เอกสารนี้ยืนยันการโอนเรือฟริเกต2ลำมาให้ประเทศไทย โดยเป็นการTransfers by Grantจึงเสียแค่ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงเรือเท่านั้น แต่ในเอกสารไม่ได้บอกราคาเอาไว้หรือผมหาไม่เจอก็ไม่รู้สิ เพื่อนๆลองอ่านแล้ววิเคราะห์กันหน่อยนะครับ
อันที่จริงข้อมูลที่นำมาลงเหมือนข่าวตอนปลายปีที่แล้วมาก แต่เอกสารนี้ลงวันที่14พฤศจิกายน2013คือเมื่อ5วันที่แล้ว ภาพประกอบผมดึงมาจากPDFไฟล์ในลิงค์แรกสุดนะครับ พอดีมันคนหละหน้าเลยต้องตัดๆแปะๆเอาหน่อย
https://www.govtrack.us/congress/bills/113/s1683/text
http://www.opencongress.org/bill/s1683-113/text
http://0-www.gpo.gov.librus.hccs.edu/fdsys/pkg/BILLS-113s1683rs/html/BILLS-113s1683rs.htm
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
[Congressional Bills 113th Congress] [From the U.S. Government Printing Office] [S. 1683 Reported in Senate (RS)] Calendar No. 247 113th CONGRESS 1st Session S. 1683 To provide for the transfer of naval vessels to certain foreign recipients, and for other purposes. _______________________________________________________________________ IN THE SENATE OF THE UNITED STATES November 12, 2013 Mr. Menendez (for himself, Mr. Corker, and Mr. Coats) introduced the following bill; which was read twice and referred to the Committee on Foreign Relations November 14, 2013 Reported by Mr. Menendez, without amendment _______________________________________________________________________ A BILL To provide for the transfer of naval vessels to certain foreign recipients, and for other purposes. Be it enacted by the Senate and House of Representatives of the United States of America in Congress assembled, SECTION 1. APPROPRIATE CONGRESSIONAL COMMITTEES DEFINED. In this Act, the term ``appropriate congressional committees'' means-- (1) the Committee on Foreign Relations of the Senate; and (2) the Committee on Foreign Affairs of the House of Representatives. TITLE I--TRANSFER OF EXCESS UNITED STATES NAVAL VESSELS SEC. 101. SHORT TITLE. This title may be cited as the ``Naval Vessel Transfer Act of 2013''. SEC. 102. TRANSFER OF NAVAL VESSELS TO CERTAIN FOREIGN RECIPIENTS. (a) Transfers by Grant.-- (1) Authority.--The President is authorized to transfer vessels to foreign countries on a grant basis under section 516 of the Foreign Assistance Act of 1961 (22 U.S.C. 2321j), subject to paragraph (2), as follows: (A) Mexico.--To the Government of Mexico, the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates USS CURTS (FFG-38) and USS MCCLUSKY (FFG-41). (B) Thailand.--To the Government of Thailand, the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates USS RENTZ (FFG-46) and USS VANDEGRIFT (FFG-48). (b) Transfer by Sale to the Taipei Economic and Cultural Representative Office in the United States.--The President is authorized to transfer the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates USS TAYLOR (FFG-50), USS GARY (FFG-51), USS CARR (FFG-52), and USS ELROD (FFG-55) to the Taipei Economic and Cultural Representative Office in the United States (which is the Taiwan instrumentality designated pursuant to section 10(a) of the Taiwan Relations Act (22 U.S.C. 3309(a))) on a sale basis under section 21 of the Arms Export Control Act (22 U.S.C. 2761). (c) Transfer to Pakistan by Grant Upon Certifications.-- (1) Authority.--The President is authorized in each of fiscal years 2014 through 2016 to transfer to the Government of Pakistan one of the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates USS KLAKRING (FFG-42), USS DE WERT (FFG-45), and USS ROBERT G. BRADLEY (FFG-49) on a grant basis under section 516 of the Foreign Assistance Act (22 U.S.C. 2321j), 15 days after certifying to the appropriate congressional committees that the Government of Pakistan is-- (A) cooperating with the United States Government in counterterrorism efforts against the Haqqani Network, the Quetta Shura Taliban, Lashkar e-Tayyiba, Jaish-e-Mohammed, al Qaeda, and other domestic and foreign terrorist organizations, including taking concrete and measurable steps to-- (i) end Government of Pakistan support for such groups; (ii) prevent such groups from basing and operating in Pakistan; and (iii) prevent such groups from carrying out cross-border attacks into neighboring countries; (B) not supporting terrorist activities against United States or coalition forces or United States citizens in Afghanistan or elsewhere, or any organizations planning, conducting, or advocating such activities; (C) taking concrete and measurable steps to dismantle improvised explosive device (IED) networks and interdict precursor chemicals used in the manufacture of IEDs; (D) not engaging in, and taking concrete and measurable steps to prevent the proliferation of nuclear-related material, equipment, technology, and expertise; (E) issuing visas in a timely manner for United States visitors engaged in counterterrorism efforts, assistance programs, and Department of State operations in Pakistan; (F) providing humanitarian organizations access to detainees, internally displaced persons, and other Pakistani civilians affected by the conflict; (G) taking steps towards releasing Dr. Shakil Afridi from prison and clearing him of all charges; and (H) ensuring that the military and intelligence agencies of the Government of Pakistan are not intervening into political and judicial processes in Pakistan. (2) Waiver.-- (A) In general.--The President may waive the certification requirements under paragraph (1) in any of fiscal years 2014 through 2016 if the President determines, and notifies the appropriate congressional committees, that it is in the national security interests of the United States to waive such requirement. (B) Effective date of waiver.--The waiver shall become effective 45 days after the President provides to the appropriate congressional committees a report detailing the reasons for making the determination and an analysis of the degree to which the actions of the Government of Pakistan do or do not satisfy the criteria in subparagraphs (A)-(H) of paragraph (1). (d) Alternative Transfer Authority.--Notwithstanding the authority provided in subsections (a), (b), and (c) to transfer specific vessels to specific countries, the President is authorized to transfer any vessel named in this title to any country named in this section, subject to the same conditions that would apply for such country under this section, such that the total number of vessels transferred to such country does not exceed the total number of vessels authorized for transfer to such country by this section. (e) Grants Not Counted in Annual Total of Transferred Excess Defense Articles.--The value of a vessel transferred to another country on a grant basis pursuant to authority provided by subsection (a) or (c) shall not be counted against the aggregate value of excess defense articles transferred in any fiscal year under section 516 of the Foreign Assistance Act of 1961 (22 U.S.C. 2321j). (f) Costs of Transfers.--Any expense incurred by the United States in connection with a transfer authorized by this section shall be charged to the recipient notwithstanding section 516(e) of the Foreign Assistance Act of 1961 (22 U.S.C. 2321j(e)). (g) Repair and Refurbishment in United States Shipyards.--To the maximum extent practicable, the President shall require, as a condition of the transfer of a vessel under this section, that the recipient to which the vessel is transferred have such repair or refurbishment of the vessel as is needed, before the vessel joins the naval forces of that recipient, performed at a shipyard located in the United States. (h) Expiration of Authority.--The authority to transfer a vessel under this section shall expire at the end of the 3-year period beginning on the date of the enactment of this Act. TITLE II--ADDITIONAL PROVISIONS SEC. 201. ENHANCED CONGRESSIONAL OVERSIGHT OF ARMS SALES, INCLUDING TO THE MIDDLE EAST. Section 36 of the Arms Export Control Act (22 U.S.C. 2776) is amended by adding at the end the following new subsection: ``(i) Prior Notification of Shipment of Arms.--At least 30 days prior to a shipment of defense articles subject to the requirements of this section at the request of the Chairman or Ranking Member of the Committee on Foreign Relations of the Senate or the Committee on Foreign Affairs of the House of Representatives, the President shall provide notification of such pending shipment, in unclassified form, with a classified annex as necessary, to the Committee on Foreign Relations of the Senate and the Committee on Foreign Affairs of the House of Representatives.''. SEC. 202. PROVISION OF NATIONAL SECURITY INFORMATION TO CONGRESSIONAL FOREIGN AFFAIRS COMMITTEES. (a) New Directives or Policy Guidance.--The President shall provide to the appropriate congressional committees copies of any new Presidential directives or policy guidance on national security, including on United States counterterrorism policies, and brief such committees on such directives or guidance, not later than five days after issuance of such directives or guidance. (b) Previous Directives or Policy Guidance.--Not later than 15 days after the date of the enactment of this Act, the President shall provide to the appropriate congressional committees copies of any directives or policy guidance described under subsection (a) that were issued on or after January 1, 2013, and prior to the date of the enactment of this Act. SEC. 203. REPORT ON UNITED STATES COMMITMENTS TO THE COUNTRIES IN THE MIDDLE EAST. (a) Initial Report.--Not later than 30 days after the date of the enactment of this Act, the President shall submit to the appropriate congressional committees a report that contains-- (1) a copy of each assurance made by United States government officials to officials of the government of each country in the Middle East, including such assurances made to the Government of Israel regarding Israel's security and maintenance of Israel's qualitative military edge for the period beginning on January 1, 1975, and ending on the date of the enactment of this Act; and (2) an analysis of the extent to which, and by what means, each such assurance has been and is continuing to be fulfilled. (b) Subsequent Reports.-- (1) New assurances and revisions.--Not later than 15 days after the United States Government makes or revises any security assurance to an official of any of the countries covered by subsection (a)(1), including such assurances made to the Government of Israel regarding Israel's security and maintenance of Israel's qualitative military edge, as well as any other assurance made to Israel that is provided in conjunction with exports under the Arms Export Control Act (22 U.S.C. 2751 et seq.), on or after the date of the enactment of this Act, the President shall transmit to the appropriate congressional committees a report containing a copy of each such security assurance and an analysis of the extent to which, and by what means, each such security assurance has been and is continuing to be fulfilled. (2) Five-year reports.--Not later than five years after the date of the enactment of this Act, and every five years thereafter, the President shall transmit to the appropriate congressional committees a report that contains the information required under subsection (a) with respect to each assurance described in such subsection and each revision to such assurances made during the preceding five-year period. (c) Form.--Each report required by this section shall be transmitted in unclassified form, but may contain a classified annex, if necessary. SEC. 204. REVISION OF STATUTORY REFERENCES TO FORMER NATO SUPPORT ORGANIZATIONS AND RELATED NATO AGREEMENTS. Section 21(e)(3) of the Arms Export Control Act (22 U.S.C. 2761(e)(3)) is amended-- (1) by striking ``Maintenance and Supply Agency of the North Atlantic Treaty Organization'' both places it appears and inserting ``North Atlantic Treaty Organization (NATO) Support Organization and its executive agencies''; (2) in subparagraph (A)(i), by striking ``weapon system partnership agreement'' and inserting ``support partnership agreement''; and (3) in subparagraph (C)(i)(II), by striking ``a specific weapon system'' and inserting ``activities''. SEC. 205. INCREASE IN ANNUAL LIMITATION ON TRANSFER OF EXCESS DEFENSE ARTICLES. Section 516(g)(1) of the Foreign Assistance Act of 1961 (22 U.S.C. 2321j(g)(1)) is amended by striking ``$425,000,000'' and inserting ``$500,000,000''. SEC. 206. INTEGRATED AIR AND MISSILE DEFENSE PROGRAMS AT TRAINING LOCATIONS IN SOUTHWEST ASIA. (a) Authority.--Notwithstanding section 544(c)(1) of the Foreign Assistance Act of 1961 (22 U.S.C. 2347(c)(1)), for fiscal years 2014 through 2016, the President is authorized to enter into cooperative arrangements providing for the participation of foreign and United States military and civilian defense personnel for integrated air and missile defense programs in Southwest Asia without charge to participating countries and, notwithstanding section 632(d) of such Act (22 U.S.C. 2392(d)), without charge to the fund available to carry out chapter II of part II of the Foreign Assistance Act (22 U.S.C. 2311 et seq.). (b) Report.--Not later than one year after the date of the enactment of this Act, and annually thereafter until a final summary report is submitted after the end of fiscal year 2016, the President shall submit to the Committees on Armed Services and Foreign Relations of the Senate and the Committees on Armed Services and Foreign Affairs of the House of Representatives a report on the implementation of the authority provided under subsection (a), including a description of the numbers of such participating foreign personnel, the cost of such non- reimbursable arrangements, and prospects for equitable contributions from such countries in the future. Calendar No. 247 113th CONGRESS 1st Session S. 1683 _______________________________________________________________________ A BILL To provide for the transfer of naval vessels to certain foreign recipients, and for other purposes. _______________________________________________________________________ November 14, 2013 Reported without amendment
ทีแรกจะใส่ไว้ในกระทู้รวมแต่เห็นว่าเกี่ยวข้องกับเรามากเลยแยกออกมาดีกว่า ความเห็นส่วนตัวคือเรือUSS RENTZ (FFG-46) และ USS VANDEGRIFT (FFG-48)มาแน่นอน แต่อาจจะช้ากว่าข้อมูลคราวที่แล้วไปบ้างเพราะอเมริกายังต้องประจำการเรืออยู่ แต่ข้อมูลของปากีสถานยาวมากเลยนะครับ ผมอ่านแล้วนึกว่าเขาส่งมอบรัฐธรรมนูญกันเสียอีก ของเรามีแค่2บรรทัดดีแล้วจะได้ไม่วุ่นวายให้มากไปกว่านี้ :)
ตรงนี้เป็นsummaryของเว็บนี้ครับ เลือนลงไปอ่านที่เขียนว่า.Read the Rest
http://www.opencongress.org/bill/s1683-113/show
Official Summary
Naval Vessels Transfer Act of 2013 - Authorizes the President to transfer on a grant basis to:
(1) Mexico, the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates CURTS and MCCLUSKY; and
(2) Thailand, the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates RENTZ and VANDEGRIFT. Authorizes the President to transfer on a sale basis the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates TAYLOR, GARY, CARR, and ELROD to the Taipei Economic and Cultural Representative Office of the United States (which is the Taiwan instrumentality designated pursuant to the Taiwan Relations Act). Authorizes the President to transfer on a grant basis to Pakistan in each of FY2014-FY2016 one of the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates USS KLAKRING, USS DE WERT, and USS ROBERT G. BRADLEY after certifying to Congress that Pakistan is cooperating with the United States in counterterrorism and nonproliferation efforts, not supporting terrorist activities against the United States, and taking steps towards releasing Dr. Shakil Afridi. Authorizes the President to waive such certification requirements for U.S. national security interests. Authorizes the President to transfer any vessel named in this Act to any country named in this Act, but only if the total number transferred to a country does not exceed the total authorized by this Act for transfer to that country. States that:
(1) the value of vessels transferred on a grant basis shall not be counted against the aggregate value of excess defense articles transferred to countries in any fiscal year under the Foreign Assistance Act of 1961;
(2) transfer costs shall be charged to the recipient; and
(3) the country to which a vessel is transferred shall have necessary vessel repair and refurbishment carried out, to the maximum extent practicable, at U.S. shipyards (including U.S. Navy shipyards). Terminates transfer authority three years after enactment of this Act. Amends the Arms Export Control Act to direct the President to notify Congress before a shipment of certain defense articles. Directs the President to provide Congress with copies of any:
(1) new presidential directives or policy guidance on national security, including on U.S. counterterrorism policies; and
(2) directives or policy guidance that were issued on or after January 1, 2013, and before enactment of this Act. Amends the Foreign Assistance Act to increase funds available for transfers of excess defense articles. Authorizes the President, for FY2014-FY2016, to enter into cooperative arrangements providing for the participation of foreign and U.S. military and civilian defense personnel for integrated air and missile defense programs in Southwest Asia.
นี่เป็นอีก1เอกสารลงเมื่อวันที่ 13 พฤษจิกายน 2013 ข้อมูลโอนเรือเหมือนอันแรกแต่มีข้อมูลเรื่องขายอาวุธให้ต่างประเทศประกอบด้วย
https://www.govtrack.us/congress/bills/113/hr3470/text
Transfer of naval vessels to certain foreign recipients
(a)
The President is authorized to transfer vessels to foreign countries on a grant basis under section 516 of the Foreign Assistance Act of 1961 ( 22 U.S.C. 2321j ), as follows:
(1)
To the Government of Mexico, the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates USS CURTS (FFG–38) and USS MCCLUSKY (FFG–41).
(2)
To the Government of Thailand, the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates USS RENTZ (FFG–46) and USS VANDEGRIFT (FFG–48).
ผมว่ามันเป็นข่าวดีนะครับ แต่ผมแปลกใจว่าเค้าให้ฟรีแต่เสียค่าปรับปรุงใหม่ คนยังจะคัดค้าน ว่าด้วย ใช้เครื่องยนต์กินน้ำมันมาก เอามาไม่คุ้มมั่ง ไม่มีแท่น Mk.13 มาก็ไม่คุ้ม อยากรู้ว่า เค้าให้ฟรีเราดันไม่เอา หรือ ประเทศเราต้องใช้ของ มือ1 ตลอด ของมือสองให้ฟรีไม่เอาหยิ่งหรืออย่างนั้น ครับ เห็นตั้งนานละครับ ผมละงงจริง
พอจะทราบมั้ยครับว่า ถูกถอด หรือ ติดตั้งอะไรมาบ้าง
มาเงียบ ๆ แบบนี้แหละดีแล้วครับ ถ้ามีข่าวมันจะเสียหายได้อีกเยอะครับ ลองดูกรณี Alpha-Jet กับเรือดำน้ำแล้วกันลากเข้าการเมืองเรียบร้อย จบเกมส์ นักข่าวก็เล่นข่าวแบบไม่มืออาชีพเลย
คงเป็นการขออนุมัติ และเงื่อนไข ที่สภาครองเกรส กำหนดครับ....
ที่ผ่านมา คงเป็นขั้นตอนการขอ...แต่ตอนนี้ คงเป็นขั้นตอน อนุมัติ ว่า อนุมัติแล้ว...แต่กำหนด เงื่อนไข การให้ไว้ด้วย...
ทร.สหรัฐ และไทย จะไปทำอะไรที่นอกเหนือจากนี้ คงไม่ได้...
ตามข้อมูลเดิมของท่าน Fatboy...เรามีเวลาตัดสินใจ 3 ปี ครับ...ว่าจะรับ หรือ ไม่รับ...
(h) Expiration of Authority.--The authority to transfer a vessel
under this section shall expire at the end of the 3-year period
beginning on the date of the enactment of this Act.
ซึ่งถ้า พ้นกำหนดเวลาไป...
สหรัฐ ก็คงนำไปเป็นเป้าซ้อมยิง...ไปมอบให้ ประเทศอื่น ไม่ได้ อีกเช่นกัน...
ก่อนหน้านี้ ก็เคยมีอนุมัติ เรือ LST ชั้น Newport ให้ ไทย จำนวน 1 ลำ...แต่ ไทย คงปฏิเสธไปครับ...
สหรัฐ ก็เลยนำเป็นเป้าซ้อมยิง ในการฝึก Rimpac ปีไหน จำไม่ได้ครับ...
