ao longo do segundo governo Lula o francês Dassault Rafale como o principal favorito –o avião chegou a ser anunciado como escolhido pelo presidente e seu colega Nicolas Sarkozy em 2009, mas o governo brasileiro recuou após a insatisfação da FAB, que não havia sido consultada sobre a decisão.
Contra o Rafale sempre pesou a questão do preço: seu pacote inicial chegava a US$ 8 bilhões, embora descontos tenham sido negociados. No governo Dilma Rousseff, os americanos e seu Boeing F/A-18 passaram à dianteira por causa de sua oferta comercial mais atraente, de declarados US$ 7,5 bilhões mas com diversas compensações. A Boeing chegou a associar-se para vender o novo cargueiro da Embraer, o KC-390.
Só que o escândalo da espionagem da Agência Nacional de Segurança americana, que incluiu Dilma no rol das autoridades alvo de arapongagem, derrubou politicamente o F-18.
Com isso, o pequeno Gripen, avião criticado por ser menor do que os concorrentes e menos testado em combate, voltou à condição de favorito que a própria FAB havia declarado em seu primeiro relatório sobre a escolha, em dezembro de 2009. O pacote de 36 aviões foi oferecido por US$ 6 bilhões, mas a compra pode acabar em torno de US$ 5 bilhões.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและ ผู้บัญชาการทหารอากาศประกาศว่าเครื่องบิน Rafael ไม่ได้รับการคัดเลือกในโครงการ FX-2 และเครื่องบิน F-18 ก็ไม่ได้รับการคัดเลือกอันเนื่องมากจากเรื่องอื้อฉาวที่มีการดักฟังโทรศัพท์ของประธานาธิบดีบราซิล
Brasília (AFP) - Sweden's Saab edged out French and US rivals to win a multi-billion-dollar contract to supply Brazil's air force with 36 new fighter jets, Defense Minister Celso Amorim said Wednesday.
Saab's Gripen NG was in competition with the Rafale made by France's Dassault company and US aviation giant Boeing's F/A-18 fighter for the long-deferred FX-2 air force replacement program
"After analyzing all the facts, President Dilma Rousseff directed me to inform that the winner of the contract for the acquisition of the 36 fighter jets for the Brazilian Air Force is the Swedish Gripen NG," Amorim told a press conference.
He put the actual value of the contract, earlier estimated at $5 billion, at $4.5 billion as Saab offered the cheapest price.
"We are a peaceful country, but we will not remain defenseless," Rousseff said on the presidential palace's blog.
"It is important to realize that a country the size of Brazil must be ready to protect its citizens, its resources, its sovereignty.(…) We must be ready to deal with any threat," she added,
The announcement came after more than 10 years of discussions and repeated delays due to budgetary constraints.
It came as a surprise, as experts were forecasting a Dassault-Boeing duel.
Amorim said the Gripen, a state-of-the-art, multi-role fighter, got the nod based on performance, assurances of full technology transfer and overall costs.
The Swedish aircraft, which was favored by the air force brass, is capable of performing an extensive range of air-to-air, air-to-surface and reconnaissance missions.
Brazilian Defense Minister Celso Amorim (L) speaks next to Air Force Commander Juniti Saito during a …
It can carry up to 6.5 tons of armament and equipment.
Munitions include various missiles, laser-guided bombs, and a single 27 mm Mauser BK-27 cannon.
The Gripen is in use in the air forces of Britain, South Africa, the Czech Republic, Thailand and Hungary.
Rousseff had postponed a decision on the FX-2 replacement contract in early 2011 for budgetary reasons but air force chiefs made it clear that it was an urgent matter.
The air force said the new fighter aircraft were needed to maintain an adequate air defense as it is to retire its 12 Mirage jets in late December.
Brazil bought the refurbished Mirage 2000 C/Bs from France in 2005 for $80 million to fly for five years.
A key requirement for the sale was technology transfers so that the planes can be assembled in this country and give a boost to the domestic defense industry.
Amorim said negotiations with Saab would take 10-12 months, with the signing of the contract expected at the end of next year and delivery of the first aircraft 48 months later.
