บังเอิญไป search เจอ (ขณะกำลัง ค้นคว้าเกี่ยวกับ ระบบเรด้าห์ I-MAST 500 ที่เกี่ยวข้องกับระบบเรดาห์ X-band
โปรเจกต์นี้ ทางpentagon เรียกมันว่า Mega Radar Missile Defense ครับ
http://www.boeing.com/defense-space/space/gmd/news/2006/q1/060110d_nr.html
Boeing Sea-Based X-Band Radar Completes Transport through the Straits of Magellan and Arrives in Pearl Harbor
ST. LOUIS, Jan. 10, 2006 -- Boeing [NYSE: BA] announced today the arrival in Hawaii of the Sea-Based X-Band Radar (SBX) built for the U.S. Missile Defense Agency. This marks an interim stop in the vessels transport operation, originating in the Gulf of Mexico and maneuvering through the Straits of Magellan, ultimately destined for Adak, Alaska.
A major sensor for the Missile Defense Agencys ground-based midcourse defense program (GMD), the SBX will provide the capability to track ballistic missiles and their warheads, discriminate among various objects in flight, and provide data for intercepting targets and their destruction. The addition of the SBX to MDAs missile defense system is another key milestone toward the evolution of a layered and integrated Ballistic Missile Defense System (BMDS).
"The arrival of SBX in the Pacific builds on the momentum of the GMD program, which recently conducted a successful flight test and installed its 10th operational interceptor missile at Fort Greely," said Pat Shanahan, Boeing Missile Defense Systems vice president and general manager. "The SBX is a one-of-a-kind platform that will perform essential sensing functions for the Ballistic Missile Defense System. It can be deployed worldwide; it can sense small objects thousands of miles away; it can provide critical data on incoming ballistic missile threats; and it is the only platform of its type in the world. No other platform within the BMDS provides all these attributes."
Prior to its departure on its journey around South America through the Straits of Magellan, integration, assembly and test of the radar and platform were conducted at Corpus Christi, Texas. Following a series of sea trials, the SBX was transported into the Pacific Ocean aboard a commercial heavy transport vessel, the motor vessel Blue Marlin, which is owned and operated by Dockwise Shipping B.V. of Breda, The Netherlands.
The radar will join other land and sea-based radars and space-based sensors, to support the overall ballistic missile defense capability, with initial integration into the command, control, communication and battle management system for the long-range interceptor missiles located in Alaska and California, improving their ability to defend against a limited long-range ballistic missile attack on the United States. Home-ported in Adak, a small island located in the Aleutian Island chain, the SBX will be able to move throughout the Pacific Ocean, or any of the worlds oceans, in support of advanced missile defense testing and defensive operations.
The SBX program team completed important milestones despite challenges throughout last years intensive hurricane season. During scheduled program operations, the radar tracked orbiting satellites, which demonstrated key functionality. The program completed more than 100 test activities, demonstrating its ability to achieve major sustainment and operational capabilities, including: transferring personnel, supplies and fuel, performing at-sea maintenance and the ability to operate at sea for extended periods.
Boeing is the prime contractor for the GMD program. Industry partners include: Raytheon, who manufactured the X-band radar; Kiewet Offshore Services where the radar was constructed and integrated onto the SBX; Moss Maritime, who supplied the platform; Keppel-AmFELS, who modified the platform with Boeing; and Vertex/RSI, who worked on the radar structure.
