เมื่อปลายเดือน พ.ค. ทร.บังคลาเทศ ได้รับมอบเรือเก่าจาก หน่วยยามฝั่งสหรัฐ โดยได้จัดหาตามโครงการ EDA
คือ USCGC Jarvis (WHEC-725) ซึ่ง ทร.บังคลาเทศ ได้ตั้งชื่อเรือลำนี้ คือ BNS Somudro Joy
โดย ทร.บังคลาเทศ จะขึ้นประจำการ ประมาณเดือน กันยายน ปีนี้ นอกจากนี้ ทร.บังคลาเทศ จะทำการ refit และมีการ อัพเกรด เรือใหม่ ให้เป็นเรือสมรรถนะสูงของ ทร.บังคลาเทศ อีกลำหนึ่ง
Bangladesh received it first decommissioned Hamilton class cutter from the U.S. Coast Guard at a ceremony on Coast Guard Island in Alameda, Calif.
The Coast Guard transferred the 3,300-ton cutter, formerly the USCGC Jarvis, to a 20-member team from the Bangladeshi navy.
The Jarvis -- decommissioned in October and renamed BNS Somudro Joy -- was sold to Bangladesh as an excess defense article through a foreign military sales program, the Bangladeshi news website bdnews24.com reported.
At the ceremony were U.S. Coast Guard Vice Adm. Paul F. Zukunft, Cmdr. Coast Guard Pacific Area and Chief of Naval Staff for the Bangladeshi navy Vice Adm. Muhammad Farid Habib, a report by the Bangladesh military website bdmilitary.com said.
The ships commanding officer Capt. Mohammad Nazmul Karim arrived in Alameda in March to begin preparations to accept the Jarvis. Another 70 crew members arrived this month.
Around 26 former Jarvis crew members will advise the Bangladeshi crew until Somudro Joy sails for Bangladesh this year.
The 378-foot Somudro Joy, which has a helicopter landing deck and hangar, is powered by two Pratt and Whitney gas turbines and two Fairbanks-Morse diesel engines.
The Bangladeshi navy said the guided missile frigate, now the largest vessel in the fleet, will receive a further refit and upgrades after arriving in Bangladesh, bdmilitary.com reported.
Planned upgrades include boosting the vessels combat capability with more AShM and SAM launchers.
The Jarvis was built by Avondale Shipyards and commissioned in 1972 and will be replaced by Legend class National Security Cutters for the U.S. Coast Guard.
The Somudro Joy joins the BNS Bangabandhu guided missile frigate built by Daewoo Shipbuilding & Marine Engineering in the South Korea and commissioned in 2001.
In January, Prime Minister Sheikh Hasina commissioned the BNS Padma, the first Bangladeshi-built warship, at the Titumir Naval Base, near Khunla, around 90 miles south of Dhaka.
The 160-foot frigate cost around $7.4 million and has four 37mm and two 20mm cannons, the Bangladesh Sangbad Sangstha news agency reported.
At the commissioning, Hasina said the navies of China, India and Myanmar are becoming more active in the Bay of Bengal and Bangladesh needs the Padma to protect its coastal waters.
Hasina also said the country is on target to purchase two submarines but didn say where the vessels would come from.
Activities are going on to purchase two submarines from a friendly country," she told Parliament while replying to a written question on her governments efforts to modernize the navy, army and air force.
