เคยอ่านหนังสือสมรภูมิเล่มเก่าๆ(10กว่าปีมาแล้ว)..ที่กล่าวถึงกองทัพอากาศบาร์เรนในยุคที่กำลังปรับปรุง
กองทัพอากาศครั้งใหญ่โดยการเริ่มจัดหาเครื่องบินขับไล่ยุคใหม่(ในสมัยนั้น)เข้าประจำการ( ที่จริงบาห์เรน
เป็นประเทศที่ร่ำรวยนะแต่พออ่านดูแล้ว..ดูเหมือนกองทัพอากาศบ้านเราจะเข้มแข็งกว่าเค้าซะอีก)
ตอนหนึ่งในบทความบอกไว้ว่า ในตอนนั้นมีผู้เสนอบ.ขับไล่เข้าแข่งขันในโครงการจัดหาเครื่องบินขับไล่
มากมาย..หนึ่งในนั้นก็คือ บ.ล็อคฮีด ที่เสนอขาย F-16/79 และ บ.นอร์ธทรอป เสนอ ขาย F-5E/F
สุดท้ายแล้ว..ทอ.บาห์เรนก็เลือกที่จะจัดหา F-5E/F...และ ต่อมาเมื่อสหรัฐเริ่มขาย F-16A/B
ให้ประเทศอื่นๆแล้ว...ทอ.บาห์เรนจึงได้จัดหา F-16เข้าประจำการในภายหลัง
ซึ่งมีสัมภาษย์ของนายทหารบาห์เรนคนหนึ่งกล่าวว่า
" มันเป็นการลงทุนที่ไม่คุ้มค่าหากได้เครื่องบินที่มีประสิทธิภาพต่ำอย่าง F-16/79 ดังนั้นเราจึงตัดสินใจ
เลือก F-5E/F แทน เพราะมันตอบโจทย์ของเราได้ดีกว่า"
นี่จึงเป็นที่มาของคำถามว่า
1.ไอ้เจ้า F-16/79เนี่ย มันเลวร้ายมากขนาดนั้นเลยเหรอครับ...ถึงขนาดที่กองทัพอากาศบางประเทศ
ยอมซื้อ F-5E/F เพราะเหตุผลว่าคุ้มกว่าซื้อ F-16/79 และ ในขณะเดียวกันF-16/79นั้นก็ถูก
เสนอขายให้หลายประเทศ....แต่ไม่มีใครยอมซื้อเลย(รวมทั้งไทย)
2.หากเทียบกันจริง F-16/79 กับ F-16A/B เนี่ย มันต่างกันมากมั้ย ( ประมาณว่าสมรรถนะ
ทางการบิน , ความทันสมัย , ระบบอาวุธต่างกันยังไง )
3.หากเทียบกันระหว่าง F-16/79 กับ F-5E/F ในยุคนั้น บ.แบบไหนทันสมัยกว่ากัน
4.หากในยุคนั้น พี่ๆน้องๆเป็น ผอ.ทอ.และ ได้เป็นผู้ตัดสินใจจัดหา บ.ขับไล่รุ่นใหม่
ไม่ทราบว่าพี่ๆน้องๆจะจัดหา บ.แบบไหน ระหว่าง F-16/79 กับ F-5E/F
อยากทราบข้อมูลเป็นความรู้ และ อยากทราบความเห็นส่วนตัวของทุกๆท่านครับ
จำไม่ค่อยได้ รู้แต่ว่าเป็นF-16รุ่นลดสเปค ใช้เรดาร์+เครื่องยนต์เก่า พูดง่ายๆว่ากั๊กนั่นแหละเลยไม่มีใครซื้อ
ตอนนั้นตัวเลือกทอ.มีมิราจด้วย เคยอ่านสมรภูมิอยู่
F-16/79 แตกต่างจาก F-16A/B ก็คือการตัดความสามารถของเครื่อง ลดน้ำหนักบรรทุกและพิสัยบิน ลดความสามารถในการปฏิบัติการโจมตีภาคพื้นดิน เปลี่ยนเครื่องยนต์จาก F100 ให้เป็นเครื่องยนต์แบบ J79
จำได้ล่างๆว่าสิงคโปร์จัดไป 8 ลำก่อนชาติอื่นๆ
ตัวอย่าง
ถ้ามีเงินอยากซื้อรถซักคันตกลงใจเลือก Altis เพราะออฟชั่นดี เครื่องทนระบบทันสมัย แล้วศูนย์ TOYOTA ไม่ขาย Altis ให้ แต่เสนอ Limo รุ่นทำแทคซี่ให้ เป็นผมผมก็ไปซื้อยี่ห้ออื่นครับ (เปรียบเทียบนะ)