The defense minister said Brazil's top plane maker Embraer "will benefit greatly" from the deal.
The G1 news website quoted Air Force spokesman Marcelo Damasceno as saying the Gripen jets "will meet the operational needs of the Air Force for the next 30 years."
Wednesday's announcement was a major blow for Dassault which has so far failed to export the Rafale.
French President François Hollande personally lobbied for Dassault's plane during a state visit to Brazil last week.
Brazilian press reports said Rousseff was leaning toward the F/A-18 but recent disclosures of extensive US cyberspying on Brazil dashed Boeing's hopes.
In 2009, then president Luiz Inacio Lula da Silva had expressed a preference for the Rafale but later backtracked and left the choice to his successor Dilma Rousseff.
A source close to Dassault in Paris said the Rafale was the most expensive among the three aircraft in contention.
"There is a prototype of the Gripen NG, which already has 300 hours of flight," said Brazilian Air Force Commander Juniti Saito.
"We are going to develop the plant jointly with Sweden. with Saab, to have 100 percent of the plane's intellectual property," he added.
"Within the Air Force, the Gripen was always seen as the favorite because, even though it has many US-made components, it is a project that will be developed jointly with Brazil," the daily O Estado de Sao Paulo said.
ลืมลิ้ง
http://news.yahoo.com/brazil-picks-sweden-39-gripen-fighter-jet-media-193705850.html
http://www.assuntosmilitares.jor.br/2013/12/conheca-o-gripen-o-novo-caca-da-fab.html
เย่ๆ แปะๆๆๆๆ
ยืดอายุไปอีก
ของบราซิลเป็นรุ่น NG หรือเปล่าครับ แต่ก็ดีเพราะจำนวนการผลิตมากขึ้น ผลที่ได้คือราคารวมของรุ่น NG น่าจะถูกลงมาบ้าง
จะเปลี่ยนใจอีกรึเปล่า
ผมว่างานนี้น่าจะมาจากการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการประกอบขั้นสุดท้ายที่บราเซีย เอ้ย บราซิล จึงเป็นอะไรที่น่าสนใจแถมรุ่น NG ก็ถือว่ามีขีดความสามารถสูงกว่ารุ่น C/D อยู่พอสมควร
บราซิลมีโครงการใหญ่ๆอยู่ในตอนนี้2โครงการคือ F-X2 โปรแกรมของกองทัพอากาศ คือการจัดหาเครื่องบินทันสมัยรุ่นใหม่จำนวน36ลำในรอบแรก และเครื่องบินที่ว่านี้ควรจะใช้งานในเรือบรรทุกเครื่องบินได้ด้วย เพราะกองทัพเรือจะจัดหารอบที่2ในภายหลัง(เป็นที่มาของ Sea Gripen) ตัวเต็งคือ F/A-18E ราฟาล และ Gripen NG เรียงตามนี้ F/A-18E อเมริกาเสนอจะให้เงินกู้ประธานาธิบดีชอบ ราฟาลนักการเมืองและประชาชนชอบมาก และGripenทหารอากาศชอบมากมาตั้งแต่เริ่มโครงการแล้ว สรุปว่างานนี้ซื้อตามใจคนใช้ครับดีใจกับเขาด้วย