ดู ๆ แล้ว ข้อความเหมือนตอนที่ได้รับ เรือชั้น พุทธฯ แต่ตอนนั้นกำหนดมูลค่าราคาขายไว้...เพราะตอนนั้น เราขอซื้อ...
อันนี้ คือ ให้ฟรี แต่กำหนดว่า ต้องชำระค่าปรับสภาพ...
ค่อนข้างเชื่อว่า การส่งมอบเรือ น่าจะมีระบบอาวุธ ครบตามสภาพปัจจุบัน...เหมือนเรือชั้น พุทธฯ...
ซึ่งสถานะ ประเทศไทย จะแตกต่างจาก ปากีสถาน...การกำหนดข้อห้ามส่งมอบอาวุธ ไม่น่าจะมี...(ก่อนหน้านี้ ปากีสถาน รับมอบเรือ โดยไม่มี Phalanx และไม่แน่ใจ รวมถึงระบบอื่น ๆ อาจจะไม่ครบ)
ราคาปรับสภาพ น่าจะเป็นไปตามข้อมูลก่อนหน้านี้ จะอยู่ระหว่าง 40 - 100 ล้านเหรียญ ต่อ ลำ...
ของประเทศไทย โอนให้ ตาม (น่าจะสมัยสงครามเย็น)
grant basis under section 516 of the Foreign Assistance Act of 1961 (22 U.S.C. 2321j), subject to paragraph (2)
ของปากีสถาน โอนให้ ตาม
a grant basis under section 516 of the Foreign Assistance Act (22 U.S.C. 2321j),
เรือฟริเกตแฮมิลตันของฟิลิปปินส์จำนวน2ลำที่ได้รับโอนจากอเมริกาในปีนี้ วิกิแจ้งเอาไว้ว่าลำหละประมาณ10ล้านเหรียญ (แต่บางเว็บบอก15ล้านเหรียญ) นอกจากอุปกรณ์ตามภาพแล้ว ยังจะมีการติดตั้งปืนกล mk38 mod 2 จำนวน2กระบอกให้กับเรือทั้ง2ลำในภายหลังซึ่งน่าจะเดือนหน้านี้แหละครับ มูลค่า1.8ล้านเหรียญตกกระบอกหละ 0.9ล้านเหรียญหรือ27ล้านบาท โดยการสั่งซื้ออาวุธอยู่ในล๊อตเดียวกับอเมริกาสั่งไปติดเรือตัวเองเลย ไม่รู้ราคาห่างจากDS-30Mมากน้อยแค่ไหนเหมือนกัน
เพราะฉะนั้นถ้าเราได้เรือมาจริงๆอาวุธที่จะติดตั้งบนเรือคงคุยกันอเมริกาได้ (อาทิเช่นอยากติดRAMหรือฮาร์พูนเพิ่ม) เพียงแต่แท่งMK.13ไม่น่ามีแล้วหละครับเพราะเขาโละทิ้งหมดแล้ว อยู่ที่ว่าเรามีเงินลงอาวุธเท่าไหร่และคนเจรจาเขี้ยวลากดินมากน้อยแค่ไหนเท่านั้นเอง
PRESS RELEASE
WDC-158-2012
27 October 2012
WASHINGTON, D.C.— The Pentagon has awarded a $1.8 million contract for the purchase of modern weapons systems that would be installed in the BRP Ramon Alcaraz (PF16), the second high-endurance cutter that the Philippines recently acquired from the United States.
The Philippine Embassy said the purchase and installation of two Mk38 Mod 2 autocanon systems for the Alcaraz is part of a $24-million contract the Pentagon recently awarded to the Kentucky-based BAE Systems Land and Armaments Inc.
พอดีไม่ได้เป็นนักกฏหมายนะครับ
แต่เดาว่า เมื่อตอนต้นปี คือการเสนอร่างเข้าสภาให้อภิปราย แล้วให้โหวตว่าจะผ่านหรือไม่ผ่าน (มีเรื่องโต้แย้งว่าจะโอนเรือให้ตุรกีหรือไม่ เพราะมีพวกที่หนุนกรีกอยู่ในสภาแย้งว่า การโอนเรือให้ตุรกี เป็นการไม่ดีต่อกรีกที่เป็นสมาชิกนาโต ซึ่งถือว่าเป็นมิตรประเทศของ US)
ส่วนอันนี้ปลายปี ก็น่าจะเป็นร่างที่ผ่านการอภิปราย แก้ไข ลงมติ และประกาศเป็นทางการแล้ว(คลายๆกับไทบที่ประกาศลงราชกิจจานุเบกษา )
โดยมีข้อสังเกตุคือ ไม่มีโอนเรือ OHP ให้ตุรกี แต่มีการโอนเรือให้ ปากีสถานเพิ่มเข้ามา
"(c)Transfer to Pakistan by grant upon certifications
(1)Authority
The President is authorized in each of fiscal years 2014 through 2016 to transfer to the Government of Pakistan one of the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates USS KLAKRING (FFG–42), USS DE WERT (FFG–45), and USS ROBERT G. BRADLEY (FFG–49) on a grant basis under section 516 of the Foreign Assistance Act (22 U.S.C. 2321j), 15 days after certifying to the appropriate congressional committees that the Government of Pakistan is"
Note;
ของเดิมที่มีตุรกี
(a)Transfers by grant
The President is authorized to transfer vessels to foreign countries on a grant basis under section 516 of the Foreign Assistance Act of 1961 (22 U.S.C. 2321j), as follows:
(1)Mexico
To the Government of Mexico, the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates USS CURTS (FFG–38) and USS MCCLUSKY (FFG–41).
(2)Thailand
To the Government of Thailand, the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates USS RENTZ (FFG–46) and USS VANDEGRIFT (FFG–48).
(3)Turkey
To the Government of Turkey, the OLIVER HAZARD PERRY class guided missile frigates USS HALYBURTON (FFG–40) and USS THACH (FFG–43).
ขอแสดงความยินดีกับคุณJudasด้วยครับ เรือในฝันกำลังมาแล้ว
กำลังคิดว่า ทร.จะยอมปรับปรุงเรือมั้ยหรือจะคงสภาพตามที่ได้รับมา สมมติถ้าปรับโดยวางHarpoonที่ตำแหน่งเดียวกับHsiung Peng IIแบบทร.ไต้หวัน แล้วใส่MK41 16cellsแทน MK13 Missile Launcher ใส่SM2+ESSM+VL ASROC เจ้าของเก่าเค้าจะยอมทำให้มั้ย
PFG-1106 ROCS Yueh Fei
เยี่ยมเลย ลำใหญ่ เครื่องก๊าสเทอร์ไบน์ มีโรงเก็บฮ.สองลำ ศักยภาพสูงที่สุดในทร.ตอนนี้ อยู่ที่ว่าเราจะทำอะไรกับมันต่อ
แต่ถ้าไม่มีการอัพเกรดระบบอาวุธต่างๆโดยเฉพาะมิสไซล์โจมตีเรือ+แอสรอค+ต่อต้านอากาศยาน เสียดายแย่
เอามาแทนชั้นพุทธฯเลย
สำหรับเรือที่จะโอนให้ตุรกีที่ท่านkitty70บอกมา ผมว่ามันน่าจะผ่านการโหวตไปแล้วนะครับ(แต่ได้ไม่ได้ไม่รู้) เพราะ USS Thach (FFG 43) ปลดประจำการไปแล้วเมื่อวันที่1เดือนนี้เองครับ ส่วนเรือที่อยู่ในเอกสารยังประจำการอยู่อย่างน้อยก็ในช่วง6เดือนนี้
USS Thach จะได้ไปตุรกีหรือเปล่าคงต้องตามข่าวกันอีกที ถ้าไปจริงๆก็ต้องปรับปรุงซ่อมแซมกันอีกซักพักใหญ่ๆ(3-6เดือน) แต่ข่าวจากฝั่งอเมริกาคงมีน้อยมากจนกว่าจะใกล้เข้าประการในตุรกีถึงจะนำเสนอกันอีกรอบหละมั้งครับ
SAN DIEGO -- The Oliver Hazard Perry-class guided-missile frigate USS Thach (FFG 43) was decommissioned after more than 29 years of naval service during a ceremony on board Naval Base San Diego, Nov. 1.
ตามข้อมูลท่าน FatBoy ถ้า ทร. ยอมรับ คงไม่มีการปรับปรุงอะไร เพิ่มเติม...
คงน่าจะเป็นเพียงการ ปรับยืดอายุการใช้งาน...
ซึ่งถ้าจะได้...สูงสุด ผมว่า คงเป็นเพียง ติดตั้งแท่นยิง Mk-13 กลับคืนให้...เพื่อสำหรับการใช้ยิง ฮาร์พูน...ซึ่ง คาดว่า ในเรือที่ ไตหวัน ขอซื้อ ก็น่าจะเป็นลักษณะเดียวกัน คือ การติดั้ง Mk-13 กลับคืน...
แต่ผมว่า ได้ Phalanx ที่อัพเกรดเป็น Block 1B แล้ว กับ ระบบปราบเรือดำน้ำ และถ้าได้ Nulka Decoy มาด้วยอีก...ผมว่า มันก็ครบสูตร เป็นเรือรบ ทดแทน เรือชั้น ตาปี คีรีรัฐ กับ มกุฎราชกุมาร ได้แล้ว...
ในความเห็นผม กองเรือฟริเกตที่ 1
หมวดเรือที่ 1 (หมวดเรือ มือหนึ่ง)
1. เรือฟริเกตสมรรถนะสูง ลำใหม่ จำนวน 3 ลำ
2. เรือชั้น รัตนโกสินทร์ จำนวน 2 ลำ
หมวดเรือที่ 2 (หมวดเรือ มือสอง)
1. OHP จำนวน 2 ลำ
หมวดเรือที่ 3
1. เรือชั้น คำรณสินธ์ จำนวน 3 ลำ
เท่ากับ อัตราปัจจุบัน
กองเรือฟริเกตที่ 2
หมวดเรือที่ 1
1. เรือชั้น นเรศวร จำนวน 2 ลำ
หมวดเรือที่ 2
1. เรือชั้น กระบุรี จำนวน 2 ลำ
หมวดเรือที่ 3
1. เรือชั้น เจ้าพระยา จำนวน 2 ลำ
แต่ถ้า ทร. ไม่รับเรือ OHP...ผมขอ เดา ว่า
กองเรือฟริเกตที่ 1
หมวดเรือที่ 1
1. เรือฟริเกตสมรรถนะสูง ลำใหม่ จำนวน 3 ลำ
2. เรือชั้น รัตนโกสินทร์ จำนวน 2 ลำ
หมวดเรือที่ 2
1. เรือชั้น นเรศวร จำนวน 2 ลำ
หมวดเรือที่ 3
1. เรือชั้น คำรณสินธ์ จำนวน 3 ลำ
กองเรือฟริเกตที่ 2
หมวดเรือที่ 1
1. เรือชั้น กระบุรี จำนวน 2 ลำ
หมวดเรือที่ 2
1. เรือชั้น เจ้าพระยา จำนวน 2 ลำ
หมวดเรือที่ 3
ส่วน เรือชั้น ตาปี จำนวน 2 ลำ กับ มกุฎราชกุมาร อาจจะไปสังกัด กองเรือตรวจอ่าว รอการทดแทนด้วยเรือ OPV ลำใหม่ จำนวน 3 ลำ
ก็จะเท่ากับ กองเรือตรวจอ่าว มีเรือ OPV จำนวน 6 ลำ ครบตามจำนวน
1. ชั้น ปัตตานี จำนวน 2 ลำ
2. ชั้น กระบี่ จำนวน 1 ลำ
3. ชั้น ตาปี จำนวน 2 ลำ
4. ร.ล.มกุฎราชกุมาร จำนวน 1 ลำ
ขอ MK 13 ใส่ที่เดิมได้มะ อย่างน้อยยังยิง harpoon ได้นิ
มันยังให้อารมณ์ เรือฟริเกตหน่อย ถ้ามาโล้นๆ เหมือนเรือ torpedo ยังไงยังงั้นเลยอะ
แค่ใส่คืน คงไม่คิดแพงอะไรมากหรอกเนอะ
ขอถามท่านที่ทราบข้อมูลลึกๆหน่อยครับ ว่า
การที่อเมริกาโอนเรือให้ประเทศโน้นประเทศนี้แบบให้เปล่า(หรืออาจขายถูกจนเหมือนได้ฟรี)
ไม่ทราบว่าอเมริกาจะได้ประโยชน์อะไรจากการโอนเรือในครั้งนี้ หรือ คาดหวังอะไรจากประเทศที่ได้รับมอบเรือไป
เพราะเรือของอเมริกาเองถึงจะเก่าแล้ว..แต่ก็ยังมีมูลค่าค่อนข้างสูง..แถมอเมริกาเองก็ถังแตก
แต่ยังใจป้ำแจกเรือขนาดนี้...อยากทราบว่าเค้ามีจุดมุ่งหมาย หรือ มุมมองยังไง
เข้าไปไล่อ่านไหม่แระ
ของเดิมที่เป็นข่าวเมื่อตอนต้นปี ผ่านสภาล่าง แต่ถูกขบวนการถ่วงเวลาเลยไม่ได้เข้าสภาสูง เลยตกไป
"HR 6649 “Naval Vessel Transfer Act of 2012” passes US House despite opposition by Congressmen Sherman, Bilirakis, Engel & Sarbanes but fails to reach the US Senate in time"
ส่วนข่าวล่าสุดเดือนนี้ "S. 1683: A bill to provide for the transfer of naval vessels to certain foreign recipients, and for other purposes" เป็นการเสนอใหม่เข้าสภาสูง (IN THE SENATE OF THE UNITED STATES) โดยตัดประเด็นการมอบเรือให้ตุรกีที่เป็นข้อขัดแย้งออกไป (+ของปากีสถานเข้ามา)
สรุปว่ายังไม่มีการจัดการอย่างไรกับเรือที่ปลดประจำการของ OHP ทั้ง 7ลำ เก็บเข้าคลังสำรองรอการจัดการต่อไป (ยังไม่มอบให้ใครจนกว่าจะผ่านสภาได้)
ส่วนที่ว่า "ไม่ทราบว่าอเมริกาจะได้ประโยชน์อะไร"
คือทางอเมริกาต้องการรีบปลดประจำการเรือ OHP เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่าย เพราะเริ่มจะได้เรือใหม่ๆเข้ามาประจำการแล้ว (ทั้งๆที่ไม่รู้ว่าจะดีหรือเปล่า คือเรือ Littoral combat ship (LCS))
คราวนี้เรือที่ปลดประจำการจะเอาไปทำอะไรดี จะทำลายก็มีค่าใช้จ่าย จะเก็บไว้เองในคลังสำรองก็มีค่าใช้จ่าย แต่ถ้ามอบออกไปหรือขายออกไปกลับจะมีรายได้จากค่าเรือที่ขายได้ มีการจ้างงานแก่อู่เรือที่ได้รับงานปรับปรุงสภาพ(ตามbillที่ว่าจะต้องมีการปรับปรุงสภาพในอเมริกาเท่านั้นก่อนส่งมอบ) แถมได้หน้าได้เครดิตจากมิตรประเทศ
ท่าน Juldas ผมขอความรู้เพิ่มเติมหน่อย พอดีผมไม่มีความรู้เกี่ยวกับ ทางราชนาวีของเราเลย จากที่ท่านได้ Post สูตรกองเรือ ในกรณีเรารับ OHP มานี้และอาจจะได้มีการปรับปรุงตามสภาพเพื่อให้ทันสมัย คำถามของผมคือ เราเพียงพอที่จะรับมือภัยคุกคามรอบๆบ้านเราได้หรือเปล่าครับ เพราะเท่าที่ตามข่าวมาบ้าง ช่วงนี้เพื่อนบ้านเราหลายประเทศสะสมแสงแสนยานุภาพทางทหารทั้งทางทะเลและอากาศกันเหลือเกิน
ท่านkitty70ไปไล่อ่านจากเว็บไหนครับ แชร์หน่อยได้ไหมผมหาไม่เจอ เหอๆๆๆ
อเมริกายังไงก็ต้องต่อเรือรบใหม่ครับ เป็นการสร้างงานในประเทศและกระจายรายได้ให้กับคนของเขา เรือเก่าก็อย่างที่kitty70ว่ามา เก็บไว้เฉยๆก็มีแต่ค่าใช้จ่ายแต่ถ้าขายยังได้เงินกลับมาบ้าง OHP ไม่ใช่เรือที่มีเทคโนโลยีสุงเขาจึงขายได้ (แต่ปากีสถานถอดอาวุธบางอย่างออกเพราะบลา บลา บลา)
@inwniny
ไม่ใช่ว่าหยิ่งหรอกครับ แต่เรื่องค่าใช้จ่ายยาวเป็นหางว่าวนี่ก็สำคัญไม่แพ้สมรรถนะเรือเลยนะครับ...ปัจจุบัน ทร.ยังไม่ค่อยมีเงินOperate เจ้า911ของเราเลย (ถึงจะแพงกว่าเพราะเรือใหญ่กว่าเท่าตัวก็เถอะ) แต่OHPใช้เครื่องกังหันก๊าซขณะใช้ความเร็วมัธยัสต์ด้วย...ในขณะที่เรือเครื่องก๊าซเราอย่าง433 421 422 911ใช้ดีเซล...
ที่สำคัญ ถ้าไม่มีMk.13มาข้อดีเด่นๆของเรือลำนี้ก็มีแค่ มีCIWs(ซึ่งเรือของทร.ในปัจจุบันแทบไม่มี) ระบบปราบเรือดำน้ำที่เทพกว่าเรือทุกลำที่เรามี แต่ฮ.ซึ่งเป็นอาวุธปราบเรือดำน้ำหลักของเรือชั้นนี้เรายังขาดแคลนขนาดหนัก (ถ้าเอา4ลำจาก911ไป และฟก.ใหม่ซื้อของใหม่เอา 911จะเหลืออากาศยานแค่2ลำ...)