ขอเสริมคุณAkulaกับท่านหลวงอาวุธวิเศษตรับ(พอจะจำได้บ้าง) สาเหตุที่อเมริกาออกนโยบายจำกัดเทคโนโลยีอาวุธเพราะกรณีการปฎิวัติอิสลามในอิหร่านโค่นล้มพระเจ้าชาร์ซึ่งอเมรกาให้การสนับสนุน(ดูในหนังเรื่อง อาร์โก้ ได้ครับ) อาวุธเทคโนโลยีสูง เช่น F14 จรวดฟินิกซ์ หลุดไปถึงมือของโซเวียตในสมัยนั้น เพราะอยาโตลา โคไมนีต่อต้านอเมริกาและหันไปหาการสนับสนุนจากโซเวียต ทำให้อเมริกากลัวเทคโนโลยีจะรั่วไหล ประกอบกับในเวลานั้น F16 เพิ่งจะผลิตออกมาใหม่ รัฐบาลของประธานาธิบดีจิมมี่ คาร์เตอร์จึงมีแนวคิดที่จะลดspecลงเพื่อป้องกันการรั่วไหลของเทคโนโลยี ในเวลานั้นไทย สิงคโปร อินโดนีเซีย ต้องการเครื่องบินขับไล่ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าF5เพื่อต่อกรกับMig23ของเวียดนาม จึงต้องการF16AB แต่อเมริกาเสอนF16/79ให้ เพราะกลัวว่าเราซึ่งเป็นด่านหน้าต้านทานคอมมิวนิสต์เวียดนามจะล้มตามทฤษฏีโดมิโน ประกอบกับในเวลานั้น นอธอร์ปก็เสนอF5E/F ซึ่งต่อมาเรียกว่าF20Tigershark ก็เสนอ(ต้นแบบF20มาบินโชว์ที่ไทย แล้วก็ไปบินโชว์ที่เกาหลี แล้วเครื่องบินตกเลยปิดฉากเครื่องบินนี้ไปเลย)ซึ่งนอกจากเครื่องบินอเมริกาแล้ว ฝรั่งเศษเสนอmirage2000 ในตอนแรกสิงคโปรตกลงใจเลือกF16/79 แต่มีเงื่อนไขว่า ถ้าอเมริกาขายF16ABให้ประเทศในASEANเมื่อไร สิงคโปรก็จะขอเปลี่ยนเป็นF16ABด้วย สุดท้ายไทยสามารถร้องขอซื้อF16ABได้ 12 ลำ สิงคโปรจึงได้เปลี่ยนเป็นF16ABด้วย ส่วนอินโดนีเซียซึ่งทำท่าจะซื้อmirage2000 ก็เปลี่ยนมาซื้อF16ABตาม
F-16/79 prototype (#75752) banking over the Lockheed Forth Worth facilities and Carswell JRB. [LMTAS photo]
F16/79 ใช้เครื่องยนต์แบบ J79 คือรุ่นที่ลดเกรดสำหรับส่งออกต่างประเทศแข่งกับ F 20(F5G) ที่เสนอขายให้หลายประเทศรวมทั้งไทยด้วยแต่ก็ขายใม่ได้ทั้งคู่ครับ
In February of 1977, in a well-meaning but ultimately futile gesture, President Jimmy Carter announced a new arms transfer policy in an attempt to reduce arms proliferation throughout the world. Under this policy, American manufacturers could no longer sell to foreign air forces any combat aircraft that were the equal of those in the US inventory.
There were significant exceptions to this rule, e.g. the four NATO users of the F-16 and, as a special exception, the nation of Israel. Exceptions were also made for arms deliveries to Iran so that the Shah could continue to act as a bulwark against Soviet expansion in the Persian Gulf region.