โดยมีบางเว๊ปก็ คาดคะเน การอัพเกรดของเรือชั้นนี้ ติดตั้งอาวุธ ตามนี้
ภาพข้างตัน เป็นตามข้อมูลใน วิกีพีเดีย
Career (Bangladesh) | |
---|---|
Class and type: | Modified Hamilton-class |
Name: | BNS Somudro Joy |
Ordered: | 2012 |
Builder: | Avondale Shipyards |
Launched: | May 23, 2013 |
Commissioned: | September 2013 |
In service: | 2013-Present |
Homeport: | Chittagong |
Status: | In see trial |
General characteristics | |
Displacement: | 3250 tones |
Length: | 378 ft (115 m) |
Beam: | 43 ft (13 m) |
Draught: | 15 ft (4.6 m) |
Propulsion: | CODOG: 2 × FM diesel engines 2 × PW gas turbines |
Speed: | 29 knots |
Range: | 16,000 miles |
Endurance: | 45 days |
Complement: | 178 personnel (21 officers and 157 enlisted) |
Sensors and processing systems: |
AN/SPS-40 air-search radar, MK 92 FCS |
Armament: |
|
Aircraft carried: | 1 x Hangar |
Nickname: | BNS SJ |
เรือยามฝั่งของอเมริกายังใหญ่กว่าเรือฟริเกตของเราบางลำซะอีก
นี่ถ้าเอาไปปรับปรุงติดอาวุธเพิ่มเติม...ผมว่ามันก็กลายเรือฟริเกตดีๆนี่เอง
เรือยามฝั่งของอเมริกายังใหญ่กว่าเรือฟริเกตของเราบางลำซะอีก
นี่ถ้าเอาไปปรับปรุงติดอาวุธเพิ่มเติม...ผมว่ามันก็กลายเรือฟริเกตดีๆนี่เอง
------------------
ผมว่า จะกลายเป็น พิพิธภัณฑ์เรือฟริเกต มากกว่าครับท่าน
มันเก่าเกินไป แถมค่อนข้างล้าสมัยไปแล้ว สำหรับยุคนี้
ที่ขนาด ไม่สำคัญ เท่าใส้ใน อิอิ
......ฝารั่งง หาย..จ๋อยย (ฟาลังก์ ถูกถอดออกหมด เช่นเคย)
......ถ้าเป็นการส่งหมอบให้พี่ปิน พอเข้าใจได้ แต่ส่งหมอบให้พี่บัง นี่ไม่น่าถอดนะ..
......เพราะพี่ปินแก่ชอบขอ...เดียวก็ต้องมีรายการขอลูกกระสุนปืนตามมาอีกมากมาย
......โดยเฉพาะลูกปืนฟาลังก์
......พี่บังแก่..ไม่น่าขอพล่ามเพื่อ เหมือนพี่ปินนะ....
....อีก 2-3 ปี ข้างหน้า ผมเดากว่า พี่ม่า.(พม่า)...อาจจะได้รับมั่ง ก็ได้ครับ
....ถ้ามีหัวหน่อย ผมว่ายังมีเทคโนโลยี่ ที่น่าสนใจ อยู่ในนั้นมากมายนะ ครับ
....โดยเฉพาะพี่ม่า น่าจะได้ประโยชน์ มาใช้กับการต่อเรือลำใหญ่ๆ..อย่างนี้บ้าง
....ถ้าไม่มีหัว มันก็อาจจะเป็นแค่ ขยะธรรมดาๆ เท่านั้น
....แต่เรือวัยนี้..เรายังมีใช้อยู่อีกหลายลำ นะครับ....
เรือของเราที่อายุรุ่นราวคราวเดียวกันกับลำนี้ก็น่าจะเป็นเรือในชุดเรือหลวงตาปี
ถึงจะเล็ก และ เก่ายังไง
แต่ทุกวันนี้ยังทำหน้าที่ปกป้องอธิปไตยของชาติได้อย่างเต็มภาคภูมินะครับ
ในมุมมองของผม...ถึงลำจะเล็กจะใหญ่...หรือจะเก่าขนาดไหน
ถ้าปรับปรุงระบบภายในให้ดีมันก็กลายเป็นเรือทันสมัยได้ครับ
เหมือนกับคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง เครื่องนึงใช้เคสเก่าเทอะทะ..ส่วนอีกเครื่องใช้เคสรุ่นใหม่ขนาดเพรียวบาง
แต่หากภายในใช้เมนบอร์ด , ฮาร์ดแวร์ , ซอฟแวร์ เหมือนๆกัน...ประสิทธิภาพก็ไม่ต่างกันครับ
เป็นเรือมือสอง ราคาถูก ครับ...น่าจะถูกกว่า ร.ล.กระบี่ กว่า 2-3 เท่า...