เรื่องมือสองถ้ามันได้เต็มประสิทธิภาพ(ด้วยงบอันน้อยนิด)ผมก็ไม่เกี่ยงครับ อย่างถ้าเมกาเลหลังAV-8Bที่อัพเกรดแล้วหลังประจำการF-35Bพร้อมอะไหล่ทั้งกองให้ใช้ได้จนเรือปลดผมก็ไม่ห้ามครับ
ขอโทษทีครับใช้คำผิด ต้องใช้คำว่า เข้าไปไล่ search google
คือผมสังเกตว่าBill 2 Bill มันมีข้อแตกต่างกันอยู่โดยเฉพาะเรื่องการมอบเรือให้ตุรกีที่เป็นประเด็น มันถูกตัดออกไป ก็เลยไปหาฺBillเก่า มันเลขอะไร HR 6649 แล้วก็ไป search ต่อว่ามันเกิดอะไรขึ้น จนไปเจอข่าว
"HR 6649 “Naval Vessel Transfer Act of 2012” passes US House despite opposition by Congressmen Sherman, Bilirakis, Engel & Sarbanes but fails to reach the US Senate in time"
ที่ http://www.americanhellenic.org/press/2013-01-04_hr6649.php ก็เลยได้มาว่าBill เก่ามันตกไป ไม่ถูกส่งเข้าสภาสูง
แล้วก็เลยมาดู Bill ใหม่ + link ที่คุณsuperboy ให้มา https://www.govtrack.us/congress/bills/ แล้วก็ไปอ่านดูที่หน้าของเวป พบว่า "There are 6,155 bills and resolutions currently before the United States Congress. Of those, only about 5% will become law. They must be enacted before the end of the 2013-2015 session (the “113th Congress”). " Bill มันคือร่างกฏหมายที่นำเสนอ แต่ยังไม่ผ่านออกมาเป็นกฏหมาย แล้วที่หัว Bill ใหม่มับอกว่า "IN THE SENATE OF THE UNITED STATES"
พอดีไม่ได้เป็นนักกฏหมาย เลยจับแพะชนแกะจากข่าวBillเก่า+ใหม่ สรุปออกมาเป็นว่า
เป็นการเสนอใหม่เข้าสภาสูง (IN THE SENATE OF THE UNITED STATES) โดยตัดประเด็นการมอบเรือให้ตุรกีที่เป็นข้อขัดแย้งออกไป (+ของปากีสถานเข้ามา) และยังไม่มีการจัดการอย่างไรกับเรือที่ปลดประจำการของ OHP ทั้ง 7ลำ เก็บเข้าคลังสำรองรอการจัดการต่อไป (ยังไม่มอบให้ใครจนกว่าจะผ่านสภาได้)
^ ^
ผมเชียร์อยากให้รับเจ้า OHP เข้าประจำการ เพราะประทับใจในความ ทนทาน การออกแบบ ความแข็งแรงของวัสดุ
เพราะโดน Exocet เข้าไป 2 ลูก ลูกแรกไม่ระเบิดแต่โดยจรวดขับดับเผาเรือ ลูกสองซ้ำเข้าที่เดิม ระเบิดเรือเป็นรู แต่ก็ยังเอาอยู่ช่วยกันดับไฟ แล้วรอดมาได้ USS Stark
แต่เรือของอังกฤษ โดนไป 1 ลูกในสงครางหมู่เกาะ HMS Sheffield ไฟไหมแล้วก็จมลง
ผมว่าลูกเรือใน OHP มั่นใจได้ในยามออกรบว่าเรือเราไม่จมง่ายๆ
ได้เรือมาฟรีๆแต่ต้องติดนู้นี่นั่นเพิ่มอีกผมว่ามันไม่ค่อยจะคุ้มค่าเลยนะเหมือนหลอกขายอาวุธแต่แถมเรือ ผมว่าเราไม่ต้องไปติดอาวุธอะไรเพิ่มเติม ใช้มันเดิมๆนี่แหละ แต่ไห้เป็นเรือแม่ ปฎิบัติการ ที่ลำน้ำโขง ดูแลเส้นทางลำเลียงสินค้า ด้านสามเหลี่ยมทองคำชายแดนไทยลาว
ท่าได้2ลำนี้มา เราพอจะลบจุดด้อยเรื่องเรือดำน้ำได้เปล่าครับ ถ้าตามความเข้าใจของผม OHP น่าจะปราบเรือดำน้ำได้ดี หรือว่าผมเข้าใจผิด?
^
ระบบปราบเรือดำน้ำน่ะดีจริงครับ แต่เรื่องASuWกับAAWในปัจจุบันเรียกว่า"ห่วยแตก"เลยก็ได้หลังถอดMk.13...เรือชั้นเจ้าพระยายังดูดีกว่าอีกนะในความคิดผม...เนื่องจากเราไม่มีฮ.ซึ่งเป็นอาวุธปราบเรือดำน้ำหลักของเรือลำนี้ใช้อย่างเพียงพอ...จรวดก็ไม่มี(นึกถึง433หลังถอดSea Catเลย)...ถ้ารับมาเปล่าๆไม่คุ้มกับค่าปฏิบัติการแน่ครับ อย่างน้อยก็เอาMk.13กลับมาติดเถอะ(ไม่ต้องจัดเต็มแบบของออสซี่ เพราะเราคงไม่คิดจะใช้ไปอีกเกิน15-20ปีหรอก)
ว่าแต่...
คุณYUKIKAZEครับ จะเอาOHPไปล่องน้ำโขงจริงๆเรอะ...
ท่านkitty70ทำถูกต้องแล้วครับที่หาข้อมูลเอง เพราะตัวผมเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องผิดกฎหมาย ไม่ใชเชี่ยวชาญเรื่องกฎหมาย
แต่ดีลนี้สงสารไต้หวันมากเลยนะครับ ตัวเองยอมเสียเงินซื้อเรือ(มือ2อายุ30ปี)แต่ต้องเสียเวลาเพราะเรื่องการเมืองในประเทศอเมริกาแท้ๆ อยากรู้เหมือนกันว่าเขาจ่ายแพงจะได้เรือหน้าตาแบบไหนติดอะไรบ้าง คือถ้าไทยยอมจ่ายถูกกว่านิดหน่อย(เพราะได้เรือฟรี)เพื่อปรับปรุงให้ใกล้เคียงเขาเราก็จะได้เรืออาวุธครบ3มิติเหมือนกันนะครับ
เอามาลงเสียหน่อยตามธรรมเนียม กรณีรับเรือมาแล้วมีงบปรับปรุงไม่มาก ระบบเรดาร์เหมือนเดิมหมดด้านหน้าติดฮาร์พูนไขว้กัน4นัด(พอ) ตีsuper structureติด ExLS VLS จำนวน4ท่อ(ไปก่อน)เพื่อรองรับจรวดSea Captorจำนวน16นัดเนื่องจากจรวดไม่ต้องมีเรดาร์ควบคุมการยิงจึงประหยัดไปได้พอสมควร ด้านหน้าสุดติด DS-3OM เป็นปืนรอง
ระบบอาวุธปราบเรือดำน้ำก็คือเฮลิคอปเตอร์เป็นหลัก(เหมือนประเทศอื่นๆนั่นแหละ) การต้องซื้อเฮลิคอปเตอร์ปราบเรือดำน้ำเพิ่มผมว่าเป็นเรื่องดีนะครับ เพราะไม่อย่างนั้นเราก็จะมีแค่S70B 6ลำและอุปกรณ์ปราบเรือดำน้ำ3ชุดอยู่แบบนี้ไปเรื่อย ต้องดิ้นรนขวนขวายกันหน่อยถ้าอยากมีระบบดีๆกับเขา งบประมาณเท่าไหร่เดี๋ยวให้ท่านนีโอมาสรุปยอด อ้าว...
ผมขอแก้ตัวให้เรือ HMS Sheffield หน่อยนะครับ เนื่องจากเรือรุ่นนี้มีความพยายามในการลดราคาค่าต่อเรือจึงออกแบบsuper structureที่ไม่ทนทานและเป็นวัสดุติดไฟง่ายเรือเลยไหม้มากจนจมในที่สุด แต่ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้เรือฟริเกตรุ่นใหม่ๆสร้างตัวเรือให้แข็งแรงทนทานมากกว่าเดิมเยอะนะครับ
แบบที่2ถ้ามีเงินเยอะหน่อย ด้านหน้าติดฮาร์พูนไขว้กัน4นัดต่อด้วย MK56 VLS ด้านบนเพื่อใส่ESSM 12นัดยิงได้ไกล50กม. หน้าสุดเป็นปืนรองDS-3OM(แต่ดันอยู่ด้านหน้า ฮาดี) ส่วนระบบเรดาร์ควบคุมการยิงติดCeros200จำนวน2ระบบเพื่อใช้ยิงจรวดและปืนหลัก,ปืนรอง ต้องมีการปรับปรุงระบบCMSบ้างเหมือนกันแต่ไม่น่ายากเท่าไหร่ เท่านี้ก็ได้อาวุธครบ3มิติแล้วใช้งานได้20ปีเต็ม
ข้อดีของเรือOHP ที่ผมเห็นก็คือ เรือมีขนาดใหญ่ถึง4100ตันจึงทนต่อคลื่นลมได้ดีมาก มีระบบปราบเรือดำน้ำที่ดีรองรับเฮลิคอปเตอร์ได้ถึง2ลำ (เรือของเราในอนาคตถึงจะลำหละ2หมื่นล้านก็มีโรงเก็บแค่1ลำแน่นอน เพราะโรงเก็บ2ลำมันแพงเดี๋ยวนี้มีในเรือขนาดใหญ่กว่า6000ตันแล้ว) และมีเรดาร์ตรวจการณ์ระยะไกล SPS-49 ซึ่งหลายๆประเทศใช้งานร่วมกับ ESSM SM-2 SAABก็ให้การรองรับด้วยถือเป็นของดีมากชิ้นหนึ่ง และมีdecoyชั้นดีไว้ป้องกันตัวเองด้วย(ตัวนี้ถ้าไม่ติดมากับเรือทร.เราไม่ซื้อแน่นอนเพราะมันแพง) ได้ไม่ได้ไม่รู้ผมจิ้นมาถึงนี่แล้วครับ
ผมอึ้งไปกับ ล่องน้ำโขง!!! เลยอ่ะ
ผมว่าท่าน Superboy ไม่ต้องไปติดตั้งเครื่องยิง Harpoon เพิ่มหรอกครับ
MK13 Launcher ที่เคยอยู่ด้านหน้าเรื่อ ถ้าเราต้องการจริงๆ US น่าจะยอมขายมาให้เรา เพราะแท่นยิงนี้ยังอยู่ในประจำการอยู่ในหลายประเทศไปจนถึงปี 2020 ยังมีบริการอะไหร่สนับสนุนอีกนาน ทางRaytheon ยังเคยเสนอModifyให้ทางออสเตรเลียอยู่ในปี2009เพื่อปรับปรุงแท่นยิงและระบบอำนวยการยิงให้ยิง SM-2ได้
เพียงแต่ที่อเมริกาเค้าถอดออก เพราะอเมริกาใช้แบบเดิมๆยิงได้แค่ SM-1(+Harpoon) ซึ่งพอไปอยู่ในกองเรือแล้วไม่เกิดประโยชน์ แล้วจัดหน้าที่ไว้แค่ปราบเรือดำน้ำ หน้าที่อื่นให้เรือใหม่ที่มีระบ Aegis เค้าจัดการแทน
ก็หวังว่าเรือ OHP จะทำให้ ทร. ได้ประสบการณ์ใหม่ๆ ที่เหนือความคาดหวัง นะครับ
อย่างน้อยๆ ..ผมว่ามุมมองดีดี ใหม่ๆ มันคงเกิดขึ้นบางละครับ
คงเอามาใช้เป็น ASW ดีกว่าครับ อย่าคิดไกลไปถึง aaw เลยครับ...
เงินไม่มี...คิดไปก็ฟุ้งซาน คิดเล่นๆ ก็พอ ครับ..
^
อันที่จริง อีกเหตุผลที่อเมริกาถอดออกคือเพื่อสนับสนุนอะไหล่ของMk.13ให้ประเทศอื่นๆตามโครงการFMSด้วยนะครับ
Mk13 ถอดออกตั้งกะปี 2000 ตั้ง 13 ปีแล้วให้เอามาติดใหม่จะมีของรึเปล่า แต่ของออสเตรเลีย กับตุรกี ที่ได้ไปเค้าติด Mk41 VLS ไม่รู้ราคาค่าตัวมันซักกี่ตัง
เรือชั้นนี้อเมริกายังเก็บไว้ใช้บางส่วนเป็นเรือฝึกนักเรียนนายเรือ โดยเปลี่ยนจากเครื่องแก้สเทอร์ไบน์เป็นดีเซลเพื่อลดค่าใช้จ่าย แล้วถ้าเราได้มาจะเปลี่ยนเป็นดีเซลบ้างจะดีมั้ย..
Phalanx ของเรือที่อเมริกาใช้อยู่มีแผนจะอัพเดทเป็นแบบ CIWS Block 1B แล้วที่เราจะได้แบบไหน..
คิดเห็นกันยังไงบ้าง
อันที่จริงผมลอกการบ้านเขามาอีกทีหนะครับ เรือOHPค่อนข้างมีชื่อเสียงโด่งดังจึงมีคนออกแบบการปรับปรุงเรือไว้เยอะเลือกเอาได้เลย
ถ้าเราติด MK13 Launcher เข้าไปจะสามารถยิงจรวดฮาร์พูนได้ถึง40นัดในเวลาไม่พร้อมกัน แต่เรือจะไม่มีปืนรองด้านหน้าเรือและระบบจรวดพื้นสู่อากาศไว้ป้องกันตัวหรือป้องกันพื้นที่ ผมแค่ปรับปรุงในหลักการที่ว่าไม่ต้องเจาะตัวเรือลงไปเพราะมันแพงกว่าเท่านั้นเอง ซึ่งอาจจะเสียเงินมากตรงระบบVLSตั้งบนฐานลอยขึ้นมาแต่เรือก็จะมีจรวดพื้นสู่อากาศใช้ ที่ยังสงสัยก็คือหลังจากถอดMK13และติดปิดไปเรียบร้อยแล้วด้านล่างเขาใช้ทำอะไร?? ถ้าว่างโล่งก็ดีไปแต่ถ้าเป็นห้องทำงานหรือเก็บอุปกรณ์อิเลคทรอนิคก็ต้องลำบากในการเจาะและย้ายกันอีกรอบ คนอเมริกาไม่มีข้อกำหนดตายตัวเสียด้วยสิเรือที่ถูกถอดออกยังติดอาวุธทดแทนบ้างไม่ติดบ้างเลย
คิดแบบติดตั้งMK13 Launcher ไว้อยู่เหมือนกันแต่ไม่รู้จะทำยังไงกันปืนรองด้านหละและจรวดพื้นสู่อากาศดี แต่ก็น่าจะดีกว่ามาโล้นๆไม่ติดอะไรให้คนในนี้บ่นเล่น และน่าจะประหยัดที่สุดจนกองทัพเรือยอมรับได้
แต่ดูๆไปเรือผมคล้ายเรือฟริเกตType23เหมือนกันนะเนี่ย 5555
ผมให้ความเห็นใน ตรรกะที่ไม่มีพื้นฐานข้อมูลในเรื่องค่าใช้จ่าย ต่อปี ของเรือ นะครับ...
ตรรกะง่ายๆ ก็คือ
เรือชั้น OHP เกิดมา เพื่อฆ่า เรือชั้น Knox
ค่าใช้จ่ายปฏิบัติการ ของ OHP จะถูกกว่า เรือชั้น Knox..
ประเทศไหนที่มีเรือ OHP และ Knox ประจำการทั้ง 2 แบบ...
จะปลดเรือชั้น Knox ทิ้ง ทั้งหมด...รวมถึง ไตหวัน จัดหา OHP มาแทน Knox
ถ้า ทร.ไทย ประจำการเรือชั้น Knox ได้...เรือ OHP ไม่มีปัญหาหรอกครับ...
ไม่งั้น สหรัฐ ไม่เสนอให้ครับ...เพราะ สหรัฐ มักจะเสนออาวุธให้ ฟรี หรือ ขายถูก ก็จะมีการประเมินความสามารถผู้จัดหาว่า จะใช้งานได้ครับ...นั่นเป็นข้อดีของ สหรัฐ ที่ว่า ไม่ให้มีการสะสมอาวุธเกินตัว...
และเมื่อเท่ียบระหว่าง OHP กับ Knox...สำหรับ ทร.ไทย...
สื่งที่ด้อยกว่าของ OHP ในปัจจุบัน กับ Knox คือ SSM หรือ อาวุธนำวิถี พื้น สู่ พื้น เท่านั้นครับ...
ส่วนเรื่องการปราบเรือดำน้ำ...Knox จะมี ASROC คือ การต่อระยะของ ตอร์ปิโด เท่านั้น...
ส่วน OHP จะใช้ ความเร็ว และ ความเงียบ ของเรือ รวมถึงระบบตรวจจับ เรือดำน้ำ ที่มีความทันสมัยกว่า Knox และส่งข้อมูล ถึง ฮ.ASW ในที่นี้ ก็คือ SH-60B ถ้าสำหรับ ทร.ไทย ก็คือ S-70B (ที่ Knox ไม่มี) เป็นข้อได้เปรียบในการ ปราบเรือดำน้ำ...
แต่สิ่งที่ OHP จะเหนือกว่า Knox คือ SAM...ซึ่ง ของ OHP ดั้งเดิม คือ SM-1 ส่วนของ Knox คือ Sparrow...แต่ของ ทร. ไทย เรือชั้น Knox ไม่มี Sparrow...
ถ้า OHP ของ ทร.ไทย สามารถทำการติดตั้งและอัพเกรด MK-13 เป็น MK-13 GMLS pop-up ก็จะสามารถทำการยิง SM-2 และ Harpoon ได้รวมจำนวน 40 นัด โดยไม่จำกัด จำนวนลูก และจำนวนแบบ...
ซึ่ง ทร.ไทย ก็มีโครงการจัดหา SM-2 อยู่แล้ว...
ผมว่า OHP ตอบโจทก์ ได้เยอะ พอสมควรครับ...ไม่เอามา...มันน่าจะเสียดายมากกว่าครับ...