At first, South Koreas request for F-16s was turned down under this new rule, but was later approved as a quid pro quo for pending US troop withdrawals from Korea. However, nations such as Jordan, Taiwan, and Venezuela were denied access to the F-16. To cater for the embargoed air forces, the FX Export Fighter Program was proposed, calling for an aircraft satisfying the following criteria:
Because of the high financial risk involved with the FX program, only two proposals were ultimately submitted: Northrop entered the F-5G/F-20, while General Dynamics teamed with General Electric to produce a less-capable export version of the Fighting Falcon, powered by a derivative of the J79 single-shaft turbojet. This project was announced by General Dynamics in November of 1979.
Although the J79 production in the states came to an end in 1979 (13,686 engines built) and the license production in Japan ceased the following year (while production in Israel still continued for use in the Kfir), the GE engine was the obvious choice to power a low-cost, easy-to-maintain export fighter. Used to power the B-58 Hustler, the F-104 Starfighter and the F-4 Phantom, the latter two were already in widespread service with large numbers of foreign air arms.
GE made some changes to the original design for use in the F-16/79 and designated it the J79-GE-17X. Obviously, the shape of the engine had to be altered to fit in the F-16s engine bay, furthermore a new feature was added to the engine, called Combat Plus (originally intended to boost the F-4 performance). When engaged by the pilot , Combat+ increases momentarily the fuel flow to the engine, in the mean time closing the engine nozzle slightly. This results in a net increase of the exhaust gas temperature by 100°F (56°C), producing a useful amount of extra thrust.
F100 | J79 | J79 Combat+ | ||
---|---|---|---|---|
Full AB | Full AB | Full AB at sea level | Full AB at Mach 2.0/35,000ft | |
Thrust (lbs) | 23,830 | 17,900 | 18,700 | 20,840 |
Thrust (relative) |
100% | 75.1% | 78.5% | 87.5% |
Even with Combat Plus, performance of this new version of the J79 was significantly inferior to the F100, and Combat Plus could only be used for short periods of time when specific operating conditions were met: the engine had to be running in full AB, compressor inlet temperature should not exceed 15°F (-9°C) and certain combinations of high speed / low altitude would result in excessive internal pressure build-up (due to high airflow involved) and would place extremely high strain on the engine casing. Combat Plus was eventually fitted to Israeli Kfir C-7 aircraft, which were powered by a J79 variant.
The main drawback of the uprated J79-GE-17X, however, is its military power fuel consumption, which is far higher than that of the F100. This was not considered to be a mission-critical factor, as the FX requirement restrained the range of the export fighter (limited strike capability). Another modification was the mating of the engine to the fuselage-mounted gearbox in the F-16, driving generators and hydraulically pumps. This problem was solved by adding a transfer gearbox to the powerplant.
A total of 3 development engines were built, the first being used for 60 hours of Preliminary Flight Rating Tests, running for 5 hours under simulated Mach 2.0 conditions. The two others were supplied to GD, where one of them was installed as the J79-GE-119 in F-16B serial number #75-0752 (acquired form the USAF in June 1980), one of the two original FSD F-16B aircraft.
Since the J79 engine required a lower airflow than did the F100 turbofan used on all production F-16A/Bs, the shape of the air intake was altered. Only external difference between the original, modular designed (and thus easily replaceable) intake section and the new one is the lengthened upper surface of the intake, which extends much further forward, making it an obvious recognition feature. As the J79 engine was also 18 inches (46 cm) longer than the F100, the rear fuselage had to be extended.
In order to limit the required changes to a minimum, the front face of the engine compressor was located at almost the exact same position as with the F100 resulting in a lengthening of the fuselageby 18 inches aft of the stabilator pivot point.
Internally, the new intake incorporated a fixed compression ramp in its roof, and, because the J79 turbojet ran a lot hotter than the F100, a bypass valve was added to supply the engine bay with a cold air flow. As an additional protection measure against the extra heat, a steel shield weighing almost 2,000lbs (900kg) had to be installed around most of the length of the new engine. The aircraft came to be known as the F-16/79.