Gripen NG ขายกับบราซิลได้36ลำ + 22ลำของสวิส ถือว่าเยอะพอสมควรกับเครื่องบินที่ใหม่มากแบบนี้ ส่วนของสวีเดนเองก็มีการจัดหาจำนวนหนึ่งอย่างแน่นอนและมีการนำเครื่องเดิมไปปรับปรุงให้มันสมัยด้วย แต่ด้วยโครงสร้างเก่าน่าจะได้ประมาณGripen C++ อะไรประมาณนี้มั้งครับ ก้าวต่อไปของSAAB คือขายSea Gripen ให้กับกองทัพเรือบราซิล
ส่วนอีกอันคือ PROSUPER program ของกองทัพเรือ ที่มีความต้องการเรือ11ลำได้แก่ 5 Offshore Patrol Vessels, 5 Escort Vessels(เรือฟริเกตทดแทนเรือType 22) and 1 Logistic Supply Vessel to be built in Brazil for the Brazilian Navy โครงการนี้บราซิลจัดหาเรือ OPV มาแล้ว3ลำ ส่วนที่เหลือยังอยู่ในขั้นตอน แต่เมื่อวานนี้มีข่าวและภาพเรือคอร์เวตขนาด2,500ตันชื่อรุ่นCv03ที่เขาจะสร้างเองโผล่ขึ้นมาด้วย(ปรับปรุงมาจากเรือคอร์เวตชั้นBarroso) เรือลำนี้ Brazilian Navy's Ship Design Center เขาออกแบบเองมีความยาว103เมตร กว้าง 11.4เมตร ติดอาวุธและเรดาร์ก็ตามภาพโดยน่าจะใช้จรวดเอ๊กโซเซต์และจรวดต่อสู้อากาศยานที่พัฒนาร่วมกับแอฟริกาใต้ โดยจะเริ่มก่อสร้างในเดือนธันวาคม2014 ราคาของเรือมีแนวโน้มว่าถ้าโครงการล่าช้าไปอีก4ปีจะมีมูลค่าถึง400ล้านเหรียญ แล้วเรือฟริเกตขนาด6,000ตันของเขาที่อยากสร้างเองเช่นกันราคาจะแตะที่เท่าไหร่กันแน่ ตามลิงค์มีลำที่ติดคล้ายImast400ด้วยแต่เหมือนเขาจะเลือกSMART-Sมากกว่า เป็นประเทศที่ยังใช้ปืนหลักของเรือขนาด4.5นิ้วและปืนรองขนาด40มม.แบบเดิมไม่มีเปลี่ยน ขนาดType26ของอังกฤษเองตามภาพโมเดลยังเปลี่ยนไปใช้ปืน5นิ้วของอิตาลีแล้วเลย
แต่บางทีอาจมีฟ้าผ่ากลางวันแสกๆใส่ สเปน(F-100) เกาหลีใต้(KDX-II)และฝรั่งเศส(FREMM) ก็ได้นะครับ กองทัพเรือบราซิลอาจะเลือกสร้างเรือคอร์เวตรุ่นนี้ใช้ทดแทนไปก่อนจำนวน5ลำ และรอจัดหาเรือType23มือ2ของอังกฤษที่จะเริ่มปลดประจำการในปี2023หรืออีก10ปีแทนก็ได้ อาจจะล่าช้าไปบ้างซัก4-5ปีเมื่อเทียบกับสร้างเรือใหม่เอี่ยมขนาดใหญ่ที่ตนเองยังไม่ถนัดแต่ก็ประหยัดไปได้เยอะทีเดียว ไว้รอให้อู่ต่อเรือภายในประเทศมีความพร้อมมากกว่านี้ค่อยเริ่มใหม่ก็ยังไม่สาย
หนึ่งในofferที่SAABเสนอกับบราซิล ซึ่งทั้งราฟาลและF/A18E เลือกที่จะลดราคาสู้และขายทั้งเครื่องบินและอาวุธของตนเองมากกว่า แน่นอนครับมีค่าใช้จ่ายสำหรับปรับปรุงเครื่องบินแน่นอน(เหมือนเรือฟริเกตของเรานั่นแหละ)แต่คนใช้จะได้ของตามที่ตัวเองต้องการซึ่งมีผลดีกับการวางแผนและพัฒนากองทัพในอนาคต
offerแบบนี้ก็ว่ากันไปครับ ประสิทธิภาพอาจลดลงมาบ้างเมื่อเทียบกับอุปกรณ์จากประเทศค้าอาวุธขนาดใหญ่ เพียงแต่พอจะพึงพาตนเองได้บ้างไม่มากก็น้อย อยากรู้Datalinkของเขาจังมีธง2ประเทศเลยแฮะ เหอๆๆ
ของเค้าดีจิงๆเอ๊ยจริงๆ ส่วนตัวเมื่อเห็นข่าวนี้คิดว่าโครงการพีชสุวรรณภูมิของ ทอ. คุ้มค่าครับ
บราซิลยังจับมือกับแอฟริกาใต้พัฒนาจรวด A-Darter (Agile-Darter) ขึ้นมาเพื่อใช้งานอีกด้วย จรวดรุ่นนี้มีระยะยิง20กม.สามารถยิงกลับหลัง180องศาได้ ประสิทธิภาพโดยรวมvk0เป็นรองiris-tและaim9xอยู่บ้างแต่ราคาถูกกว่าและผลิตได้เองในประเทศ โดยแอฟริกาใต้จะใช้กับกริเพนและบราซิลจะใช้กับF-5ของตัวเอง ซึ่งก็คงรวมเครื่องบินรุ่นใหม่ล๊อตใหญ่นี้ด้วยอย่างแน่นอน