ท่านSuperboy
ตัวแม็กของMk.13ยังมีระบบพร้อมใช้งานเต็มรูปแบบอยู่ทั้งดุ้นเลยครับ(เอาแผ่นโลหะมาวางทับแม็กมันเฉยๆนั่นแล) แค่ซ่อมหน่อยแล้วเอาแขนยิงมันมาปักก็พอ
ที่ผมอยากได้คือHarpoon 40ลูกเนี่ยแหละ เยอะขนาดนี้ให้เรือลำอื่นคุ้มกันเอาแล้วเป็นอำนาจการยิงหลักของกองเรือได้เลยนะครับ(ว่าแต่Mk.13ใส่Harpoon block 2ได้ไหมนะ?) ลูกดกกว่าFormidableอีก ปืนรองDS-30Mติดข้างเรือแบบที่ไต้หวันติดBofors 40/70 ส่วนเอาอะไรยิงจรวดที่หลุดจากเรือลำอื่นมาก็ใช้ฟาลังซ์แก้ขัดไปพลางๆ มีเงินค่อยหาSAMใส่ หรือจะไม่ต้องมีแล้ววัดดวงกับเรือคุ้มกันเอาก็ตามใจ
ท่านjuldas
เท่าที่ทราบ OHPเกิดมาในช่วงน้ำมันถูก(ค่าปฏิบัติการตอนคลอดใหม่ๆเรียกได้ว่าต่ำเลยทีเดียว)..ซึ่งปัญหาสำคัญของKnoxคือค่าบำรุงรักษา ไม่ใช่ค่าปฏิบัติการ..(ตรงนี้อาจจะพอหักลบได้)<<<<<ไม่แน่ใจว่าข้อมูลนี้มาจากใคร แต่ในTFCนี่ล่ะ
แต่เรื่องSM-2มันจะเหมาะกับอายุเรือที่เหลือรึเปล่าน่ะสิครับ...แต่ถ้าเราใช้ยาวๆแบบรล.ปิ่นเกล้าก็อัพไปเถอะ
ขอเสนออีกหนึ่งทางเลือกราคาถูกในการอัพเกรด ก่อนส่งมาไทยครับ
ถอดแมกกาซีน ของ mk 13 ออก ย้าย ปืน76 oto มาแทนที่ พร้อมอัพให้เป็นรุ่น super-rapid ถ้าเป็นรุ่นนี้อยู่แล้วก็ไม่ต้องอัพเพิ่ม
ติดแท่นยิง harpoon เพิ่ม ตรงตำแหน่งหน้าเรือหลังแท่นMK13เดิม ที่ตอนนี้กลายเป็นปืน76 ส่วนลูกจรวดใช้ของเรือพุทธ
ติด RIM-116 RAM เพิ่ม ที่ตำแหน่งเดิมของปืน76 ตรงกลางลำเรือ เอารุ่นที่มี HAS mode ติดมาด้วย
น่าจะครบทั้งสามมิติแล้วในราคาเบาๆ
อ้อ ถ้า phalanx ที่มาเป็น block 1b ด้วย เรือก็ไม่น่าจะมีจุดอ่อนแล้ว
ถ้าตังเหลือ ก็ค่อยเปลี่ยนเครื่องเป็นCODAG ถ้าไม่เหลือก็ไม่ต้องเปลี่ยน ค่าปฎิบัติงานยังไงก็ไม่แพงกว่าเรือพุทธหรอกครับ
^
^
Wiki บอกถอดออกทั้งแม็กเลยครับ... ที่ผมสนใจคือทำไมออสเตรเลียกับตุรกีเลือก Mk41 มาใช้กับเรือชั้นนี้ละครับหรือเพราะเค้ามีตังจ่ายหว่า ข้อมูลจาก Wiki ครับ
MK13 Launcher ที่ถอดออกไป คือถอดออกไปแต่แท่นยิงข้างบนครับ
ด้านล่างที่เป็น แมกกาซีน จรวด 40 นัดยังอยู่ครบปกติ (เพราะเอาออกยาก) แล้วตีปิดข้างบนเพื่อกันความชื้น ลดการกัดกร่อนจากทะเล
ถ้าเราขอซื้อกลับมาติดได้แต่ไม่มีงบไปUpgrade ไปยิง SM-2 ก็ขอซื้อลูก SM-1 MR กลับมาด้วย ก็ไม่น่าเกลียดครับ ตัวนี้ก็ระยะยิง 40 กม. MK13 Launcher ถึงแม้จะยิงได้ทีละ1ลูก แต่มีอัตราการยิง Rate of Fire: 1 missile every 8 seconds ก็ถือว่า OK
พอจะพูดได้ว่า รบได้ครบทั้ง 3 มิติ
LEARNING OBJECTIVES: Explain the purpose/function of the Mk 13 Mods 4 and 7 GMLS major components.
We will now study the Standard launching system by covering a launcher commonly known as the "one-armed bandit." The Mk 13 Mod 4 GMLS is installed aboard FFG-7 Oliver Hazard Perry-class ships and the Mk 13 Mod 7 is installed aboard CGN-36 California-class ships. They provide a varied tactical arsenal of missiles to engage air and surface targets. It stows, selects, identifies, loads, aims, and fires Standard SM-1, SM-2, and Harpoon missiles.
Figure 7-2.-Mk 13 Mod 4 GMLS.
The Mk 13 Mod 7 GMLSs were originally built as Mods 0, 1, and 3, but because of the design changes in the control system giving the launcher Mod 4 characteristics, they are now designated as Mod 7s. The text will address the Mk 13 Mod 4 configuration. The Mod 7 has the same configuration as the Mod 4.
CAPABILITIES
The Mk 13 Mod 4 (fig. 7-2) GMLS can stow up to 40 missiles, one of which will be a guided missile training round (GMTR) in the rotating ready service ring (RSR) cells of the magazine. The outer ring stows 24 missiles and the inner ring stows 16 missiles. The system is capable of identifying up to seven types of missiles, A through G, plus the GMTR.
The main structural units of the magazine are the base, the outer shell, the inner structure, and the stand. A plenum chamber, attached to the base, vents gases if a missile accidentally ignites in the magazine. The inner structure houses, among other components, the train and elevation power drives, the RSR/hoist power drive, the launcher relay control box, and the missile dc power supply. In operation, the RSR rotates (between the outer shell and the inner structure) to position the selected missile at the hoist station for loading onto the launcher.
The missile launcher carriage has unlimited motion in train. The elevation load angle is 90ยฐ. The two train load positions are 0ยฐ (inner ring) and 180ยฐ (outer ring) (fig. 7-3).
Automatic pointing cutout systems prevent pointing a missile at any part of the ship. A firing cutout mechanism prevents firing missiles in areas hazardous to personnel and at the ships structure. Individual ships structure determines pointing and firing cutout zones.
A dud-jettison unit is an integral part of the launcher guide. The dud-jettison unit ejects missiles overboard that fail to fire and are unsafe to return to the magazine.
Modes of Control
The Mk 13 GMLS has two modes of control: automatic control and step control. Automatic control is the normal mode for loading a missile onto the guide arm and for unloading a missile from the guide arm to the magazine. The weapons control system (WCS) selects continuous loading or single loading to load and launch missiles in automatic control. Continuous loading initiates loading and launching until the magazine is empty or until WCS baits the operation.
Figure 7-3.-Mk 13 Mod 4 GMLS, launcher load positions.
Single loading initiates the same operations as continuous loading, except that after launching one missile, the launcher trains and elevates to the LOAD position to await further orders. The operation resumes when WCS orders another single loading or continuous loading.
Also, if properly set up, the fire control system (FCS) can remotely light off the launching system and auto-load (or auto-unload) a selected type of missile. The launcher can be aimed and a missile fired before the GM can return from the mess decks with a fresh cup of coffee.
Step control is the step-by-step sequencing and operation of the Mk 13 GMLS components by manual switching at the EP2 panel. The system can be operated in step control to load and launch missiles in a tactical situation if the automatic control circuitry becomes inoperable. Missiles may be loaded onto the guide arm in step-load and maybe unloaded into the magazine in step-unload. System components may also be cycled in step-exercise. Interlocks in the system ensure that selected step control functions are sequentially correct. Indicating lamps on the EP2 panel signal completion of each component function.
The launcher train and elevation systems operate under remote and local control signals. Remote orders are generated by the FCS computer. Local orders come from synchro transmitters within the launching system control.
OHP ของ ตุรกี กับ ออสเตรเลีย
ระบบ MK-41 = ESSM 32 นัด
ระบบ MK-13 = SM-2 + Harpoon 40 นัด
ปัจจุบัน ทร.ออสเตรเลีย ให้ OHP เป็นทั้ง AAW และ ASW จึงมีการติดตั้ง MK-41 เพิ่มเติม...
และจะถูกทดแทนด้วย เรือช้้น Hobart ซึ่งเป็น AAW แบบเต็มรูปแบบ...
ท่านGT500
Mk.41นั่นคือปักมันตรงหัวเรือถัดไปจากเพื่อยิงESSM (และSM-2หากต้องการ)เลยครับ ไม่เกี่ยวกับตัวMk.13เลย(อย่างหลายรูปในTFCก่อนหน้านี้คือจะวาง16cellsแทนMk.13)
ส่วนเรื่องตัวแท่นยิงน่ะวิกิผมว่าอย่สเชื่อเลย บรรทัดต่อๆลงมาบอกแม็กกาซีนยังอยู่ครบ(หลังจากที่บรรทัดบนบอกว่าถอดทั้งแม็กและแขน)
ซึ่งในรูปที่เคยเอามาลงยังเห็นตัวแม็กมันโผล่อยู่ทั้งดุ้น
OHP ของ ออสเตรเลีย ก็ใช้ SM-2 (น่าจะเป็น SM-2 ER)
Dec. 24, 2009 at 11:00 AM | 0 comments
CANBERRA, Australia, Dec. 24 (UPI) -- The HMAS Melbourne has demonstrated the navy's updated naval air defense capability with the firing of a Standard Missile (SM-2) off Jervis Bay.
Minister for Defense Personnel, Materiel and Science Greg Combet said in a written statement that the SM-2 would be further enhanced throughout 2010. "This missile firing was the first time an SM-2 has been fired from an Adelaide-class frigate," Combet said.
"The missile was prepared, launched and supported in flight before engaging a target."
Combet said Melbourne is now equipped with two modern missile systems to combat anti-ship missiles and aircraft.
"HMAS Melbourne is an Adelaide-class guided-missile frigate (FFG) that has completed the multimillion-dollar FFG Upgrade Program and has recently undergone additional SM-2 related alterations to its combat system."
The FFG Upgrade Program is to extend the life of the remaining four FFG ships in Australia's fleet. It also includes improvements to underwater warfare capabilities including torpedo systems.
The Royal Australian Navy acquired four U.S. Navy-designed FFG 7-class guided-missile frigates in the late 1970s and early 1980s, according to the Australian Ministry of Defense. These ships -- HMAS Adelaide, Canberra, Sydney and Darwin -- were built by Todd Shipyards in Seattle.
All together, the USN built 51 FFG7-class ships between 1976 and 1988. The USS Oliver Hazard Perry, lead ship of the Oliver Hazard Perry class of guided-missile frigates (FFG7), was named after the American naval hero who was victorious at the 1813 Battle of Lake Erie. She was scrapped in 2005.
Australia built two more FFG7 frigates in 1983 at the Williamstown Naval Dockyard, now owned and operated by BAE. The HMAS Melbourne was delivered in 1992 and the HMAS Newcastle was delivered in 1993. The Adelaide and Canberra have since been retired from service and the others are undergoing the FFG upgrade.
The SM-2 is a solid propellant-fueled, tail-controlled, surface-to-air missile fired by surface ships. It uses midcourse guidance for programming of the missile for radar search only, according to data available at Globalsecurity.com. The missile is redirected in midflight and then again during the terminal homing phase.
SM-2, also the U.S. Navy's primary surface-to-air fleet defense weapon, is deployed in several different configurations, ranging from the SM-2 Block IIIA up through the SM-2 Block IV ER for the U.S. Navy's AEGIS-compatible ships. SM-2's primary role is to provide area defense against enemy aircraft and anti-ship missiles.
The current generation of SM-2 Blocks IIIA and III has improved stability to increase performance against an advanced anti-ship missile threat. It is designed specifically to counter high-speed, high-altitude anti-ship cruise missiles.
Thales Australia, the prime contractor and upgrade design authority for the FFG program, has subcontracted a number of Australian and overseas firms. These include Gibbs and Cox, Thales Underwater Systems, AAI, Lockheed Martin Naval Electronic and Surveillance Systems, and CEA.
ADI is the combat system design and integration authority and is contracted to achieve an Australian industry involvement of at least 48 percent.
Gibbs and Cox is the platform system design authority, and TUS, formerly Thompson Marconi Sonar, is the underwater warfare design agent.
ผมคิดว่าถ้าสามารถติด MK13 แล้วทำให้ยิง SM2 ได้จะดีมาก ส่วนที่ว่าหลังจากปลด OHP แล้วจะเอา SM2 ไปใช้ที่ไหน ก็ต้องวางแผนไว้ว่าจะเอาไปติดกับเรือฟริเกตใหม่ 2 ลำที่ต่อจากเกาหลีก็ได้เพราะวางแผนว่าจะติดตั้ง SM2 อยู่แล้วนิครับ แค่นี้ก็ได้ทั้ง Harpoon และ SM2 ก็น่าจะเพียงพอแล้ว
ส่วนกรณี ฮ. ปราบเรือดำน้ำ ถ้าเป็นไปได้อยากให้ขอซื้อ ฮ. ปราบเรือดำน้ำที่ประจำการใน OHP มาด้วยเลย (ไม่แน่ใจว่าหลังปลด OHP สหรัฐจะนำ ฮ. เหล่านี้ไปใช้ที่ไหน)
ส่วน Asroc ก็เสียดายที่ไม่มี แต่ผมว่าก็ไม่จำเป็นเท่าไหร่เพราะมี ฮ. ปราบเรือดำน้ำอยู่แล้ว
สรุปคือรับมาใช้เถอะครับ คุ้ม
ตามโครงการ OHP ของสหรัฐ เกิดมา เพื่อลดค่าใช้จ่ายที่น้อยกว่า เรือชั้น Knox ครับ...และมีประสิทธิภาพที่มากกว่าเรือช้้น Knox ครับ...
เป็นการต้้งเป้าการออกแบบเรือครับ...
ดังนั้น สหรัฐ จึงใช้ OHP ทดแทน Knox ทั้งหมด...อายุประจำการของ Knox จึงเหลือเยอะครับ...ถึงทำการขายให้ประเทศ พันธมิตร...ซึ่งในขณะนั้น เรือ OHP ยังเป็นเรือใหม่ และมีราคาสูง...
การขายของ OHP ในปัจจุบัน กับ Knox นี่ แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ครับ...
ก่อนการเกิด LCS...คู่แข่งคนหนึ่งของ LCS ก็คือ OHP upgrade ครับ...ซึ่งจะช่วยลดงบประมาณการจัดหาเรือใหม่ครับ...
แต่ก็พ่าย โครงการ LCS ไป...เพราะมัน หลากภาระกิจ มากกว่า...
โอเค...ผมเข้าใจละ จบ
ท่านjuldasครับ บนAdelaideใช้RIM-66 Standard MRครับ...ไม่ใช่RIM-67 Standard ER
(น่าจะเพราะแม็กบรรจุยาวไม่พอ ขนาดMk.41 ยังต้องใช้รุ่นStrike แปลว่ามันยาวกว่าASROCที่ยาวกว่าตัวMk.13อยู่แล้ว)
http://www.seaforces.org/wpnsys/SURFACE/Mk-13-missile-launcher.htm
http://users.tpg.com.au/borclaud/ranad/armory_newington_EO_display.html
http://www.un-register.org/NationalHoldings/CountryDetail.aspx?Register_Id=81
ผมคิดว่าที่ ออสเตรเลียติด Mk.41 Launcher เพิ่ม แล้วใช้ Mk.13 ยิง SM-2 + Harpoon
อาจจะเนื่องมาจากการออกแบบของ Mk.13 เองในตอนต้นที่ให้เลือกระบบจรวดได้ 2 ชนิด ว่าจะเป็น Harpoon หรือ SM-1(เดาจาก มีวงส่งกระสุนจรวด 2 วง) คราวนี้พอจะใส่ SM-2 เข้ามา มันก็จะกลายเป็น มีลูก 3 แบบ จึงต้องเลือกเป็น SM-2 + Harpoon
แล้วคราวนี้ ถ้าจะเอา SM-2 ไปยิงทุกอย่างมันก็จะเปลืองไป แล้วถ้าเอามายิงต่อต้านขีปนาวุธในระยะใกล้ SM-2 อาจจะมีความคล่องตัวสู้ ESSM ไม่ได้ เลยต้องติดตั้งแท่นยิง Mk.41 เพิ่ม เพื่อครอบคลุมการป้องกันทั้งระยะไกล และใกล้
ส่วนตัวแล้วถ้าเป็นผม ผมเอานะครับ เพราะเป็นการนำมาทดแทนที่ขาดได้อย่างรวดเร็ว ไม่ต้องรอเวลานาน แถมยังไม่ต้องลุ้นเหมือนเรือฟริเกตใหม่ซึง นอกจากที่ว่าจะได้ รวมเรือฟริเกตใหม่ 3 ลำ พอจะตั้งโครงการ เรือฟริเกตใหม่ที่ขาดอยู่ ก็ใช่ว่าจะได้เลย หรือได้หรือเปล่าก็ยังไม่รู้ อีกอย่างเชื่อหรือไม่ว่า ไม่ว่าจะยังไงการรับ หรือ ไม่รับ ไม่มีผลต่อโครงการเรือดำน้ำเลย(คิดเรื่องเงินงบอาจจะดูเหมือนเกียว แต่จริงๆไม่ใช่เรื่องงบหรอกครับ) ที่นี้ถ้ารับมาก็ต้องอัพเกรดครับ ตามมาตรฐานเรือฟริเกตไทยเลย(ผมกำหนดให้เองนะครับ เพื่อนๆบ้างท่านอย่าสับสน...อิอิ) จะอะไรซะอีกหล่ะครับ ระบบของซาบนั้นแล ต้องอัพให้เท่า ชุดนเรศร หรือ ชุดใหม่เกาหลีครับ โครงสร้างปรับปรุงใช้กันยาวๆ 30 ปี ไปเลย(เข้าประจำการ 15 ปี อัพเดทที) ถือโอกาศที่อเมริกา ส่งเสริมและสนับสนุนไทยให้มีเรือ และระะบบต่อต้านเรือดำน้ำ เราก็จัดมาเทพๆ เลย พ่วงระบบ ต่อสู้ผิวน้ำ แล้วก็ อากาศยานเข้าไป (ทำนิ่งๆเนียนๆตามความต้องการพี่มะกันเขา ) พอได้เรือฟริเกตครบ เทพๆก็หักหลังเพื่อนซะเลย โดยการจัดเรือดำน้ำ สัก 4 ลำ(ให้มะกันพูดไม่ออก ไหนคุณท่านว่าจะไม่เอาเรือดำน้ำไง) แล้วก็ตอบมันไปง่ายๆ สถานการณ์บีบบังคับเพื่อนบ้านมีหมดแล้ว ....เลยจำเป็นต้องจัดหา(จริงๆ ไม่อยากมีนะตัวเองเรือดำน้ำอ่ะ ...ฮ่าๆๆๆ) ไม่อยากมีจริงๆ เลยซื้อแค่ 4 ลำ อิอิ
ปล.เพื่อน เราไม่ได้โกหกนายนะ มันจำเป็นจริงๆ ฮ่าๆๆ คุ้นๆไหมครับ
โดยปกติระบบ mk.13 มันเป็นระบบรุ่นเก่า ที่รองรับได้แค่ SM-1 MR(STANDARD) RIM-66A/B อยู่แล้วครับ ซึ่งมีการ upgrade ขึ้นให้สามารถติดตั้ง SM-2 MR ตั้งแต่จรวดรุ่น RIM-66C ขึ้นไป
แค่ได้ฝันว่าได้แท่นยิง Mk.13 มา พร้อมกับซื้อจรวด SM-2 RIM-66K-2 Block3 รุ่น upgradeเชื้อเพลิงแข็ง ซึ่งมีระยะยิงได้ไกลถึง 120 km.แค่นี้ก็เทียบเท่า ASTER-30 ของสิงคโปร์แล้วครับ อิอิ...