ความคงทนทะเล สูง...
สามารถปฎิบัติการในทะเล ได้นานถึง 45 วัน...ซึ่งก็ประหยัดค่าใช้จ่าย ได้ในระดับหนึ่ง...
อายุประจำการ ไม่น่าจะต่ำกว่า 15 ปี...
จากความเร่งด่วนของ ฟิลิปปินส์ และ บังคลาเทศ ในความต้องการ จำนวนเรือรบ ให้ทันต่อประเทศรอบข้าง ระหว่าง อินเดียว กับ พม่า...
ผมว่า มันคุ้มค่า มากครับ...
ถ้าเรามีงบประมาณจำกัด หรือต้องโยกงบประมาณไปซื้ออะไรที่สำคัญกว่าก็ถือว่าน่าสนใจครับ โดยเฉพาะเอาไปทำเป็น โอพีวี ไม่ต้องเปลี่ยนอะไรเลย เรือลำใหญ่ ความคงทนทะเลสูง ออกแบบมาสำหรับ high seas. search and rescue จากประสบการณ์เคยเห็นเรือรบเราไปช่วยคนติดพายุอยู่บนเกาะ จะบอกว่ารู้สึกว่าเรือเราเล็กมาก ที่นั่งไม่ค่อยมี (เข้าใจครับว่าเป็นเรือรบ แต่เอาไปช่วยคนติดพายุ) แต่ถ้าได้ลำใหญ่ ออกแบบมาโดยเฉพาะก็คงดีกว่า
เห็นด้วยกับคุณspeciเกี่ยวกับคุณสมบัติของเรือลำนี้..ที่สามารถจะนำมาใช้เป็นเรือ OPV ได้เป็นอย่างดี
จะว่าไปผมว่ามันน่าจะมีความคงทนทะเลสูงกว่าเรือ OPV ที่ต่อในยุคหลังๆซะอีก
แถมพื้นที่ในเรือยังพอเหลือเฟือหากต้องใช้ในภารกิจช่วยเหลือผู้ประสบภัย( ที่จริงผมว่าเรือพวกนี้ก็น่าจะออกแบบมา
ให้เอื้อกับภารกิจกู้ภัยมาแต่เดิมแล้วด้วย)
จำได้ว่าในการฝึกร่วม Karat ระหว่าง ทร.ไทย-อเมริกา เคยมีเรือแบบนี้เดินทางจากสหรัฐมาร่วมทำการฝึกด้วย 1 ลำ
ถ้าจำไม่ผิด..รู้สึกว่าจะเป็น " USCGC.MELLON "
แต่ลำที่มาฝึกกับไทย จะมี Phalanx ที่ท้ายเรือด้วย
แถมมีแท่นปืนกล.50 อีก 2 กระบอก
....ตอนนี้ มันถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการฑูต ไปแล้วครับ....
....ลำที่เหลืออยู่ตอนนี้ก็จะต้องใช้เป็นเครื่องมือสร้างความสัมพันธ์ทางการฑูต ต่อไป....
....ถึงจะเก่ายังไง ก็คงใช้อีก 20 ปี สบายๆ (เหมาะสำหรับประเทศที่ต้องการประหยัดงบประมาณ)
....สมรรถนะโดยรวม เท่าที่มีอาวุธเหลืออยู่ตอนนี้ ผมว่ามันน่าจะเหนือว่าเรือหลวงกระบี่ นิดหน่อยนะครับ
....โดยเฉพาะเรื่องความเร็ว คาดว่าถึงจะทำความเร็วไม่ได้เท่าเดิม แต่ก็คงเร็วกว่า ร.ล.กระบี่ 5-6 Kt
....สมัยก่อนเรือระดับนี้ เรายังไม่มีปัญญาหามาใช้เลยครับ เลยต้องไปพึ่งบริการเรือจีนแทน