ดูจากรูปการณ์แล้ว แอฟริกาใต้คงไม่ขายกริเพน26ลำของตนเองแน่นอนเพราะมีแนวทางในการพัฒนากองทัพที่ดีมาก เพียงแต่ตอนนี้เงินมีน้อยเลยซีลเก็บไว้ก่อนเท่านั้นแหละ
เท่าที่อ่านหลายๆข่าว ราคาทั้งโครงการประมาณ 4.5 - $5 billion สำหรับเครื่องบิน 36 ลำ
ตกลำละ 125 - 139 M US$ ราคากระโดดจากรุ่น C/D (ที่ประมาณ 40-50 M US$) มามากเหลือเกิน
ปล. ราคาที่เสนอในโครงการนี้ของบลาซิล
FA18 E/F 7.5 $ billion ตกลำละ 208 M US$
Rafael 8 $ billion ตกลำละ 222 M US$
เห็นราคาอย่างนี้แล้ว โอกาศที่ไทยจะจัด Gripen E/F ท่าจะลำบาก แล้ว F35 ราคามันจะโดดไปที่เท่าไหร่เนี่ย
Saab ชนะในส่วนของโครงการ FX-2 ของกองทัพอากาศแล้ว ทีนี้มาลุ้นในโครงการต่อไปกันครับว่า จะประสบความสำเร็จไหมในกองทัพเรือบราซิล ผมมีภาพโมเดลที่เขาทำเอาไว้ มาให้ดูคับ ภาพจาก http://globalmilitaryreview.blogspot.com/2013/10/saab-offers-sea-gripen-carrier-borne.html
ลำละสองร้อยล้านไม่ใช่แล้วครับ
ราฟาลประมาณหนึ่งร้อยล้านดอลล์ครับ อันนี้ราคารวมทั้งโครงการไม่ใช่แค่ซื้อเครื่องมาเปล่าๆ
เอฟสามสิบห้าขณะนี้ราคาประมาณร้อนสามสิบห้าล้านดอลล์
เเต่ผมว่าผมสนใจโมเดลเรือบรรทุกเครื่องบินในภาพมากกว่ามันรุ่นไหนกัน ใช่ที่สวีเดนออกเเบบเฉพาะให้ใช้งานกับพริเพนหรือปล่าวนะ การออกเเบบดูเเปลกตาไปหน่อยเเต่ก็ดูดีทีเดียว
^
São Paulo ของบราซิลครับ เคยเป็นFochของฝรั่งเศส ประจำการด้วยSuper Etendard(ที่ในred storm risingโดนยิงจมไปนั่นแหละ)
ปัจจุบันประจำการด้วยA-4 SkyhawkกับSH-3 SeaKing (และยังใช้ซ้อมร่วมกับทร.อาร์เจนตินาด้วย) เครื่องกังหันไอน้ำ มีอาวุธป้องกันตัวคือปืนเรือ100mmกับCrotaleแล้วก็Simbad
ผมว่าการออกแบบเรือมันก็ปกตินะครับ แค่โดนตัดแบบมาแค่ครึ่งลำ ไม่เต็มลำ - -
ตามคาดการณ์ไม่มีผิดวันนี้SAABโชว์ข้อมูลSea Gripenบ้างแล้ว เพราะกองทัพเรือบราซิลต้องการเครื่องบินใหม่อีกประมาณ24ลำ ถ้าทำได้ตามเป้า60ลำเลยนะครับ
เห็นหัวเรือแบบนี้แล้วคุ้นบ้างไหมครับถ้าSABทำให้เครื่องบินลงจอดบนเรือหลวงจักรีได้เขาก็ขายกองทัพเรือเราได้อีกซัก8-12ลำแน่นอน (ตอนบินขึ้นคงไม่ยากเท่าไหร่เพราะลานบินยาวพอและเครื่องบินไม่หนักมาก แต่ตอนลงจะลำบากหน่อยในเรื่องลวดเกี่ยวถ้าไม่เพิ่มลานบินขึ้นมาแบบเอียงๆซึ่งต้องเสียเงินอีก) แต่เป็นอนาคตไกลๆซัก7-10โน่นและยังหาความแน่นอนกับกองทัพเรือเราไม่ได้
Brazil's decision to procure the Saab JAS 39 Gripen E to satisfy its F-X2 fighter replacement programme has breathed new life into the company's Sea Gripen concept, a source told IHS Jane's on 19 December.
Speaking on condition of anonymity, the source said that the deal for 36 aircraft for the Brazilian Air Force "opens up a whole new realm of possibilities" for the Sea Gripen, with the Navy having a notional requirement for 24 aircraft to operate from its Sao Paulo aircraft carrier.