เสนอ แบบอัพเกรด ที่เขาไม่ให้ แท่นMK13 ไปแล้ว
คราวนี้เสนอแบบอัพเกรด แบบที่ ให้ MK13 มาด้วยบ้าง
เอา แท่นปล่อยMK13มาติดตั้งเหมือนเดิม พร้อมกับ ติด STIR คืนตำแหน่งเดิม พร้อมอัพ ให้ปล่อย SM2 ได้
ต้องอัพเรดาห์ หรือเปล่า บวกลบ ขึ้นกับงบ
เอา phalanx เรือพุทธ มาอัพเป็น block 1b หรือไม่ก็ซื้อใหม่ มาติดหน้าแท่น MK13 (เนื่องจากคิดว่าเราไม่น่าจะมีเงินพอสำหรับ MK41)
แค่นี้ก็น่าจะแก้ปัญหาร CIWS ด้านหน้าเรือที่เป็นจุดอ่อนไปได้ ถ้าตังค์เหลือ เปลี่ยนจาก phalanxเป็น RAM แทนก็ได้ครับ
เห็นด้วยกับท่านrayong ครับ อยากให้ได้ seahawk LAMPS III มาพร้อมเรือเลย แต่คงเป็นไปไม่ได้ แต่ถ้าได้มาเนี่ย จะเพิ่มขีดความสามารถให้กองเรือฟรีเกตเป็นอย่างมากครับ ในช่วงที่รอเรือดำน้ำ
Magazine+stand ของ MK-13ยังอยู่บนเรือครับ เขาถอดออกไปแค่ตัว Guide Arm + Luncher เท่านั้น แล้วเอา chain gun 25mm. วางคร่อมเอาไว้แทน
25mm.
USS Vandegrift เมื่อติดตั้งปืน25mm.แล้ว ได้จากfacebookของVandergrift
กระทู้นี้ผมตั้งขึ้นมาเพราะท่าน airy คนเดียวเลยนะ เข้ามาแย็บบ่อยมากเรื่องเอาเรือOHPมาทำฐานลอยน้ำต่อระยะให้ "ฮอ"บ้าง เรือยกพลขึ้นบกแบบไกลฝั่งสุดขอบฟ้าบ้าง จนผมต้องตามกลิ่นธุปไปจนเจอข่าวนี้เข้า พออ่อยเหยื่อทิ้งไว้กะว่าตอนกลางคืนจะเข้ามาจัดหนักตามข้อมูลลับที่ตัวเองมีที่ไหนได้เขียนมาแค่2บรรทัด เหยื่อของผมไม่อร่อยใช่ไหมหละ แซวเล่นขำๆนะครับขำๆ แต่ความคิดของท่านairy เม็กซิโกเอาไปใช้แน่นอน เพราะภัยคุกคามหลักเขาคือยาเสพติดที่ลักลอบเข้าออกทางทะเล ไม่ต้องติดMk13ก็ใช้งานได้เหมือนกัน
จากข้อมูลเรือยังมีแม็กอยู่แค่เอาMk13มาติดแล้วใช้ยิงจรวดพื้นสู่พื้นและพื้นสู่อากาศได้ผมว่าก็พอแล้ว แต่ถ้ายิงได้แค่จรวดฮาร์พูนจริงๆท่านภูและผมก็ยอมรับได้ (formidable แกแพ้ฉันแล้ว40นัดยิงได้ไม่พร้อมกันเชียวนะ) จากภาพจะเป็นMk13 GMLSและจรวดที่ติดตั้งได้ ภาพต่อไปเป็นเสป็กMk13และSMทั้งหลาย จะเห็นว่าภายในแม็กกาซีนใส่จรวดได้ยาวสุดที่ 4.73เมตรวัดขนาดเอาเลยครับ Harpoon block 2ยาวประมาณ 4.63เมตรน่าจะได้นะครับ
ออสเตรเลียและตุรกีอัพเกรดให้ใช้SM-2ได้ในวงเงินต่อลำประมาณเท่าไหร่ครับท่านจูดาส เผื่อคนกองทัพเรือเข้ามาดูแล้วเกิดจิ้นตามพวกเราบ้าง เคสนี้อยากให้ดูไต้หวันเลยครับที่ขอซื้อเรือลำนี้ต่อ เขาต้องติดอาวุธเต็มลำแน่นอนเพราะภัยคุกคามมีสุงมาก ทีนี้ถ้าเราติดตามเขาน่าจะง่ายที่สุดเพราะระบบทุกอย่างและการอนุมัติเป็นของอเมริกา ถ้าเขาซื้อเรือลำหละ200ล้านเราน่าจะได้ซัก150ล้าน(เพราะค่าเรือฟรี)หรือ4,500ล้านบาทต่อลำ ใช้ยิงSM-2ได้ปรับปรุงใหม่ทั้งลำประจำการไปอีก20ปี แม้จะไม่ใช้เรือป้องกันภัยทางอากาศแท้ๆยิงจรวดได้ทีหละนัด แต่ด้วยระยะยิง80-120กม.ก็ทำให้คนที่คิดจะบุกรุกต้องคิดหนักบ้างหละ กองทัพเรือลงทุนตรงนี้ก็ไม่ต้องดิ้นรนเรื่องSM2บนเรือฟริเกตลำใหม่อีก ใน20ปีข้างหน้าทุมงบไปที่เรือดำน้ำและโครงการอื่นๆได้ AAWค่อยว่ากันทีหลัง
แต่ก็ขึ้นอยู่กับมุมมองกองทัพเรือหละครับเขาอาจวางแผงเอาไว้แล้วแต่อีกแบบหนึ่ง เหมือนเฮลิคอปเตอร์ปราบเรือดำน้ำที่ยังไงก็ต้องมาจากตระกูลS70B ผมเจอเฮลิคอปเตอร์ปราบเรือดำน้ำจากยุโรปในราคาไม่แพง เดี๋ยววันหลังจะเอามาลงข้อมูลนะครับ
สำหรับเรือถ้ามีMk13แล้วอย่างอื่นก็คงไม่ต้องรวมทั้งDS-30Mด้วย เพราะฟาลังซ์เป็นรุ่นใหม่สุดแล้วตามภาพใช้เป็นปืนรองได้(มุมยิงครอบคุมมาถึงหอบังการแน่นอนเพราะโล่งดี) ปืน76/62ตรงกลาง และมีปืน12.7มมอีกฝั่งหละ2กระบอก เป้าลวงมีทั้งนุกก้าและนิกกี้ทันสมัยดีไว้ใจได้ ส่วนด้านหน้าสุดก็ไม่ต้องติดอะไรเพิ่มเหมือนกับเรือนเรศวรเราแหละที่เป็นปืน5นิ้วใช้ยิงจรวดไม่ได้หรอก อย่างดีถ้ามีเรือเล็กย่องเข้ามาเราให้ทหารยิงRPG-7ใส่มันก็ได้ฟระ เหอๆๆๆ
เรื่องเรือ OHP ที่สหรัฐจะมอบให้ทร.ไทย ถ้าไม่มีเจ้า Mk.13 ก็มีคุณค่าน้อยลงไปเยอะมากๆ เลยนะครับ ยิ่งทร.เรามีงบจำกัดมาก เอาเงินก้อนนี้ไปจัดหาฮ.แบบจัดเต็มมาเพิ่มจะดีกว่าไหมครับ
แต่ถ้าสามารถเจรจาให้สหรัฐทำการติดตั้งแท่นปล่อยกลับมาใช้งานได้ดังเดิม มันจะกลับกลายเป็นตรงกันข้ามเลยทีเดียว เพราะมันจะกลายเป็นเรือที่ทรงพลานุภาพอย่างยิ่ง และถ้าสามารถจัด SM-2 MR ใส่ลงไปสัก 12 ลูก รวมกับ Hapoon ได้อีก16 ลูก (ไม่ต้องยัดจนเต็มถึง 40 ลูกก็ได้) กับ S-70B อีกสักลำก็พอละ แค่นี้ก็จัดว่าไม่น้อยหน้าใครในภูมิภาคนี้แล้วล่ะครับ
ท่าน Superboy ครับข้อมูลระยะยิงของ SM-2 MR มันน่าจะผิดรึเปล่าครับ ขนาดของตัวจรวดที่ยาวแค่ 4.72 ม. มันไม่น่าจะมีเชื้อเพลิงมากพอที่จะไปได้ไกลถึง 170 กม. และข้อมูลเท่าที่พอหาได้พิสัยยิงของจรวดพวก MR (Mid Range) ก็จะอยู่ที่ราวๆ 60-90 กม.เท่านั้นครับ ของเจ้า SM-2 MR นี่น่าจะอยู่ที่ 72 กม. (รึเปล่า)
ส่วนตัว ไม่สนับสนุน OHP เลย เพราะมันใช้แค่อีก 20 กว่าปี เดี๋ยวก็ปลดอีก อารมณ์จะเหมือนเรือชั้น Knox ตอนนี้จอดมากกว่าใช้งาน เตรียมรับเรือฟริเกตใหม่
แต่ถ้าติด MK.13 คืนให้ + ยิง sm2 ได้ มีไว้ขู่เพื่อนบ้าน ปกป้องผลประโยชน์ทางทะเล ก็น่าสนหน่อย แต่ก็มาติดตรงเครื่องยนต์ก๊าชเทอไบน์อีก และจำนวนบุคลากรที่ใช้ในการปฏิบัติการกับเรือ ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงคืนสภาพ การเพิ่มเติมปรับปรุงอาวุธ และตัวเรือ ถ้าได้รับมาแล้วไหนจะค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติการ บำรุง ดูแล รักษา ก็น่าเครียดสำหรับ ทร.เหมือนกัน
หลายท่านบอกรับมาก่อนค่อยว่ากัน แต่มันจะเป็นภาระแก่เราหรือไม่ หรือ เราควรจะรับในสิ่งที่จำเป็นและสำคัญจริงๆ หรือ นำเงินที่จะปรับปรุง OHP มาจัดหา หรือ ต่อเรือ OPV เพิ่มจะดีกว่าหรือไม่ มันก็น่าคิดหนักอยู่เหมือนกันสำหรับ ทร.ไทย ก็ต้องจัดลำดับความสำคัญ และความคุ้มค่า
พอดีไปสืบค้นและเจอโพส ของท่านกัปตันนีโม ก็ขออนุญาตเอามาแชร์หน่อยล่ะกันครับ
"ตอบคุณ Koongkamoo เรื่องการเปรียบเทียบระหว่างโครงการเรือดำน้ำ 206A กับโครงการเรือ OHP นะครับ เทียบตั้งแต่ค่าใช้จ่ายในการจัดหาขั้นต้น เรือ 206A จำนวน 4+2 ลำ ราคาประมาณ 7 พันล้านบาท รวมทุกสิ่งทุกอย่างแล้ว ทั้งตัวเรือ ค่าปรับปรุงเรือ 4 ลำ อะไหล่ เครื่องมือ เครื่องฝึก ส่วนโครงการ เรือ OHP เราได้ตัวเรือฟรีๆ แต่ต้องเสียค่าปรับปรุงเอง ซึ่งรวมถึงการติดตั้งแท่น MK13 (ถ้าเราต้องการ อวป.) ซึ่งจะมีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ 40-100 ล้านดอลลาร์ต่อลำ หรือประมาณ 3-6 พันล้านบาทสำหรับเรือ 2 ลำ
ต่อมาเรามาดูสิ่งที่เราจะได้ กับสิ่งที่เราต้องจ่ายต่อไปในอนาคตกัน
โครงการเรือ 206A เราจะได้องค์ความรู้เกี่ยวกับปฏิบัติการเรือดำน้ำ ซึ่งเดิมเรามีเพียงกำลังพลที่ ทร.ส่งไปเรียนหลักสูตรเรือดำน้ำจำนวนไม่กี่นาย บวกกับประสบการณ์ด้านเรือดำน้ำซึ่งเรียกได้ว่าเราสูญเสียประสบการณ์ของเรือ ดำน้ำเดิมที่เคยมีไปหมดแล้ว รวมถึงโอกาสที่เรือฟริเกตปราบเรือดำน้ำที่จะได้มีโอกาสฝึกกับเรือดำน้ำจริงได้เป็นประจำ กับสิ่งที่เราต้องจ่ายต่อไปในอนาคตคือค่าใช้จ่ายสำหรับกำลังพลประจำเรือดำน้ำลำละ 20 กว่าคน (ต่อให้ใช้กำลังพล 2 ชุดแบบ ทร.สหรัฐฯ ก็แค่ลำละ 40 กว่าคน) กับค่าน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า และค่าเปลี่ยนแบตเตอรี่เมื่อถึงกำหนด overhaul ซึ่งใช้เวลาเกือบๆ 10 ปี หมายความว่าถ้าต้องการใช้เรือ 20 ปี ก็เปลี่ยนแบตเตอรี่แค่ครั้งเดียว (ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่สูง แต่ชดเชยด้วยค่าใช้จ่ายประจำในช่วง 10 ปีที่ต่ำ และค่าจัดหาเรือที่ถูกมากเมื่อเทียบกับสิ่งที่ได้)
โครงการเรือ OHP เราได้ update องค์ความรู้ด้านปฏิบัติการปราบเรือดำน้ำด้วยเรือผิวน้ำและ ฮ. (ซึ่งเราฝึกกับสหรัฐฯ เป็นประจำอยู่แล้ว) กับได้เรือปราบเรือดำน้ำอย่างค่อนข้างดีมาทดแทนเรือเดิม กับส่วนที่เราต้องจ่ายต่อไปในอนาคตคือ ค่าใช้จ่ายสำหรับกำลังพลประจำเรือลำละประมาณ 200 คน กับค่าน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนต์กังหันก๊าซ (เครื่องยนต์แบบเดียวกับเครื่องบินเจ็ท) ซึ่งกินน้ำมันมากกว่าเครื่องดีเซลอย่างน้อย 3 เท่า หรือเท่ากับว่ามีภารกิจออกเรือครั้งนึงมีค่าใช้จ่ายเท่ากับเรือฟริเกตลำเดิมออกเรือพร้อมกัน 3 ลำ แต่เรือปราบเรือดำน้ำของเราก็ยังแทบไม่มีโอกาสได้ฝึกกับเรือดำน้ำจริงเหมือนที่เป็นอยู่เดิมในปัจจุบัน และเมื่อถึงกำหนดเวลาก็ต้องยกเครื่องขึ้น overhaul เช่นกัน
ไม่นับรวมว่าการมีใช้เรือดำน้ำ 1 ลำ ต้องใช้เรือปราบเรือดำน้ำพร้อม ฮ.ประจำเรืออย่างน้อย 2-3 ลำ หมายความว่าในเชิงศักย์สงครามแล้วโครงการเรือ OHP จำนวน 2 ลำ เพิ่งจะเทียบได้กับโครงการ 206A แค่ 1/4 โครงการ ในแง่การใช้งานจริง
โดย สรุปผมจึงมองว่าโครงการเรือ 206A มีความคุ้มค่ามากกว่า และน่าสนับสนุนมากกว่าโครงการเรือ OHP หรือถึงแม้ว่าโครงการเรือ 206A จะเป็นไปไม่ได้แล้ว และจะเอาเรือ OHP มาเป็นเรือฟริเกตธรรมดาเสริมจากเรือฟริเกตสมรรถนะสูงที่เราเพิ่งทำสัญญาไป ก็ยังดูไม่คุ้มค่ากับการใช้งานประจำอยู่ดี (ค่าน้ำมันแพงหูฉี่) จะคุ้มก็ในกรณีที่เราจัดหามาเป็นเรือฝึกโดยไม่ต้องปรับปรุงระบบอาวุธ เนื่องจากการวางระบบในเรือที่ดี (ตามสไตล์เรือสหรัฐฯ) ที่เหมาะจะเป็นแม่แบบในการฝึกกำลังพล"
ผมละผิดหวังจากเรือฟริเกตสมรรถณสูง ที่มันไม่สูงจริง
ถ้าเอา OHP มา จัดโมให็ยิง SM-2 + MK.41 ESSM (ถ้ามีเงิน) ผมว่าไปๆมา OHP ปรับปรุงใหม่มันจะมีสมรรถณสูงกว่าเรือฟริเกตสมรรถณสูงที่ต่อจาก DSME+SAAB อีกนะครับ
ผมเห็นด้วยเลยครับว่าถ้ารับมา ต้องโมเต็มจัดเต็มครับ อย่าว่าแต่ 100 ล้านดอลเลยครับ ผมให้ ลำละ 200 ล้านเลยตีเป็นเงินไทยก็ 6000 ล้านบาท เทียบกับ เรือใหม่ 15000 ราคาต่างกัน 2.5 เท่า กับการมีกองเรือที่น่าเกรงขาม(จริงๆ ยังไงเรือก็หมุดเวียนกันออก ตามรอบอยุ่แล้ว) ส่วนเรื่องเรือตรวจการไกลฝั่งก็อย่างหนึง เรือดำน้ำก็อย่างหนึง มันคนละอย่างกัน เพราะยังไง เรือฟริเกต เราก็ยังขาดอยู่ อาศัยจังหวะนี้จัดหาให้ครบปรับปรุงให้ดีสมบูรญ์ใช้ยาวๆไปเลย 30 ปียังไงก็คุ้ม อัพมาเต็มๆอาวุธกับระบบเทพเลยครับ จะเสียอยุ่เรื่องเดียวก็แค่รูปทรงไม่ทันสมัย(แต่เรื่องนี้ผมไม่คิดมากกับมัน) ยังไงผมว่ามันก็ดีกว่า เอาเงินก้อนโตๆ รอบ2 รอบ3 ไปซื้อเรือฟริเกตใหม่เป็นแน่แท้ ไหนจะราคาอีก รอบหน้าไม่ขึ้นไป 20000 ล้าน++ ต่อลำเลยหรอครับ ส่วนค่าน้ำมันที่คนกลัวผมให้ฝากไว้เป้นส่วนต่างเลยครับ 50 ล้านเหรียญ รวมแล้วยังไงยังถูกกว่าซื้อเรือใหม่ 5-6 ลำ(ตอนนี้ มาจากเกาหลีแล้ว 2-3 ลำตามโครงการ)
ปล.สงสัยอยู่อย่างว่าเสาเรดาร์ ถ้าปิดด้วยแผ่นเหล็กหมดนี้จะมีผลต่อ อากาศพลศาสตร์ อย่างมีนัยยะหรือเปล่าครับ
...เรื่องเสากระโดงผมว่าควรจะห่วงน้ำหนักมากกว่าอากาศพลศาสตร์นะครับ...