Sea-Based X-band Radar (SBX) stands on the heliport pad aboard the SBX,, July 16, 2007, in Pearl Harbor, Hawaii. The militarys $900 million, 28-story-tall missile defense radar is back in Hawaii from its remote base in Alaska for renovations recommended by an independent assessment. The Missile Defense Agency plans to spend $27 million equipping the floating complex with a new rescue boat, lights on its helicopter pad, and other upgrades over the next half-year
พอเห็นโปรเจ็กนี้แล้ว ฉุกคิดขึ้นได้ว่า มิน่าละทำไมอเมริกา มันถึงไม่กลัว ขีปนาวุธเกาหลีเหนือเลยแม้แต่น้อย และอาจจะรวมไปถึงไม่กลัวจีนและรัสเซียอีกด้วย
มีทั้งแบบตั้งเป็นฐานเรด้าห์อยู่กับที่ และแบบเคลื่อนตัวไปไหนก็ได้ในทะเล
เค้าว่าระยตรวจจับของเรดาห์ตัวนี้ตั้ง 1,200 กิโลเมตร นี่จริงหรือเปล่าครับ
แต่ถ้าต้องใช้ตรวจจับ ballistic missile ก็ควรจะถึงอยู่หรอก
เอาเวปลิ้งค์ที่เกี่ยวข้องกับข่าวนี้ไปดูเพิ่มกันเลยครับ
ปกติดูสารคดีทางทีวีไม่เห็นมีออกเลย พึ่งรู้ก็วันนี้เป็นความรู้จริงๆ
ใช้ครับระยะตรวจจับX-band radar ของมันอยู่ที่ 1200 ไมล์ (2000 กิโลเมตรครับ).แต่จริงๆแล้วอย่างของ SPY-1D(S-Band Radar) ระยะตรวจจับ 480 km. ใช้ร่วมกับ SM-3 ระยะยิง 500 กม. ก็เหลือแหล่แล้วครับ ผมคิดว่า ระยะไกลขนาด 2000 กม.น่าจะเอาไว้เตือนภัยเผื่อแผ่ไปยังกองเรือรบในระบบเอจีส หรือฐานยิงจรวด patriot ที่อยู่บนเกาะในระเวกใกล้ๆกันด้วยครับ
http://en.wikipedia.org/wiki/Sea-based_X-band_Radar
The Sea-Based X-Band Radar (SBX-1) is a floating, self-propelled, mobile radar station designed to operate in high winds and heavy seas. It is part of the U.S. Defense Department Ballistic Missile Defense System.
The radar is mounted on a fifth generation CS-50 twin-hulled semi-submersible drilling rig. Conversion of the vessel was carried out at the AmFELS yard in Brownsville, Texas; the radar mount was built and mounted on the vessel at the Kiewit yard in Ingleside, Texas, near Corpus Christi. It is nominally based at Adak Island in Alaska (though, as of April 2012[update] has never put into port at Adak) but can roam over the Pacific Ocean to detect incoming ballistic missiles. The vessel is classed by ABS and has the IMO number of 8765412.
สงสัยเอามาใช้คู่กับเจ้าตัวนี้แน่ๆเลย ..
ถ้าคิดจะยิงโจมตีอเมริกาด้วยขีปนาวุธ ผมว่ายากมากๆที่จะทำได้
ระบบป้องกันไฮเทคเหลือเกิน ถ้าคิดจะโจมตีอเมริกา ต้องใช้วิธีพื้นบ้าน