Having targeted the concept at Brazilian and Indian naval requirements, Saab now has a programmatic and industrial presence in one of those countries giving it an invaluable foothold with which to promote its Sea Gripen.
Further to the opportunities afforded by the F-X2 deal, the source told IHS Jane's that discussions with India have been taking place behind the scenes. "There has been a conversation with the Indian Navy, which is looking at the Sea Gripen separate to the [Indian Air Force] MMRCA [Medium MultiRole Combat Aircraft requirement]," he said, adding: "The Indian Navy [interest in Sea Gripen] never went away."
First revealed by Saab in 2010, the Sea Gripen concept features a number of navalised enhancements to the baseline Gripen E fighter to make it suitable for carrier operations. These include a strengthened undercarriage, bigger brakes, and a beefed-up tail hook.
The standard Gripen already has a large number of the attributes for carrier operations, such as a high precision landing capability, a high pitch and roll rate authority and precision glide slope control, a reinforced airframe and enhanced anti-corrosion protection. Its undercarriage and airframe is already capable of a sink rate of 15 ft/s, though this would need to be increased to about 25 ft/s for carrier operations.
As Saab is pitching the Sea Gripen for 'short take-off, but arrested recovery' (STOBAR) operations, it does not need to be equipped with the nosewheel-mounted launch bar required for 'catapult-assisted take-off, but arrested recovery' (CATOBAR) ships. As such, it could operate from both types of carriers, making it a suitable option for the Indian Navy's STOBAR ships INS Viraat and INS Vikramaditya , and future indigenous carrier; as well as the Brazilian Navy's CATOBAR Sao Paulo (it should be noted that the lack of a 'ski jump' on this ship might present issues in terms of the Sea Gripen's maximum take-off weight).
According to the source, Saab has completed all of the feasibility studies for the Sea Gripen and now just requires a launch customer to fund further development and production. While Brazil's F-X2 announcement does not yet provide this, its implications could be very fortuitous for the concept. As the source put it to IHS Jane's ; "The Brazilian deal currently changes nothing [for the Sea Gripen], but could change everything."