ส่วนท่านTWGครับ SM-2MRแต่ละblockนี่ระยะยิงก็ห่างกันพอสมควรอยู่นะครับ
ผมว่ารับมาไว้นั่นแหละดีแล้ว อย่าได้ห่วงเรื่องความสิ้นเปลืองอะไรนั่นเลย เรือลำละหมื่นกว่าล้านยังซื้อได้ แค่ค่าน้ำมัน คงพอมีจ่ายอยู่หรอกครับ ประเทศเราไม่ได้ยากจนซะขนาดนั้น อีกประการ เรือที่มีในกองทัพ ณ ปัจจุบันนี้ก็ล้วนแต่มีอายุเยอะกันแล้วทั้งนั้นก็คงจะปลดประจำการในเวลาอันไกล้นี้ หรือเรือฟรีเกตไฮเอนท์ที่สั่งต่อใหม่ซึ่งไม่ค่อยจะไฮเอนท์สมชื่อซะเท่าไหร่ การมีOHPไว้มันก็สมควรแล้วครับ ผมขอสนับสนุนให้รับOHPทั้ง2ลำไว้พิจารณา เพื่อรับใช้ชาติไทยต่อไปครับ
ผมถามอะไรข้อหนึ่งสิครับ Mk13 GMLSถูกถอดออกไป(น่าจะสำรองอยู่ในคลังของอเมริกา)แต่แม็กกาซีนยังอยู่ในเรือ แล้วAN/SPG-60 STIR ตัวนี้หละยังอยู่ดีมีสุขแค่ไหน(ที่เหมือนจากดาวเทียมสำหรับตากผ้าหนะครับ) เพราะมันถูกถอดออกไปพร้อมกันกับMk13เมื่อ13ปีที่แล้ว
Lockheed AN/SPG-60 STIR ทำหน้าที่ในการควบคุมการยิงให้จรวด SM-1MR เรือออสเตรเลียก็ยังใช้สำหรับควบคุมการยิงให้จรวด SM-2 Block IIIA ด้วย แสดงว่าเขามีประสิทธิภาพใช้ได้เลยทีเดียว เข้าใจว่าทำงานร่วมกับMK 92 FCSที่ติดเป็นลูกกลมๆอยู่ด้านหน้าแต่ถ้าไม่มีตัวนี้ก็คงยิงเป้าหมายบนอากาศไม่ได้ เราต้องเอากลับมาติดด้วยแต่มันยังเหลือใช้งานได้อยู่ไหมครับ
กองเชียร์สำหรับ OHP คงต้องรอกันต่อไป จนกว่าร่างจะผ่านสภาของอเมริกา (ไม่รู้ว่านานแค่ไหน) แล้วจนถึงประธานาธิบดีเซ็นต์ ถึงจะได้เห็นเป็นรูปเป็นร่าง
สถาณะตอนนี้ของBill
Introduced | Nov 12, 2013 |
Referred to Committee | Nov 12, 2013 |
Reported by Committee | Nov 14, 2013 |
Passed Senate | ... |
Passed House | ... |
Signed by the President | ... |
OHPลำนี้ (FFG-37Crommelin )ถูกถอดออกไปเหลือแต่แท่นโล่งๆ ถึงเอาCEROS200มาติดก็คงใช้งานได้ไม่ดีเท่าของเดิมแน่เลย
ในภาพในเห็นNulkaแล้ว แท่นยิงอยู่ใต้MK92ด้านหน้า(ดูยากมาก) ส่วนNixieก็น่าจะเป็นตุ่มด้านซ้ายของท้ายเรือ
คิดว่าAN/SPG-60ยังเหลือนะครับ เพราะมีเอกสารการอัพเกรดเจ้านี่อยู่ ของปี2011
http://www.navysbir.com/docs/Diversified_Technologies-N98-003.pdf
อ่านไปก็งงไป ตกลงอัพสำหรับเรือที่ยังติด แต่ว่ามันยังเหลือเรือลำไหนที่ยังใช้เจ้านี่อยู่อีกเหรอ นอกจากperryที่ถอดไปเรือชั้นอื่นก็ปลดไปหมดแล้ว
AN/SPG-60 กับ STIR ของ Thales ก็เครือญาติเดียวกันครับ ใช้แทนกันได้
ซึ่ง STIR ของ Thales ยังมีใช้ประจำการอยู่หลายประเทศครับ ของไทยเราก็มีหลายใบ ทาง Thales ก็ยังเปิดขายอยู่ มี Upgrade เป็นรุ่นใหม่ที่ให้สัญญาญแรงขึ้น จานใหญ่ขึ้น
ถ้าจะใช้ของThalesก็จะต้องเลือกเป็นSTIR2.4HPเพิ่อจะใช้กับSM-2ได้ ก็จะคล้ายๆกับKDX II แต่ต่างที่KDX IIมีLuncherเป็น MK-41
STIR2.4HP ใช้ยิงSM-2ได้ แต่เอามาใส่บนเรือหลวงนเรศวรที่มี9LV เป็น combat systems ยิงไม่ได้นะครับ กรณีเรือOHPก็คงคล้ายกันๆ ข้อสงสัยของผมคือ (รู้สึกคห.บนจะเขียนปิดนิดหน่อย)
1 AN/SPG-60 และ Mk13 GMLS ปลดประจำการจากอเมริกาแล้วครับ แต่ Mk 92 ที่เป็น Fire Control System ยังมีอยู่บนเรือแฮมิลตันของหน่วยยามฝั่ง เอกสารของท่านภูผมก็มีแต่ไม่ได้อยู่ดีว่ามันยังมีอยู่หรือเปล่า ในตอนนี้อุปกรณ์2ชิ้นที่เราต้องการถ้าไม่อยู่ในโกดังก็ต้องถูกทำลายเป็นเศษเหล็กไปแล้ว
2 OHP ใช้ Mk 92 ที่เป็นตัวควบคุมการยิงอาวุธบนเรือ Fire Control System โดยมี AN/SPG-60 เป็นตัวนำวิถีให้จรวด Separate Target Illumination Radar or STIR (ได้สุงสุดแค่SM-1) เท่าทีผมหาดูเรือOHPทุกลำในโลกยังใช้ทั้ง2ตัวนี้ในการทำงานบนเรือ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะมันเกี่ยวข้องกับระบบ combat systems ของเรือด้วยหละมั้งครับ
3 STIR2.4HP เป็น long range tracking and illumination radar system ปัญหาคือจะเอามาใส่ตรงไหนอย่างไรและทำยังไงมันถึงจะใช้งานได้กับ combat systems ของเรือ ??? อเมริกาจะยอมเปิดเผยsourcecodeเพื่อให้เชื่อมการทำงานได้เหรอ แล้วthalesจะสามารถเชื่อมได้ยิงหรือเปล่า จะเอาSTIR2.4HP มาทำหน้าที่แทน AN/SPG-60 หรือ Mk 92
เรือออสเตรเลียใช้การปรับปรุงเพื่อให้ AN/SPG-60 ใช้งานกับSM-2 ได้ ส่วนตุรกีของแปลกครับเขาเปลี่ยน Combat Management System เป็น GENESIS เปลี่ยนเรดาร์SPS49 เป็นSMART-S ตามภาพ แต่ยังใช้งาน Mk 92 และ AN/SPG-60 ในการยิง ESSM จากMK-41 VLS เหมือนเดิม
สรุปแล้วถ้าเราใช้ STIR2.4HP ที่มีราคาแพงมาก เราจะเป็นรายแรกของโลกและไม่รู้ว่างบจะบานปลายแค่ไหน(ถ้าอเมริกาอนุญาตินะ) แต่ถ้าเอาAN/SPG-60มาติดจะใช้งานได้เลยในราคาหลักแสนเหรียญเองผมว่านะ แต่ข้อมูลพวกนี้ผมไม่ชัวร์นะครับ ใครมีข้อมูลที่ชัดเจนกว่าเกทับได้เลย
ทีนี้มาเรือเราบ้าง
1ถ้าต้องการยิงแค่ฮาร์พูน ก็ติดMk13 GMLS คืนเข้าไปอย่างเดียว (หรือเปล่า???) ส่วนจรวดต่อสู้อากาศยานใช้บริการ SIMBAD RC ทดแทนปืน12.7มม ทั้ง2ข้างจะบนสะพานเดินเรือหรือกลางเรือก็ได้(ก็ยังเหลือ12.7อีก1ชุดหรือย้ายไปติดที่อื่นก็ได้) แบบนี้ถูกที่สุดแล้วราคาไม่แพง
2ถ้าต้องการยิงฮาร์พูนและSM-1 ติดMk13 GMLS และ AN/SPG-60 คืนสามารถยิงได้เลย แพงขึ้นมานิด จรวดSM-1ไม่มีผลิตขายแล้วและกำลังจะทยอยหมดอายุ
3ถ้าต้องการยิงฮาร์พูนและSM-2
-ติดMk13 GMLS และ AN/SPG-60 และโมดิฟายแบบเดียวกับออสเตรเลียซึ่งค่อนข้างใช้เงินเยอะหน่อย
-ติดMk13 GMLS และ STIR 2.4 แล้วทำการโมดิฟายMk 92 และ combat systems ของเรือให้ยิงจรวดออก มีราคาแพงมากอาจได้หรือไม่ได้ก็ได้ เหมือนจะง่ายแต่ไม่ง่ายเพราะไม่มีหนังตัวอย่างให้ดู พอๆกับให้SAABยิงSM-2ให้ออกนี่แหละ และต้องให้ถ้าอเมริกายอมให้ทำด้วยนะ ปรกติแกไม่ยอมอยู่แล้วยิงเป็นเรือโอนฟรีๆด้วยยิ่งไปกันใหญ่
- -ติดMk13 GMLS และ STIR 2.4แทนที่Mk 92ไปเลย แล้วทำการโมดิฟายcombat systems ของเรือให้ยิงจรวดออก งานใหญ่แพง มากขึ้นไปอีก อาจได้หรือไม่ได้ก็ได้
สรุปแล้วแผนแรกน่าจะดีที่สุดหละมั้งครับ
ขอโทษด้วยครับที่ไปพาดพิงถึง STIR ของ Thales ที่ต้องการจะสื่อคือถ้ากลัวว่า AN/SPG-60 STIR ของเดิมจะหาไม่ได้แล้ว(เพราะโดนถอดออกไปแล้ว) แต่อยากจะยิง SM-2 จริงๆก็ไปหา Thales ได้ (แต่จริงๆใช้ของเดิมดีที่สุดไม่ยุ่งยาก ขนาดออสเตรเรียที่รวยๆยังใช้การโมของเก่า)
ส่วนเรื่องการ Integrate เข้ากับ ระบบอำนวยการรบ อาจจะยุงยากบ่าง แต่ Thales ออสเตรเลีย สามารถช่วยท่านได้ เพราะสามารถ Integrate MK.41 + ESSM เข้าระบบได้มาแล้ว ( ADI Systems (now Thales Australia) – Integration Authority and Combat System Design)
ส่วนของไทยที่งบน้อยผมว่าเอาแบบประหยัดๆไปก่อน ผมว่าข้อ 2 เหมาะที่สุด (ถ้าต้องการยิงฮาร์พูนและSM-1 ติดMk13 GMLS และ AN/SPG-60 คืนสามารถยิงได้เลย แพงขึ้นมานิด จรวดSM-1ไม่มีผลิตขายแล้วและกำลังจะทยอยหมดอายุ) เพราะจะทำให้เรือรบได้ครบ 3 มิติ
พวก จรวด เนี่ยมันสามารถปรับปรุงเพื่อยืดอายุการใช้งานได้ไม่ใช่เหรอครับ แล้ว sm 1 เนี่ยจะยืดอายุมันได้ไหม
^
เท่าที่จำได้ น่าจะยืดอายุไปแล้วรอบนึงนะครับ และจะทยอยหมดอายุไปในราวปี2020
ระบบGENESIS เป็นของตรุกีครับ แต่มีconnection กับ reytheon ถ้าจะให้อเมริกาอัพแบบนี้ก็น่าจะได้ครับ
ดู G class frigate แล้วน่าจะประสิทธิภาพสูงกว่า ฟรีเกตใหม่ของเรา
ติดตั้ง MK-141 หน้าสะพานเดินเรือ สำหรับ อวป.ฮาร์พูน ประหยัดกว่าครับ
ท่านfatboyเข้ามาเจิมผมเลยดัดแปลงเรือท่านภูนิดหน่อย OHPแคบกว่าAnzacประมาณ80เซนติเมตรติดMK-141แบบเยื้องๆเหมือนกันน่าจะได้(ไม่ได้จริงๆค่อยติดตามขวางเหมือนเดิม) แต่ผมขอติดTetral ซัก2ระบบ8นัดไว้ป้องกันภัยทางอากาศแล้วกันนะครับ (ของท่านภูจะมีMk13กับTetral1ระบบตรงที่ตั้งSPG-60) แต่เรือของจริงน่าจะเป็นปืนกลDS-3OMด้านหน้าเรือ1กระบอกตามมาตราฐานกองทัพเรือ ส่วนตรงกลางอาจจะติดSatcomรุ่นใหม่ทดแทนก็เป็นได้
ชอบธง 555
อ่าว แท่นMk.141มันถูกกว่าแขนMk.13เหรอครับ
ส่วนของท่านSuperboyไม่ต้องเอาTetralหัวเรือออกหรอกครับติดมันที่เดียวกับBofors40/70ไต้หวันนี่แหละได้กราบเรือสองข้าง2กระบอก
ไ
ติดHarpoonที่เดียวกับSSMไต้หวัน ไม่มีแขนMk.13ไม่เป็นไรวางแผ่นเหล็กไว้เหมือนเดิมเอาMistral TetralวางแทนBushmaster 25mm ส่วนกลางลำวางTetralติดแทนAN/SPG-60เหมือนเดิม (ว่าแต่911ยังจะเอาSTIRไปยิงSadralให้ดีขึ้น แล้วOHPจะใช้อะไรยิงหว่า Mk.92?)
แบบนี้น่าจะได้อยู่นะครับ แต่ว่าแท่นยกข้างกราบเรือมันมีกับแค่เรือไต้หวันรึเปล่า?
เรือไต้หวันล๊อตนี้เขาซื้อมือ1จากอเมริกาจึงมีการดัดแปลงให้ใช้งานตามตัวเองต้องการ 7จาก8ลำติดปืนกล40มม.ข้างลำตัวและทุกลำติดจรวดพื้นสู่พื้น Hsiung Feng บนนั้นเพราะใส่ในMk13ไม่ได้ แต่OHPลำอื่นไม่มีนะครับ ซ้ายมือมีแท่นสำหรับเรือเล็กแต่ด้านขวาโล่งเลย ตรงจุดที่ติดจรวดHsiung Feng จะเป็นอุปกรณ์อิเลคโทรนิคและการสื่อสารทั้งหลายรวมทั้งMark 36 SRBOC Decoy ด้วย
เรือOHPดีอยู่อย่างที่อเมริกาใส่อุปกรณ์ดีๆทุกอย่างลงไปในเรือ ทั้งDecoy3ระบบ ECM ESM และASW Suite(ที่เคยทันสมัยและปัจจุบันก็ยังใช้งานได้ดีมาก) ที่เห็นเกะกะอยู่กลางลำนั่นแหละถ้าเอาแท่นยิงจรวดไปติดไม่รู้จะเอาของดีไปไว้ที่ไหน ฉะนั้นOHPถ้าจะติดอาวุธเพิ่มก็มี3จุดคือหน้าหอบังคับการ ส่วนบนของแทนMk13 และจุดที่เคยติดตั้ง SPG-60
ความหมายของท่นfatboy ผมเดาว่าMk13เป็นแท่นยิงจรวดแบบแม็กกาซีนที่ทันสมัย ภายในนั้นจึงต้องบำรุงรักษามากเป็นพิเศษเพื่อให้ใช้งานได้เหมือนเก่า ไอ้ส่วนนี้แหละครับที่น่าจะเป็นปัญหากับเราเพราะมันต้องเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าแท่นยิงเปล่าๆแน่ และแม็กกาซีนไม่ได้ใช้งานมาแล้ว10กว่าปีไม่รู้ได้ซ่อมบำรุงตามตารางหรือเปล่า ถ้าเราจะใช้Mk13จริงๆต้องจับมาโอเวอร์ฮอล์ใหม่หมดเพื่อให้มันใช้งานได้(รวมทั้งบำรุงรักษาไปตลอดอายุเรือ) เพราะถ้าระบบติดโหลดไม่ขึ้นจรวด40นัดก็ยิงไม่ได้ เทียบกับแท่นด้านนอก8ท่อที่แยกของใครของมันน่าจะมีความพร้อมรบสุงมากกว่า
สุดท้ายคงจะเป็นเรื่องงบประมาณแหละครับ ถ้าติดแบบท่านfatboyหรือมาถึงเรือผมค่าตัวเรือพร้อมอาวุธก็น่าจะไม่เกิน60-70ล้านเหรียญหรือ2000ล้านบาทต่อลำ (เท่ากับเรือOPV1ลำ) ใช้แบบนี้ไปก่อนไว้มีเงินค่อยจัดหาจรวดVLSมาประจำการในภายหลัง
อันที่จริงผมมองไปที่ระบบRAMเหมือนกันนะ แต่1หน่วยพร้อมจรวดเต็มท่อ21นัดต้อง30ล้านเหรียญแน่นอน นอกจากกองทัพเรือสนใจจรวดRAMเมืองจีนHQ-10 มีรุ่น8ท่อยิงที่ติดบนเรือType-56ขายด้วย แต่คิดไปคิดมาผมว่าใช้mistralนี่แหละง่ายละถูกดีและดีที่สุด จรวดเขาก็ทันสมัยขนาดกระทัดรัดราคาไม่แพงเรามีใช้อยู่แล้วเพียงแต่ยิงได้6กม.เท่านั้นเอง
ท่าน ObeOne ครับ เรือที่ทร.ติดตั้ง Hapoon กับแท่น Mk.141 นั้นได้แก่ ชุดรล.นเรศวร และ ชุดรล.รัตนโกสินทร์ จะเป็นท่อยิงแฝด 4 จำนวน 2 ชุด รวมเป็น 8 ลูกนะครับ เพียงแต่หลักปฏิบัติในยามสงบทร.จะบรรจุจรวดพร้อมยิงไว้บนเรือในอัตรา "ครึ่งหนึ่งของอัตราบรรจุสูงสุด" ของเรือแต่ละลำครับ เราจึงมักจะเห็นกันอยู่เป็นประจำว่ารล.ทั้ง 4 ลำนั้น บรรจุท่อยิง Hapoon ไปกับเรือเพียงแค่ลำละ 4 ท่อยิง (แท่นละ 2 ท่อ)
ผมคิดว่าในระยะเวลาประจำการ 20 ปี OHP ควรปรับปรุงแค่ระดับของออสเตรเลีย คือ ติด MK13 ให้ใช้ SM2 , Harpoon ได้ก็พอแล้วครับ มากกว่านี้คงไม่คุ้ม น้อยกว่านี้ก็เสียดายของ ครับ
แหม่ ท่านObeoneคนับ ขนาดเรือพี่สิงค์เขาแบกได้24ลูกพี่แกยังชอบแบกไป4ลูกเลยครับ (เอาจริงๆผมเคยเห็นแค่16)
อะไรกันครับท่าน ObeOne อคติเกินไปรึเปล่า ผมเคยเห็นนะรล.รัตนโกสินทร์ ที่บรรจุ Hapoon เต็มอัตรา 8 ท่อยิงน่ะ รล.นเรศวรก็เหมือนกัน เพียงแต่มันนานมาแล้วน่ะครับ (น่่าจะเป็นช่วงที่ทดสอบ เพื่อรับมอบและขึ้นระวางประจำการ) ส่วนที่จะกล่าวหาว่าเป็นข้ออ้างก็ดูจะกระไรนะครับ เพราะเรืออื่นๆ ของทร.ก็บรรจุอวป.ในอัตราครึ่งหนึ่งอยู่เป็นประจำครับ
เอ่อผมก็สงสัยมานานเหมือนกันนะครับว่าปกติ การประจำการอาวุธปล่อยบนเรือเพียงครึ่งเดียว มันรวมไปถึงท่อยิงด้วยเหรอ โดยปกติ ถึงแม้เรือรบจะบรรจุอาวุธมิสไซด์เพียงครึ่งเดียว แต่ทำไมไม่ประจำการหรือติดตั้ง ท่อยิงให้ครบทั้ง 8 ท่อยิง แล้วบรรจุ ฮาร์พูน 4 ลูก มันก็มีค่าเท่ากันไม่ใช่หรือครับ หรือว่ามันมีค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงหากจะต้องออกเรือแล้วแบก ท่อยิง Mk.141 ให้ครบเซตทั้งหมด
(ผมเองก็เป็นคนหนึ่งที่ไม่เคยเห็นภาพของเรือหลวงชั้นนเรศวรทั้งสองลำ ติดตั้ง ท่อยิง ครบเซตซักครั้งเลยเหมือนกัน หากใครมี รูปถ่ายช่วยโพสต์ลงให้ดูทีนะครับขอบคุณครับ)
ถึงท่าน phu เรือรบ formidable ของสิงคโปร์มีจำนวนทั้งหมด 6 ลำ เรือแต่ละลำติดตั้ง แท่นยิง Mk.141 ไม่เท่ากันทั้งหมดนะครับ บางรูปที่คุณเห็นว่ามี 4 ท่อยิงอาจจะเป็นเรือหมายเลข 70 แล้วที่เห็นติดตั้ง 16 ท่อยิง อาจจะเป็นเรือลำที่ หมายเลข68 ก็ได้ กองทัพเรือสิงคโปร์เองเค้าก็ยังไม่ได้จัดหา แท่นยิงดังกล่าวมาใส่บนเรือทุกลำแบบเต็มแม็กนะครับ มันขึ้นอยู่กับงบประมาณจัดหาในแต่ละปีของเค้าด้วย ไม่อย่างนั้นเมื่อต้นปีที่ผ่านมาจะมีข่าวการ upgrade เพื่อจัดซื้อจัดหา แท่นยิง Mk.141 เพิ่มเติมหรือครับ รู้สึกเท่าที่จำได้จะเป็นกระทู้ของท่าน super boy นี่แหละ
แท่นยิง MK-141 จะติดตั้งท่อยิง Harpoon ได้ สูงสุด 4 ท่อยิง ต่อ 1 แท่น
ในเวลาปกติ ทร. ก็บรรจุ เพียง แท่นละ 2 ท่อยิง..รวม MK-141 จำนวน 2 แท่นยิง ก็จะบรรจุ 4 ท่อยิง ต่อ ลำ
แบบเดียวกับ เรือชั้น เจ้าพระยา หรือ กระบุรี ครับ...ในเวลาปกติ บางภาพ ก็เห็นติดตั้ง C-801 หรือ 802 เพียง 2-4 ท่อยิง
เพราะ ไม่มีความจำเป็น จะต้องบรรทุกไปให้เต็มอัตราพร้อมรบ 8 ท่อยิง...อาวุธพวกนี้ มันก็มีอายุ มีความเสือม...เวลานำออกมาใช้งาน...(เวลานำออกมาใช้งาน หมายถึง การประกอบหัวรบ ตัวขับเชื้อเพลิงจรวด การตรวจสอบความพร้อมของระบบตรวจจับ...จรวดพวกนี้ ก็มีวงรอบต้องมีการซ่อมบำรุง เหมือนกัน)
เช่นเดียวกับ บ.ขับไล่ ของ ทอ. แหล่ะครับ...ในเวลาปกติ ก็ติดตั้งเพียง ไซด์ไวน์เดอร์ ปลายปีก...นาน ๆ ที จะโชว์ติด AIM-120 ลำละ 2 ลูก...แม้จะติดตั้งได้ถึง 4 นัด ต่อ ลำ...และก็ นาน ๆ ที ถึงจะโชว์ ติดตั้ง ครบ 4 นัด ต่อ ลำ...