คือ ลอบเข้าไปตีจากข้างใน อพยพคนเข้าไป แล้วปลูกฝังอุดมการณ์
จากรุ่นสู่รุ่น ขยายเครือข่ายไปทุกๆรัฐ อาจจะใช้เวลานานหลายสิบปิ
.. คุ้นๆแฮะ วิธีนี้
เออแล้วอีกอย่างเจ้า SBX-1 ที่ว่านี้ยังเป็นเรดาห์ระบบ 3D ด้วย อย่าว่าแต่ตรวจจับ ballistic เลยครับ แจ้งเตือนภัยว่ามีดาวเทียมวิ่งผ่านวงโครจรกี่ดวง หรืออุกกาบาตจากนอกชั้นบรรยากาศโลกได้อีกด้วย
อ้อ ลองนึกภาพดูนะครับถ้าสมมุติเจ้าเรด้าห์ตัวนี้ไปตั้งอยู่ที่โอกินาวาหรือเกาหลีใต้หรือใต้หวั่น ยังไม่นับรวมอาเซียนนะครับ อเมริกาจะสามารถตรวจสอบแผนผังการบินทั้งขึ้นทั้งลงของเครื่องบินรบจากฐานทัพอากาศและดาวเทียมทางทหารของจีนทางฝั่งตะวันออกในระยะรัศมี 2000 กมได้เกือบทั้งหมดเลย แล้วอย่างนี้จะถือว่าเป็นภัยคุมคามของจีนหรือไม่
สงสัยครับพวกนี้ ใช้สกัดพวก icbm น่าจะได้เพราะมันมาในมุมสูงเรด้ามองเห็นแต่ไกล แต่ถ้าเป็นพวกจรวด เลียดผิวน้ำอย่างนี้ จะแก้ไขปัญหาส่วนโค้งของโลกยังไงครับ เช่นพวก ฮาร์พูน หรือ โทมาฮอค์ อย่างนี้กว่าจะเจอก็ระยะใกล้แล้ว แล้วอย่างนี้จรวดพิสัย 400-500 กม จะคุ้มหรือไม่ครับที่จะสกัดพวกนี้ หรือใช้พวก essm จะคุุ้มกว่า
เจ้าเรด้าห์ตัวนี้ผมเคยเห็นใน google มานาน 2-3 ปีแล้วครับ แต่ไม่ได้ใส่ใจ อะไรมากนัก เพราะคิดน่าจะเป็นโครงการสถานีรับส่งสัญญาณดาวเทียมแบบใหม่ของนาซ่าเอาไว้ใช้ในงานด้าน อวกาศ เลยไม่ได้คลิกเข้าไปอ่านรายละเอียดมากนัก แต่โอ้โฮที่ไหนได้ เป็นเรด้าห์ระบบต้าน Air-missile นี้เอง
ตอบโจทย์ คุณNok43 บรรดาพวกจรวดร่อนไม่ว่าจะเป็น Harpoon หรือ exocet หรือ ตระกูลC800ทั้งหลายของจีนก็ดี มันเป็นระบบอาวุธใช้โจมตีเรือผิวน้ำเท่านั้นครับ ไม่ใช้การโจมตีบนบก แต่ถ้าหากในความหมายของคุณจะบอกว่าจรวดร่อนใช้โจมตีเจ้าแท่นเรด้าห์ลอยน้ำตัวนี้ได้ไหม เป็นไปได้ยากครับ เพราะจรวดร่อนโจมตีเรือผิวน้ำ อย่างharpoonและtomahawk หรือหรืออื่นๆที่เทียบเท่า มีระยะยิงไกลสุดไม่เกิน 300/2000 กม.ตามลำดับ กว่าเรือรบหรือเครื่องบินรบที่ขนเจ้าจรวดร่อนมาเพื่อใช้โจรมตีฐานเรด้าห์ตัวนี้ ก็คงจะโดนตรวจเจอตั้งแต่ระยะห่างที่ 2000 กม.แล้วครับ และเชื่อแน่อเมริกาคงจะต้องวางกองเรือ+เครื่องบินรบ คุ้มกันเอาไว้ใกล้ๆจากฐานเรดาห์ลอยน้ำนี้อย่างแน่นอน
ผมได้ลองเขียนระยะค่าการตรวจจับของเรด้าห์ที่ระยะ 2000กม.ในโปรแกรม AutoCAD ดูและเมื่อพิจารณาโดยหลักการแนวของคลื่นสัญญาณเรด้าห์แล้วน่าจะมีมุมหักเหของสัญญาณเรด้าห์อยู่ในระดับเพียงพอที่น่าจะตรวจจับ จรวดร่อนได้อยู่ครับ และยิ่งเป็นคลื่นความถี่ X-band (8-12 GHz) แล้วด้วยก็น่าจะตรวจจับวัตถุขนาดเล็กของพวก harpoon ได้ไม่ยากอะไร
การเบี่ยงเบน (Diffraction)