คุณ superboy ไม่ถามทร.ก่อนเหรอครับว่ามีงป.หรือเปล่า
ฮา
เรือฟริเกตสมรรถนะ(เกือบ)สูงยังต้องผ่อนทีละลำ
Gripen NG เปลี่ยนเครื่องยนต์ทำให้แรงขับเพิ่มขึ้น 20% เหตผลเพราะการนี้หรือเปล่าเนี่ย
ผมว่าการเพิ่มแรงขับเครื่องไม่เกี่ยวกับโครงการนี้หรอกครับแม้จะมีผลต่อเนื่อง
เพราะตามธรรมดาการพัฒนนาเครื่องบินการเพิ่มกำลังเครื่องยนต์ก็เป็นสิ่งปกติอยู่แล้วเพื่อเพิ่ม max take off weight และคุณสมบัติอื่นๆเช่นระยะบิน (ขนน้ำมันเพิ่ม) จำนวอาวุธ เป็นต้น
ยิ่งกริปเป้นกำลังเครื่องถูกโจมตีเป็นจุดอ่อนอยู่ด้วย ทำให้เวลาการเข้าแข่งขันโครงการต่างๆมักมีคุณสมบัติตามชาวบ้านพอตัว
นอกจากกำลังขับที่สูงขึ้นราว 22% จนทำให้ Gripen NG สามารถบินเดินทางด้วยความเร็วเหนือเสียง โดยไม่ต้องใช้สันดาบท้าย (Super Cruise) ได้ด้วยแล้ว เจ้าเครื่องยนต์รุ่นใหม่ F-414 G เครื่องนี้ยังมีระบบบังคับทิศทางแรงขับ TVC ซึ่งช่วยเพิ่มสมรรถนะความคล่องแคล่วในการบิน และยังลดระยะทางวิ่งขึ้นได้มากอีกด้วยนะครับ เมื่อรวมกับเรดาร์รุ่นใหม่ที่เป็น AESA กับระบบ IRST รวมทั้งจอภาพขนาดมหึมาในห้องนักบิน และจุดติดตั้งอาวุธที่มีเพิ่มมากขึ้นเป็น 10 จุด โดยไม่ต้องติดตั้งถังเชื้อเพลิงภายนอก ดูแล้วต้องถือว่าน่าสนใจมากๆ
จากเว๊ป Defenseindustrydaily.com
ของ ทอ.สวีเดน รุ่น E ใช้การอัพเกรดจากรู่น C ที่มีอยู่เดิม
ของ สวิสต์ กับ บราซิล เป็นการผลิตใหม่
ของ ฮังการี่ ที่เช่า ก็เป็นการอัพเกรดจากรุ่น A ที่มีอยู่เดิม
ถ้าสมมติ ได้ดีล ไทย และ บราซิล กับ อินเดีย เพิ่มเติมในอนาคต...ดู ๆ แล้ว Jas-39 น่าจะยังมีอนาคตอีกไกล
ส่วนของ มาเลเซีย ถ้าได้ดีล ค่อนข้างเชื่อว่า ใช้การ อัพเกรด จากรุ่น A Batch 2 ของ สวีเดน (กรณีถ้า มาเลเซียใช้การเช่า)
ส่วนของ ไทย ถ้่าจะใช้ Jas-39 มาทดแทนฝูง 211 ผมว่า การใช้ อัพเกรด จากรุ่น A Batch 1-2 ของ สวีเดน ก็น่าสนใจ ใช้การ เช่าซื้อ แบบ ฮังการี่ ก็ไม่น่าเกลียด และเชื่อว่า น่าจะใช้การ บาร์เตอร์เทรด ได้ด้วย
สวีเดน จะมีรุ่น A/B เหลือให้ อัพเกรด อีกกว่า 100 ลำ
ท่านจูดาสจะขายกริเพนให้อินเดียสงสัยฝรั่งเศสคงโกรธไม่ลืมหูลืมตาแน่ ราฟาลของเขาเพิ่งได้ดีลแรก(แต่จำนวนมากกว่าประเทศตัวเองอีก)เองนะครับคงไม่ยอมเด็ดขาด ส่วนเครื่องบินใช้ในเรือบรรทุกเครื่องบินใหม่ทั้ง2ลำ มี MIG-29Kเป็นเครื่องหลักอยู่แล้วและคอยเสริมด้วย LCA Mk2ที่กำลังพัฒนาอยู่ ถ้าขายได้จริงๆพล๊อตเรื่องยิ่งกว่านิยายDan Brownเสียอีกนะเนี่ย ไม่ได้บอกว่าเป็นไปไม่ได้นะครับแต่มันจะซ๊อคโลกไปนิด