คงเป็นว่า...ทร. ไม่ได้ ติด โชว์ 8 ท่อยิง แค่นั้นครับ....
หรือ อย่างเช่น เรือของญี่ปุ่น ก็มีติดแบบ 8 ท่อ หรือ 4 ท่อ ตามสถานะการณ์ และ เวลา
ภาพจาก หนังสือ สมรภูมิ ครับ
ขอบคุณท่าน Juldas มากๆ เลยครับ ได้ทั้งรูปและที่มาด้วย ทำให้ผมคิดออกแล้วว่าภาพรล.รัตนโกสินทร์ ที่ตัวเองเคยเห็นว่าได้ติดตั้งอวป. Hapoon ครบ 8 ท่อยิงนั้น ก็คือภาพนี้จากหนังสือ สมรภูมิ โดยมีบรรดาลูกเรือแต่งชุดขาวเต็มยศยืนเรียงตลอดแนวกราบเรือด้วย ใช่เลย ถูกต้องนะคร้าบบบบบบบ
ภาพเก่ามากตั้งแต่เรือยังติดเบอร์เดี่ยวอยู่เลย เด็กอายุ18อย่างผมไม่เคยเห็นแน่นอน คริ คริ :)
รื้อฟื้นความหลังจาก กระทู้นี้ครับ เคยโพส มาครั้งหนึ่งครับ (คุ้น ๆ ว่าเคยเห็นที่ไหนเหมือนกัน 5 5 5 5)
จากการ ตามข่าวตอนนี้ผ่านคณะกรรมาธิการต่างประเทศแล้ว รอส่งกลับให้ผ่านสภาคองเกรส อนุมัติ หลังจากนั้นก็เหลือแค่รอประธานาธิบดีเซ็นอนุมัติ คงราวๆสักสอง สามเดือนมั้งครับ
ส่วนเงินที่เราต้องจ่ายในการ ปรับปรุงคืนสภาพ ตกอยู่ที่ราวๆ 50 ล้านเหรียญต่อลำ สองลำก็ราวๆสามพันล้านบาท ซึ่งน่าจะมาในสภาพเดิมๆเลย อาจจะได้ MK13 มาด้วย แต่ขีดความสามารถคงเหมือนเดิม คือยิงได้แต่ sm-1 กับ Harpoon รวมกัน 40 นัดในแม็กกาซีน
อ้างอิงจากการประชุมของกรรมมาธิการต่างประเทศของสหรัฐ วันที่ 20 november 2013 นะครับ
อีกอันหนึ่งก็คือ การปรับปรุงคืนสภาพ OHP ของ Poland โดยมีค่าใช้จ่ายราวๆ 34 ล้านเหรียญสหรัฐ ไม่แน่ใจว่าเป็นมูลค่าของกี่ลำ
ตามลิ้งนี้ครับ http://www.janes.com/article/29809/poland-to-upgrade-oliver-hazard-perry-class-frigate
ส่วนการอัพเกรด OHP ของ ออสเตเรีย ก็ ดราม่ามากเหมือนกัน ตามลิ้งนี้เลยครับ http://www.defenseindustrydaily.com/australias-hazardous-frigate-upgrade-04586/ และเนื้อความตามที่โพสต์เห็นว่าระบบยังทำงานไม่สมบูรณ์ตามสัญญา
ถ้าดูงบ การอัพเกรด ของ ออสซี่ ถ้าจะให้ยิง SM-2 ก็ต้องจ่ายเงินอย่างน้อย เท่ากับในเฟส 2 และ 4B
คงต้องดู ของตุรกีอีกทีว่า หมดเงินค่าอัพ ให้ยิง SM-2 ไปเท่าไหร่
ดังนั้นถ้าเรามีเงินไม่มาก อาจจะ จบที่เงินปรับปรุงคืนสภาพ แล้วไม่เอา MK-13 แต่ติด MK-141 แทน น่าจะใช้เงินน้อยลง และถ้าเรือหมดอายุก็แกะเอาไปใส่ลำอื่นต่อได้ง่ายกว่า
ส่วนเงินที่ลดลงไปจาก 50 ล้านเหรียญต่อลำ ก็เอาไปอัพ phalanx ให้เป็น block 1B แทน พอเรือหมดอายุก็แกะเอาไปใส่ลำอื่นต่อ
ดังนั้นสองลำรวม เงินแล้วคง สามพันถึงห้าพันล้านบาท
เผลอๆถ้ายอมจ่ายราคาสองลำหกพันล้านอาจจะ ได้เห็น RAM 21 นัดติดมาด้วยก็น่าสนใจน่ะครับ ไม่ต้องอัพ FCS เพิ่ม เพราะเป็น stand alone โดยส่วนตัวแล้วชอบการอัพเกรด GENESIS program ของตุรกีที่สุดเลยครับ แต่ไม่รู้กองทัพเรือจะมีเงินเหลือ พอทำการอัพเกรดเหมือนของปากีสถานที่จ้างตุรกีทำหรือเปล่า (ไม่แน่ใจว่าปากีสถานก็ได้เรือOHP by grant เหมือนในกรณีของไทยเราหรือเปล่า)
ส่วนอันนี้เป็นลิ้ง ของ การอัพ FCS mk92 ให้ยิง SM-2 ได้ http://www.dtic.mil/ndia/2009gunmissile/7744newell.pdf
การอัพเกรด เรือของออสซี่
เรือโปแลนด์คือการโอเวอร์ฮอลเรือ1ลำครับ เอามาปะผุทำสีใหม่อะไรทำนองนี้ โปแลนด์ได้เรือOHPมา2ลำตั้งแต่ปี2003จึงยังมีMk13ติดมาด้วย
The Polish Armament Inspectorate has signed a contract with the United States government to overhaul one of the Polish Navy's Oliver Hazard Perry-class frigates and extend its service life until 2025.
ส่วนตุรกีไม่มีแผนการติดตั้งจรวดSM-2นะครับ เขาเปลี่ยนมาใช้จรวดESSMแทน ส่วนเรดาร์SMART-Sเองก็มีประสิทธิภาพที่ไม่สุงมากนัก ก็อย่างที่บอกนะครับว่าSM-2กับOHPเป็นอะไรที่แพงและไม่สมบรูณ์เท่าไหร่ เพราะอเมริกาไม่ได้เป็นคนทำเองมันเลยขาดๆเกินๆแบบนี้แหละ
ปากีสถานเคยได้OHPมาจากอเมริกาแล้ว1ลำ เป็นเรือที่น่าสงสารมากเพราะถอดอาวุธเรียบ ปัจจุบันมีฟาลังซ์แล้วนะครับไปเอามาจากเรือลำอื่นในกองทัพเรือมาติดอีกที555
ถ้าผมดูไม่ผิด เรือดำน้ำกับเรือผิวน้ำในภาพบนมันไต้ฝุ่นกับเคียฟใช่ไหมน่ะ??
เรือทั้งสองลำ คงจะอัพเกรด Phalanx เป็น Block 1B หมดแล้วครับ
เพียงแต่ FFG-46 ไม่ได้ติดตั้ง ปืน 25 m.m.
ซึ่งผมว่า ในมูลค่า การยืดอายุใช้งาน น่าจะหมายถึง การ Reinstall แท่นยิง Mk-13 ด้วย ถ้ามีความต้องการ เพราะเท่าที่ดู เป็นโอนเรือ Guided Missile Frigate ซึ่งน่าจะหมายถึง ความสามารถในการปล่อยอาวุธนำวิถี ด้วย
ภาพปืน Phalanx ของ FFG-46
ดูรูปของท่านจูดาส แล้วใช่จริงๆด้วยครับ
Phalanxของเรือทั้งสองลำน่าจะเป็น block 1Bแล้วจริงๆครับเพราะมี กล้องoptic ติดด้านข้างแล้ว
อย่างนี้สบายเลยครับเพราะทางอเมริกา เขาประมาณคร่าวว่าค่าrefurbishให้เหมือนใหม่ น่าจะตกประมาณ 50 ล้านเหรียญต่อลำ จากการประชุมคณะกรรมมาธิการ. การต่างประเทศ.
ดังนั้นมีโอกาสที่จะได้เรือสองลำมาในสภาพสมบูรณ์(ที่มีmk13ที่ยิงharpoonกับsm-1ติดมาด้วย). ในราคาเพียง สามพันล้านบาท หรือราคาเพียงลำละ1,500ล้านบาท นับว่าน่าสนใจมากเหมือนกันครับ
และน่าจะรวมถึง การเปลี่ยนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ใหม่ ด้วยครับ ที่จะทำให้มีการลดค่าใช้จ่ายการปฏิบัติการลง...
ผมว่า ไทย ได้รับเรือ ที่ดีกว่า ประเทศอื่น ๆ ก่อนหน้านี้ครับ...เป็นเรือที่ สหรัฐ ทำการปรับปรุงมาแล้วในระดับหนึ่ง...
เพียงแค่การ ติดตั้ง Mk-13 กลับ...หรือถ้ามีเงินสักหน่อย ทำการอัพเกรด Mk-13 ให้ยิง SM-2 ได้...และอัพเกรด เรดาร์ตรวจจับ แบบของ ทร.ออสเตรเลีย...
ก็จะเป็น เรือฟริเกตสมรรถนะสูง ในราคาถูกที่สุด...แต่ควรจะยืดอายุใช้งาน ให้ได้อย่างต่ำ คือ 15 ปี...
ซึ่งในเงื่อนไขของ สหรัฐ คือ การทึ่จะ ปรับปรุงหรืออัพเกรด ให้ใช้อุตสาหกรรมภายในประเทศสหรัฐเท่านั้นครับ...ไทย จะนำมาทำเอง หรือให้ประเทศ ทำให้ คงไม่ได้...
ส่วนของ ไตหวัน เป็นการขาย และ ไตหวัน ได้รับไลเซ่นส์ ในการผลิตเรือชั้นนี้อยู่แล้ว จึงไม่มีปัญหาในการปรับปรุงเรือให้เป็นไปตามแบบของ ไตหวัน...
ยกตัวอย่าง นะครับ...ขอย้ำนะครับว่า ยกตัวอย่าง เพราะตัวเลขในการปฏิบัติงานจริง ไม่มีข้อมูลครับ
ว่า แม้ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน จะสูงกว่า เครื่องยนต์ ดีเซล กว่า 1 เท่าตัว...แต่ถ้า ได้เรือมาในราคาที่ถูก อายุใช้งานที่มีระยะเวลาที่เหมาะสม...เรือฟริเกต มือสอง ก็เป็นตัวเลือกที่เหมาะสม ในสภาพงบประมาณ...
ซึ่งฝ่ายการเงินของ ทร. น่าจะเป็นผู้ให้คำตอบ ที่ดีกว่า เพราะผมเห็นมีการใช้ตัวเลขทางบัญชี นำเสนอ ในการตัดสินใจของ ทร. ด้วย
หรือ ข้อสมมติ การจัดหาเรือใหม่ ได้ราคาที่ถูกในระดับหนึ่ง...
การจัดหาเรือมือสอง ก็ไม่ใช่ตัวเลือกที่ดี...
แต่ก็ ไม่ใช่ จะไม่เป็นตัวเลือกทั้งหมด....
อาจจะเป็นตัวเลือกที่ดีได้ ถ้า เรือฟริเกตมือสอง อยู่ในราคาที่ถูกที่สุด และได้ สมรรถนะเรือ ที่เท่าเทียมกันกับเรือฟริเกตใหม่
ถ้ามีโอกาศฝันว่าจะได้ OHP+SM-2
ผมว่าทีม Phalanx + SM-2 + Sea Ram น่าจะดีกว่า Phalanx + Sm-2 + ESSM
เพราะ ESSM + SM-2 ต้องใช้ Fire Control ตัวเดียวกัน และเท่าที่เห็นก็มีแค่ 1 ตัว น่าจะป้องกันได้แค่ 1 ทิศทาง
แต่ถ้าเป็น SeaRam + SM-2 จะป้องกันได้มากกว่าหนึ่งทิศทางเพราะSeaRamมีระบบของตัวเองแยกออกไป ถึงแม้จะมีช่องวางในระยะป้องกันที่สั้นของ SeaRam ที่ 9 กม.แต่ก็สามารถใช้การยิงได้ต่อเนื่องเพราะยิงแล้วลืมไม่ต้องไปนำวิถีจรวดตลอดเวลา
ถ้าเป็นไปตามที่ท่าน Juldas บอกไว้ การทำ Refurbish เพื่อยืดอายุการใช้งานออกไปได้อึกสัก 15 ปี พร้อมทั้ง Reinstalled ระบบ Mk.13 Launcher กับระบบเรดาร์ AN/SPG-60 STIR ให้สามารถกลับมาใช้งานได้ รวมทั้งปรับปรุงให้รองรับการปล่อยและนำวิถีอวป. SM-2 MR ได้ เพียงแค่นี้ก็เกินคำว่าคุ้มไปเยอะแล้วล่ะครับ ยิ่งหากพิจารณาว่าเรือทั้งสองลำนี้จะได้รับมาในช่วงเวลาอีกราว 3 ปีข้างหน้า ก็เท่ากับว่าทร.สามารถนำมาใช้ทดแทนรล.พุทธยอดฟ้าฯ ทั้ง 2 ลำได้พอดี ส่วนค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติการแทบไม่ต้องพิจารณามากนัก เนื่องจากไม่น่าจะมีความแตกต่างกันมากมายสักเท่าไหร่ เว้นแต่ทร.จะบรรจุฮ.ไว้ประจำบนเรือลำละ 2 เครื่อง ซึ่งในความเป็นจริงคงเป็นไปได้ยากมากถึงมากที่สุด (โรงเก็บอีกช่องนึงที่ว่าง เอา UAV ใส่ไปแทนดีกว่าครับ)
ประเทศ ยูเครน ก็สนใจเรือ OHP เช่นเดียวกันครับ เคยเสนอขอซื้อจาก สหรัฐ
ลองดู สเปค ของ ยูเครน ครับ
น่าจะเหมือนกับที่ ท่าน FatBoy ให้ความเห็นไว้ว่า ถ้าจะใช้ ฮาร์พูน อาจจะติด Mk-141 โดยในส่วนของ ยูเครน ได้ วงเล็บไว้ หรือการนำกลับมาใช้ Mk-13 สำหรับ ยิง ฮาร์พูน
ส่วนการป้องกันภัยทางอากาศ ยูเครน ขอใช้ Sea RAM
http://www.wikileaks.org/plusd/cables/09KYIV685_a.html
C O N F I D E N T I A L KYIV 000685
SIPDIS
NAVYIPO FOR STEVE POPPE, EUCOM J5 FOR LEE GABEL/JOHN
DRISCOLL, DSCA FOR DIANE LAMB, OSD/ISA FOR GARY ESPINAS,
EUR/PRA FOR MATT HARDIMAN
E.O. 12958: DECL: 04/07/2019
TAGS: MASS MCAP MARR PREL UP
SUBJECT: UKRAINIAN ACQUISITION OF PERRY CLASS FRIGATE:
COUNTRY TEAM ASSESSMENT
Classified By: Ambassador William B. Taylor, Reason 1.4 (B,D)
Summary
-------
¶1. (SBU) Summary. On 23 September 2008, in a letter from
First Deputy Minster of Defense V.V. Ivashenko addressed to
U.S. Ambassador William Taylor (MoD Letter #220/3918) the
GoU formally requested the U.S. to consider providing an
Oliver Hazard Perry class frigate FFG) to the Ukrainian
Navy. Following subsequent briefings and discussions, U.S.
Embassy Kyiv provides the following Country Team Assessment
in support of such a transfer, per IAW DoD 5101.38-M,
Chapter 5. End Summary.