การเบี่ยงเบนของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นมีการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่อ้อมมุมของสิ่งกีดขวางต่าง ๆ เช่น ภูเขา หรืออาคาร เป็นต้น โดยคลื่นที่มีความถี่ต่ำ หรือความยาวคลื่นมาก จะได้รับผลกระทบในการเบี่ยงเบนมากกว่าคลื่นที่มีความถี่สูง
รูป เปรียบเทียบการเบี่ยงเบนของคลื่นที่มีความยาวคลื่นต่างกัน
การเบี่ยงเบนจะมีผลกระทบอย่างมากกับเรดาร์ที่ใช้คลื่นความถี่ต่ำกว่า 5 MHz ลงมา ซึ่งจะทำให้เกิดคลื่นพื้นผิว (Surface Wave) เมื่อใช้ย่านความถี่ HF ซึ่งสามารถเพิ่มระยะการตรวจจับของเรดาร์ได้ ในย่านความถี่สูงขึ้นไปขีดความสามารถในการอ้อม สิ่งกีดขวางจะทำได้ลดลง ทำให้ไม่สามารถตรวจจับเป้าหมายในห้วงบริเวณเงาของสิ่งกีดขวางได้ (Terrain Masking)
รูป Terrain Masking
การหักเห (Refraction)
การหักเหของคลื่นคือการหักงอของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เมื่อเกิดทางผ่านสื่อกลางที่มีความหนาแน่นต่างกันในความเร็วที่ต่างกัน โดยบรรยากาศระดับสูงจะมีความหนาแน่นต่ำกว่าบรรยากาศระดับต่ำ ทำให้คลื่นเรดาร์สามารถเดินทางตามความโค้งของโลกได้ โดยคลื่นที่มีความถี่ต่ำจะได้รับผลกระทบมากกว่าคลื่นที่มีความถี่สูงเช่นเดียวกับการเบี่ยงเบน
จากข้อมูลด้านบนนี้เองน่าจะเป็นเหตุผลที่ว่าทำไม อเมริกาจึงนิยมสร้างเรด้าห์ในย่านความถี่ S-band กับ X band
....
ล่อน |
ก. หลุดออกหมดไม่มีเหลือติดอยู่ (ใช้แก่สิ่งที่เป็นเนื้อเยื่อ หรือสิ่ง |
ซึ่งห่อหุ้มอยู่) เช่น เงาะล่อน พริกไทยล่อน, หลุดออกเป็นชิ้นเป็น | |
แผ่น เช่น สะเก็ดล่อน สีล่อน, หลุดออกง่ายเมื่อกะเทาะหรือแซะ | |
ออกเป็นต้น เช่น แป้งขนมเบื้องล่อน. |
ร่อน | ก. อาการของสิ่งมีลักษณะแบนเลื่อนลอยไปหรือมาในอากาศ, ทำให้ |
สิ่งแบน ๆ เคลื่อนไปในอากาศหรือบนผิวน้ำ เช่น ร่อนรูป ร่อนกระเบื้อง | |
ไปบนผิวน้ำ; กางปีกแผ่ถาไปมาหรือถาลง เช่น นกร่อน เครื่องบินร่อน | |
ลง; แยกเอาของละเอียดออกจากของหยาบ โดยใช้เครื่องแยกมีแร่ง | |
เป็นต้นแกว่งยักไปย้ายมา ให้ของที่ละเอียดหลุดลงไป เช่น ร่อนข้าว, | |
แกว่งวนเวียนไปรอบตัว เช่น ร่อนดาบ; เอาคมมีดถูวนเบา ๆ ที่หิน | |
ในคําว่า ร่อนมีด |
วารสารข่าวทหารอากาศ ฉบับมีนาคม 2556
วารสารข่าวทหารอากาศ ฉบับมีนาคม 2556
วารสารข่าวทหารอากาศ ฉบับมีนาคม 2556
มิน่าละทำไมพักหลังๆจีนถึงไม่ค่อยจะเออออห่อหมก ร่วมไปกับความเกรียนของ คิมจองอิล ซักเท่าไร แถมยังทำเป็นไม่รู้ไม่ชี้เสียด้วยซ้ำ
คิมจองอิลตายไปแหล่ว ฮา
โทษทีจำผิด อิอิ... เปลี่ยนจาก อิล ผู้พ่อ เป็นลูก "อึน" ครับ
ฝากผู้รู้อธิบายต่อด้วยครับ
ขอโทษครับ ผมใส่ภาพไปแล้วไม่ขึ้น ใส่ url แทนครับ
http://www.defense.gov/dodcmsshare/briefingslide/335/081205-D-6570C-001.pdf