Rafale ของ บราซิล ยังถูกเบี้ยวมาแล้วครับ
ซึ่งผมว่า ก็ไม่แน่เหมือนกัน ถ้าเกิดราคาของ Rafale มีการบานมากขึ้นอย่างสูง และรวมถึงความไม่แน่นอนในเรื่องการรับรองเรื่องอะไหล่ ที่อาจจะส่งผลให้ราคาโครงการสูงขึ้น
และไม่แน่อาจจะได้ไปลุ้นใน เรือบรรทุกเครื่องบิน ลำที่ 3 ที่อินเดีย มีแผนวางกระดูกงู ในปีหน้า
ซึ่งเรือลำนี้ น่าจะเป็นมาตรฐาน ยุโรป ซึ่งมีการบรรทุก บ.AEW ด้วย
ก็อาจจะหมายถึง การที่ อินเดีย มีแผนการวางกำลังใน ทะเลจีนใต้ ด้วยก็ได้ครับ
ถ้า มาเลเซีย ตัดสินใจ จัดหา JAS-39 และในขณะที่ ไทย ก็มี JAS-39
การที่ อินเดีย จะมี Sea Gripen ก็อาจจะดูเป็นพันธมิตร กันมากขึ้นก็ได้ครับ
ซึ่ง Gripen เอง ก็เกิดมาเพื่อ ปราม บ.ตระกูล Su อยู่แล้ว ซึ่งก็คือ บ.ต้นกำเนิดของ J-15 บนเรือบรรุทกเครื่องบิน จีน
ผมว่าอินเดียไม่น่าเอาซีกริปเป้นหรอกครับ นอกจากมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีในระดับที่น่าพอใจไม่ใช่แค่กะปริดกะปรอย (ดูเหมือนจะเป็นทีเด็ดของซาบในการเสนอโครงการทุกครั้ง) เพราะโครงการราฟาลเองก็มีการอินทิเกรทของอินเดียเข้าไปด้วยไม่ได้ซื้อสำเร็จมาหมด ถ้าทร.อินเดียจะมองบ.สำหรับเรือขนบ.ใหม่ ราฟาลดูเป็นตัวเลือกที่ดีกว่าเพราะผ่านการใช้งานมาแล้วขณะที่ของซาบยังไม่มีต้นแบบเลย
สมรรถนะราฟาลก็ดีกว่า เรื่องการทำงานร่วมกับ AEW ก็ไม่มีปัญหาเพราะราฟาลมี link 16 สามารถใช้กับ AEW อย่าง EC-2 ขึ้นเรือได้พอดี
อีกทั้งด้วยสถานะของประเทศอินเดียการต่อกรกับซู (ซึ่งอินเดียก็มีใช้) ไม่จำเป็นต้องใช้ยุทธศาสตร์แบบประเทศรองบ่อนแบบที่ ยาส 39 ถูกออกแบบมาหรอกครับ
เรือบรรทุกเครื่องบิน ลำที่ 3 ของ อินเดีย จะมี ฝูงบิน ผสม กันครับ ทั้งขนาดหนัก และ เบา
ส่วน Sea Gripen ก็ไม่ได้เป็นเครื่องบินแบบใหม่อะไรครับ มันก็คือ Gripen ที่สามารถ ขึ้น-ลง เรือบรรทุกเครื่องบินได้
คล้ายกับ BAE Hawk และ T-45 Goshawk ครับ
ส่วน AEW ก็ไม่แน่ว่าจะเป็น รุ่นใด...ปัจจุบัน อินเดีย ก็มี อีรี่อาย ใช้งานอยู่..ซึ่ง Saab อาจจะตอบสนอง เรื่องนี้ ได้ดีกว่า AEW จาก รัสเซีย หรือ สหรัฐ...