Reason Ukraine desires FFGs
---------------------------
¶2. (C) The Ukrainian Navys aging Soviet-era capability is
difficult to maintain and rapidly approaching obsolescence.
As part of Ukraines ongoing Strategic Defense Review
process, Ukraine is re-evaluating its threat assessment and
capability requirements, particularly in light of the August
2008 Georgia-Russia conflict. This ongoing reevaluation is
creating a desire to enhance Ukrainian naval capability for
both coalition operations and national defense. Obtaining
and fielding a FFG would also provide valuable opportunities
to broaden cooperation with the USN through training and
technical cooperation, another key Ukrainian Navy goal.
Finally, the transfer would provide a visible symbol of
Ukraines close relationship with the U.S. and enhance the
prestige of the Ukrainian Navy.
How articles would affect Force Structure
-----------------------------------------
¶3. (SBU) In initial discussions, Ukrainian Navy officials
indicated their intent to meet personnel and other
requirements for this fielding through decommissioning of
outdated ships and reapportionment of existing personnel.
Post does not anticipate a net increase in Ukrainian Navy
end strength.
How articles would contribute to U.S. and host nation
security goals:
--------------------------------------------
¶4. (C) Increasing Ukrainian Navy capability and
interoperability for coalition operations, particularly
maritime domain awareness and maritime interdiction
operations, are key U.S. and Ukraine objectives as agreed in
the bilateral U.S.-Ukraine Work Plan for Military
Cooperation, the USEUCOM Strategy for Active Security and
Country Campaign Plan for Ukraine, and in guidance resulting
from U.S.-Ukraine Bilateral Defense Consultations.
Expanding the scope of our security cooperation was called
for in the recently-concluded U.S.-Ukraine Charter.
¶5. (SBU) Ukraine has and intends to continue active
participation in all NATO-flagged operations (the only PfP
partner state to do so), including OPERATION ACTIVE
ENDEAVOR, even though most Ukrainian warships lack adequate
station keeping capability and are extremely difficult to
operate on extended deployments far from home waters. A
recent deployment of a Ukrainian corvette highlighted the
need for larger and more capable ships. Ukraine has
expressed interest in participating in counter piracy
operations off the coast of Somalia and security
cooperation/capability development activities such as AFRICA
PARTNERSHIP STATION, and greater cooperation with the EU, a
goal the U.S. supports.
Justification of type/quantity
-------------------------------
¶6. (C) Provision of an Oliver Hazard Perry class FFG to the
Ukrainian Navy will enhance existing capabilities and
promote the durability of these capabilities into the
future. Based on initial discussions, the Ukrainian Navy
intends to use the ship for maritime defense and security
operations, including potential participation in
expeditionary counter terrorism and counter piracy
deployments as part of an international coalition. An
Oliver Hazard Perry class FFG would be appropriate for such
requirements, since it is capable of extended blue water
operations, and its station-keeping capability would greatly
enhance Ukraines contribution to coalition operations. At
the same time, the FFG would be small enough for the
Ukrainian Navy to operate and maintain. Capabilities
necessary to meet anticipated mission requirements are, but
not limited to: air, surface, and sub-surface surveillance;
point air defense; under-sea/anti-submarine warfare;
surface-to-surface missiles; and interoperable command; and
contro
l
capability IAW guidance from EUCOM J6.
¶7. (C) Specific systems needed would include retention or
addition of:
- MK 75 76mm gun and ammunition
- MK15 CIWS Blk 1B and suitable ammunition
- Surface Vessel Torpedo Tubes (SVTT) and MK46-equivalent
torpedoes
- MK 38 25mm gun
- SPS-55 surface search radar
- SPS-49 air search radar
- AN/S-89 ASW suite
- MK13 GMLS (missile launcher)
- Combined Antennae System (CAS)
- MK92 gun and fire control sy
stem (retain CAS)
- Harpoon missiles and canister launch system (CLS) (or
alternative MK13 re-installation)
- Sea RAM as alternative point air defense system
- Interoperable voice and data communication capability
Combatant Commanders concurrence/assessment
-------------------------------------------
¶8. (C) Will be provided SEPTEL
Anticipated Reaction of neighboring nations
-------------------------------------------
¶9. (C) Reactions of neighboring nations are likely to be
mixed. There is an exaggerated belief among many Ukrainian
officials that the frigates could provide the Ukrainian Navy
with the ability to defend Ukraines shores from, among
others, Russia. Although these ships could, depending on
how they are eventually outfitted, provide the Ukrainian
Navy with a real combat capability, this capability would
not be something to challenge Russia or Turkey (with the
regions most serious naval presence). At the same time, we
assess that it is quite likely that Russia will use the
acquisition as an opportunity for an anti-Ukrainian and
anti-NATO public information campaign - most particularly
directed to media outlets in Crimea, where Russia still
hopes to maintain the Black Sea Fleet after the current 2017
expiration of its basing treaty with Ukraine.
¶10. (C) The negative public relations campaign
notwithstanding, our assessment is that an FFG is likely to
do little or nothing to change the balance of power in the
region. We would not expect either Russia or Turkey to
share Ukraines assessment of the strategic impact or
military importance of a frigate in the region. Likewise,
we would expect little militarily substantive reaction from
either country in response (e.g., serious objection,
diplomatic protests, or changes in posture).
¶11. (C) We believe other Black Sea littoral states are
likely to have a muted response or take a neutral position.
While political relations with Romania are currently
strained, we would anticipate that, by the time this
purchase (if approved) were ready to move forward, relations
are likely to have recovered. Georgia, which is allied with
Ukraine and which depends on Ukraine for political support
in the region, may see a Ukrainian frigate purchase as a
positive development.
Assessment ability to support, safeguard, maintain
--------------------------------------------- -------
¶12. (C) The Ministry of Defense has been chronically
underfunded; this situation has been exacerbated by drastic
cuts to the defense budget resulting from the current
financial crisis (see paras 15-17). Absent the question of
resourcing, the current sophistication of Ukrainian Navy
planning gives post high confidence in the tactical and
technical ability of the Ukrainian Navy to support,
safeguard, and maintain these ships. Ukrainian Navy Staff
is already reviewing requirements and preparing initial
plans for on-shore upgrades and modifications, and compiling
data on the capabilities of shipyards in Ukraine and
throughout the region to support different requirements, as
well as visiting/consulting with regional partner states
that have experience with EDA FFGs.
Training required either in-country or in the United States
and anticipated reactions resulting from the presence of
U.S. trainers in country
--------------------------------------------- ---
¶13. (C) Operation and maintenance of such a ship would
require extensive crew and officer training and maintenance,
primarily in the U.S. but also at training facilities in
Ukraine. As part of case development, the embassys Office
of Defense Cooperation will develop a detailed Integrated
Training Plan in cooperation with the Ukrainian Navy and
U.S. NETSAFA. Presence of USN and civilian personnel on
Ukrainian naval bases to conduct security cooperation
activities have been a common occurrence for several years
and would not present a significant change to current
practice.
Possible impact of any in-country U.S. presence that might
be required as a result of providing the article
--------------------------------------------- -----
¶14. (C) In-country U.S. presence that would be required as a
result of providing a frigate would be minimal, as the
contract for maintenance and support is likely to be handled
through existing Ukrainian facilities in Mikolayev, and
conducting the necessary End Use Monitoring in conjunction
with normal visits to the Ukrainian Navy HQ in Sevastopol
would be well within the means of the Embassys Office of
Defense Cooperation. As stated in paragraph 8, requirements
for training are not anticipated to depart from existing
practice.
Source of Financing and the economic impact of the proposed
acquisition
--------------------------------------------- ---------
¶15. (SBU) Ukraine will source the financing for the
acquisition from the national budget. Making funds available
for the purchase is largely a question of Ukrainian
political will. In recent years, a lack of political will
at the national level has led to chronic underfunding of
defense budgets by the Ukrainian parliament, and spending
has not met levels needed to achieve defense modernization
and reform goals. The current financial crisis has led to
additional cuts in current defense spending. The cost of
the acquisition is high given todays economic situation and
low levels of defense funding.
¶16. (C) Nevertheless, post also notes that the expected
timeline would put the transfer, if approved, no earlier
than 2012. In addition, the first decision point to
apportion funds for this purchase is likely come in spring
2010, when money will be needed for training. This moment
will be reached well after presidential elections (currently
being planned for October, 2009), by which time Ukraines
political and economic situation will be more clear.
¶17. (C) Post does see the possibility that the purchase
will be viewed as a priority by political leaders, despite
positioning and posturing among rival political groups in
Kyiv and despite current budgetary pressures. The Ministry
of Defense will need to work with Ukrainian leaders to
increase their understanding of the costs associated with
their strategic defense goals. The cost of a frigate should
be viewed as strategically related to, but financially
separate from other important defense reform goals, such as
establishing a professional force, equipment maintenance and
upgrades, modernizing training, and improved
compensation/benefits for military personnel - areas also in
need of substantial funding.
Human rights considerations relevant to the proposed
acquisition
--------------------------------------------- -------
¶18. (SBU) None &
#x000A;
End Use Monitoring Plan
-----------------------
¶19. (SBU) Conducting the necessary End Use Monitoring in
conjunction with normal visits to the Ukrainian Navy HQ in
Sevastopol would be well within the means of the Embassys
Office of Defense Cooperation.
Recommendation whether the USG should approve transfer of
the article and justification
---------------------------------------------
¶20. (SBU) Recommend approve.
Night vision devices
--------------------
¶21. (SBU) N/A
TAYLOR
VZCZCXYZ0002 PP RUEHWEB DE RUEHKV #0685/01 1071109 ZNY CCCCC ZZH P 171109Z APR 09 ZDK FM AMEMBASSY KYIV TO RHMFISS/NAVY IPO WASHINGTON DC PRIORITY INFO RUBDPLA/USEUCOM PRIORITY RUEHC/SECSTATE WASHDC PRIORITY 7677
เป็นเอกสารปี2019เสียด้วย 5555
แต่สุดท้ายยูเครนก็ยังมีแต่เรือรัสเซียอยู่ดีนะครับ จากเว็บเดียวกันจะบอกรายละเอียดของเรือปากีสถาน ที่ในปี20009อเมริกาปล่อยต่อโดยมีค่าปะผุทำสีและถอดฟาลังซ์ออกคิดเป็นเงิน 65 ล้านเหรียญ เข้าใจแล้วว่าทำไมพี่บังแกโมโหมาก (แต่ก็ยังจะเอาอีกเนอะ) เพิ่มเงินไปถอยF22จากจีนดีกว่าไหม ผมกำลังรอOHPติดC802อยู่ไม่โผล่เสียที ส่วนเรือของไทยน่าจะถูกกว่านะเพราะเราไม่ต้องเสียค่าถอดอาวุธออก เหอๆๆๆ
http://www.wikileaks.org/plusd/cables/09ISLAMABAD2056_a.html
- Pakistan Navy: $65 million for refurbishment of the Excess Defense Articles (EDA) Oliver Hazard Perry-class (OHP) Frigate. Although the Joint Staff has only allocated $58M to date in FY09 FMF to the Pakistan Navy, Post supports PM,s recommendation to fully fund the program with FMF.
รบกวนสอบถามครับว่าเรือชั้นพระพุทธนี่สภาพมันไม่ไหวต้องปลดแล้วเหรอครับ ถ้าเราคงไว้เน้นงานปราบเรือดำน้ำจะไหวไหมครับเพราะคิดส่วนตัวผมเองว่าจรวดasrocมันยังมีอยู่เลยคิดว่าเอาไว้งานแบบนี้พอได้ไหมครับ อย่างน้อยคงไว้สำรองเป็นเรือทดแทนเรือหลักๆขณะเข้าทำการซ่อมทำครับ
ตัวเรือน่ะครับไหว แต่เครื่องยนต์กังหันไอน้ำโดยเฉพาะส่วนหม้อน้ำนี่จะไปไม่ไหวแล้ว
ส่วนแท่นยิงกล่องไม้ขีดMk.16ก็จะหมดอะไหล่(ต่างจากMk.13ที่ยังเหลืออะไหล่พอสมควร)ตัวจรวดRUR-5 ASROCก็จะหมดอายุแล้วล่ะครับ เรือชั้นนี้ส่วนมากก็จมเป็นเรือเป้านอนก้นทะเลไปแล้ว
เรือFong Yang (FF-933) ของไต้หวันครับดูจากภาพยังสวยอยู่เลย ติด SM-1จำนวน10นัดบนหลังคาโรงเก็บเฮลิคอปเตอร์และกลางเรือ ก็คงใช้งานไปเรื่อยๆก่อนเพราะตัวจรวดก็ยังไม่หมดอายุ
เพิ่งจะมาดูมิติของเรือ KNOX ระวางขับน้ำเยอะกว่าOHPนิดหน่อย(160ตัน) เรือกว้างกว่า21นิ้ว แต่สั้นกว่า15ฟุต ไม่เลวเหมือนกันนะถึงได้OHPมาก้ไม่ใช่เรือฟริเกตที่ใหญ่ที่สุดของเราแล้ว ข้อมูลพวกนี้ผมผิดพลาดไปได้ยังไงกัน เหอๆ
ถ้าจะยื้อใช้เรือพุทธต่อจริงๆ คงต้องเจาะลำตัวเอาหม้อต้มกังหันไอน้ำออกเปลี่ยนระบบขับเคลื่อนเป็น CODLAG แทนหม้อต้มไอน้ำเดิมล่ะครับ แต่มันจะคุ้มกับค่าต่ออายุหรือเปล่ากองทัพเรือคงมีรายละเอียดอยู่แล้วครับแต่ก็นับว่าเป็นเรือที่มีขีดความสามารถสูงสุดที่เรามีในขณะนี้ ต้องรอเรือฟรีเกตใหม่มาทดแทนแต่อยากให้รับ OHP มาด้วยเราจะได้มีเรือฟรีเกตเพิ่ม เพราะโอกาสที่ไทยจะมีเรือฟรีเกตเพิ่มในอนาคตอันใกล้นี้ น่าจะยากมากๆ
USS RENTZ (FFG-46) กลางเรือถูกถอดแท่นสำหรับติดตั้งAN/SPG-60 STIR ออกไปแล้ว กลายเป็นSatcomรุ่นใหม่(หรือเปล่า) ปืนกลM2เอามาจากเครื่องบินรบสมัยสงครามโลกครั้งที่2ใช่ไหมเอ่ย ด้านหน้าเรือว่างมากจนถึงมากที่สุด หอบังคับการโล่งๆก็สวยดีนะครับ
ระบบเครื่องยนต์กังหันก๊าซของเรือพุทธฯ ซับซ้อนมากครับ (หลายชั้นเลย) ไม่สามารถเอาออกมาได้ง่าย ๆ เลยครับ การเปลี่ยนเป็นเครื่องยนต์แบบอื่นจึงไม่คุ้มค่าที่จะทำครับ คงต้องปลดประจำการไปตามที่กำหนดแล้วล่ะครับถึงแม้ตัวเรือจะสภาพดีอยู่ก็ตาม
ครูครับเครื่องเรือพุทธเราเป็นกังหันไอน้ำครับ ไม่ใช่กังหันก๊าซเน้อ
เรื่องการเปลี่ยนเครื่องเอาจริงๆมันก็ทำได้นะครับ อย่างอินโดที่ซื้อVan Spejikมาแล้วเปลี่ยนกังหันไอน้ำเป็นดีเซล แต่ตอนนั้นอายุเรือเพิ่ง20ปีเองต่างจากเรือพุทธที่ตอนนี้อายุ40แล้ว เปลี่ยนไปก็ไม่น่าคุ้ม
OHP ยังไม่มาเราเลี้ยวไปเกาหลีใต้กันก่อนนะครับ DW3000H Batch II เปิดตัวแล้วโดยผมมั่วเอง
-เปลี่ยน Thales-Samsung I-Mast 500
-เพิ่มMK-41 เป็น 16 VLS บรรจุ12 SM-2 และ16 ESSM (ถ้าอยากได้32VLS สงสัยต้องถอดปืน76/62ออกแล้วตียาว 555)
-เปลี่ยน CIWS เป็น RAM แทน เพราะจรวดSM-2ใส่ได้ท่อหละ1นัดจำนวนจรวดน้อยลง (มีปืนรองอยู่ด้านหลังอยู่แล้วนี่)
-โซนาร์ลากท้ายและASW Suite ถอดออกไปเลยเน้นป้องกันภัยทางอากาศและผิวน้ำ
15,000ล้านบาทเฉพาะเรือเปล่าไหวไหมเนี่ยท่านภู ถ้าแพงไปใส่เครื่องยนต์ดีเซล2เครื่องพร้อมมอเตอร์ไฟฟ้า แต่ยังแพงไปอีกเหลือ8ท่อรวมแล้วกัน เหอๆๆๆๆ
ขอบคุณครับ เรียกผิดไป หน้าแตก อิอิ
ในที่สุดก็เข้าได้ เข้ามาเจิมตอบโพสต์ท่านsuperboyเลยละกัน
เรือน่าสนใจมากๆครับ 16ท่อใส่พอทั้งSM-2และESSMมากกว่า10นัดทั้งคู่ รวมสองลำก็24(SM-2MR)+32(ESSM)+42(RAM)นัดเท่าเรือฟริเกตป้องกันภัยทางอากาศขนาดกลางอย่างF124พอดี จำนวนลูกเท่ากันค่าเรือแพงกว่าแต่ต่อตีเป้าได้มากกว่า(เพราะใช้เรดาร์2ชุดจากเรือ2ลำ) มีฮ.ขนาด10ตัน2ลำไม่มีโซนาร์ลากทัายเอาไปบินจุ่มเอาละกันส่วนปราบด.หลักรับOHPมาใช้ไปพลางๆ Harpoonรวม16นัด(ติดลำละ16จะได้ไหมครับ? เพราะเรือใหญ่ขึ้น ถ้าได้เก็รวม32) VL-ASROCผมไม่หวังอยู่แล้ว...ลำที่เป็นแบบจำลองคงไม่มีหรอก ถ้าได้ขนาดนี้ก็คงไม่มีใครบ่นแล้ว แต่ผมเกรงว่าค่าI-Mast 500จะเกินงบน่ะสิครับ(ไม่สิ เกินแน่ๆ) แค่APARก็แพงหูฉี่แล้ว(เรืองน้ำหนักยังไงก็ต้องขยายแบบเรืออยู่แล้วคงไม่เป็นไรเพราะเสาอยู่กลางลำ)ติดI-Mast 500มาแต่ลดราคาเรือใส่มา8ท่อก่อนแล้วใช้ฟาลังซ์จากเรือพุทธฯติดท้ายเรือไปพลางๆแล้วพออเมริกาอนุมัติค่อยเอาMk.41มาติดเพิ่ม+เอาRAMติดแทนPhalanxได้ไหมนะ??? เครื่องยนต์ดีเซลหมดเเหมือนFormidableแต่ติดมอเตอร์ไฟฟ้าเพิ่ม(ถ้ามีเงิน)เครื่องก๊าซไม่ต้องมีละกันเอาเงินค่าน้ำมันไปโปะOHPเพิ่ม