NS Vishal is expected to be launched before 2015 and commissioning is expected before 2025.[10]
The carrier air battle group will consist of possible mix of Naval versions of Tejas, Sukhoi/HAL FGFA, Advanced Medium Combat Aircraft(AMCA) and the Rafale M fighter jets are likely to operate from the aircraft carrier.[11] The navy evaluated the Electromagnetic Aircraft Launch System (EMALS), which is being used by the US Navy in their latest Gerald R. Ford-class aircraft carriers. General Atomics, the developer of the EMALS, was cleared by the US government to give a technical demonstration to Indian Navy officers, who were impressed by the new capabilities of the system. The EMALS enables launching varied aircraft including unmanned combat air vehicles(UCAV). The carrier is expected to enter service by 2025.[12][13][14] On 1 August 2013 Vice Admiral RK Dhowan, while talking about the detailed study underway on the IAC-II project, said that nuclear propulsion was also being considered.[15]
Naval planners believe that, with INS Vishal likely to enter service in the early 2020s, they should plan on operating UCAVs from that carrier, as well as an AEW aircraft, and medium and light fighters. “We could greatly expand our mission envelope with UCAVs, using the pilotless aircraft for high risk reconnaissance and SEAD (suppression of enemy air defences). Mid-air refueling would let us keep UCAVson mission for 24-36 hours continuously, since pilot fatigue would not be a factor,” says a naval planner.[16]
อันที่จริงโครงการSea Gripenใส่เรดาร์AESAของอิสราเอลนี่เกิดมาเพื่อกองทัพเรืออินเดียแท้ๆ แต่ดูจะไปรุ่งกับกองทัพเรือบราซิลมากกว่าก็เลยขายได้น้อยกว่าตามไปด้วย ปัญหาของบราซิลคืองบประมาณที่มีจำกัดแต่ปัญหาของอินเดียคือเทดโนโลยีภายในประเทศและคนที่จะบริหารโครงการขนาดใหญ่ให้สำเร็จ ใครทำได้อย่างที่พูดจริงๆอินเดียจะปลดแอกตัวเองจากรัสเซียอย่างแน่นอน (MIG29Kที่เคยโดนดองเค็มไปแล้วกลับมาเกิดได้อีกครั้งเพราะอินเดียนี่แหละ จนสุดท้ายรัสเซียต้องซื้อไปใช้เองบ้างก็นับเป็นเรื่องที่แปลกดี)
ตอนนี้ก็มีอิสราเอลที่นอนกินผลบุญจากเรดาร์ติดเรือรบทุกลำและจรวดพื้นสู่อากาศตระกูลบารัคที่มียอดผลิตมากขื้นเรื่อยๆ ทั้งยังเรื่องปรับปรุงเครื่องบินที่เป็นงานเก่งของตัวเองอยู่แล้ว และยังไอ้โน่นไอ้นี่อีกเยอะแยะสารพัด
มาเลย์นี้ ผมว่าไม่เหมาะที่จะซื้อ กริฟเป้น นะครับตามความคิดผม ผมว่าควรมองเครื่อง 2 ยนต์จะเหมาะกับเมเลย์ มากกว่า คิดว่า มีที่น่าสนใจ 3 รุ่น คือ
เอฟ 18 / ซู 30 /ราฟาล ซื้อส่วนตัวคิดว่าควรเป็น ราฟาล
ส่วนไทยเราผมว่า จัด แจส 39 ซี อีก 6 ลำ ควาร เอาลง กองบิน 7 ครับ อิอิ ยังไงผมก็ยังชอบฝูง 18 เครื่อง มากกว่า 12 เครื่องครับ
ปล. สโนว์เดน ไอ้แสบ ทำเมกาเสีย ดีลนี้เลยนะผม ว่า ฮ่าๆ
ผมคิดว่าไทยน่าจะจัดหา Jas39 A/B upgrade สัก 1 ฝูง (18 เครื่่อง) มือสอง มาแทน F5 E/F โดยวิธีบาร์เตอร์เทรดน่าจะดีน่ะครับ