It was projected that the F-16/79 would have a unit cost of a million dollars less than that of a standard F-16A, the unit flyaway cost being about $8 million in 1980 prices. The total program cost (development, construction & flight testing) was split between GD and GE, and amounted to an estimated $18 million.
The minimal modifications necessary to convert an F-16A to an F-16/79 ensured its assembly could easily be fitted in the Fort Worth production line, and no new fatigue or structural testing was needed. These factors resulted in a fast completion of the conversion task, and the F-16/79 first flew on October 29th, 1980 with company test pilot James A. McKinney at the controls.
The J79-powered F-16 was initially offered to Venezuela as a substitute for the F-16A/Bs that had originally been ordered. An evaluation team from Venezuela flew the F-16/79 in February of 1981. It was considered by as many as 20 other air arms, and briefings on the F16/79 were given to Austria, Jordan, Malaysia, Nigeria, Singapore, Taiwan and Thailand.
By June of the following year, a total of 122 flying hours, spread over 131 flights, was accumulated and the F-16/79 had proven to be a reasonable performer, achieving a top speed of Mach 2.0, max. altitudes of 50k feet, and demonstrating 9g maneuvers. After 9 months of testing, a total of 28 pilots had evaluated the aircraft. The future of the F-16/79 looked promising, and looked even better when the formal DOD policy on the FX Export Fighter was spelled out in a letter from Deputy Defense Secretary Carlucci to Air Force Secretary Verne Orr and Navy Secretary John Lehman:
"There are several friends and allies that are now, or soon will be, engaged in the process of modernizing their respective tactical air forces. Only a few can afford first-line fighters, and because of fiscal and other restraints it is important that the United States has alternatives to front-line aircraft available for export. (...) The alternative is the FX either as a stand-alone capability or as an element of lo/hi mix. It is clearly in the US national security interest to have our friends and allies equipped with systems that will still be military capable in the late 1980s and into the 1990s. (...) For this reason, we must selectively, but actively, encourage the foreign procurement of the FX, not leave this marketing effort just to the manufacturers. Wherever possible and appropriate, your departments will encourage representatives of foreign governments and defense establishments to include the FX in their aircraft modernization plans.".
However, most air arms were less than enthusiastic about the F-16/79. Not only was the F-16/79 less powerful than the standard F-16A/B, it was also significantly heavier because of the additional thermal shielding that had to be carried. This made the performance of the F-16/79 distinctly inferior to that of the F-16A/B.
The F-16/79 was attractive to other air arms only so long as politics and funding prevented them from purchasing the F100-powered F-16A/B. In 1980, President Carter relaxed his policy and allowed the delivery of some export F-16A/Bs to proceed, and the election of President Ronald Reagan later that year ensured that most foreign customers would have no problem in purchasing the F-16A/B provided they could come up with the cash. Consequently, no F-16/79s were sold.
Engine: One General Electric J79-GE-17X turbojet, 18,000 pounds with afterburning.
Maximum speed: Mach 2.0 at 40,000 feet.
Dimensions: wingspan 32 feet 8 inches, length 49 feet 5 inches, height 16 feet 4 inches, wing area 300 square feet.
Weight: 17,042 pounds empty, 25,646 pounds gross, 37,500 pounds maximum takeoff.
ขออภัยเป็นอย่างยิ่งครับ F5E/F คือ TigerII ครับ ส่วนF5Gคือ F20 Tigershark ครับ เวลานั้นไทยเพิ่งประจำการF5E/F ได้ไม่นาน เมื่อต้องเจอMig23 จึงต้องการเครื่องบินที่ประสิทธิภาพสูงขึ้น อเมริกาจึงเสนอGeneral Dynamic F16/79 ซึ่งใช้เครื่องยนต์J79ของF4 Phantomกับ F20 ซึ่งใช้เครื่องยนต์F404 ครับ
จะว่าไปทั้ง F-16A/B และ MIRAGE 2000 C/B ก็เป็นเครื่องบินรบที่พัฒนามาช่วยปลายยุค 70 และก็เข้าประจำการในช่วงต้นๆยุค 80 พอๆกัน
แต่ทำไม MIRAGE 2000 มันขายไม่ออกในภูมิภาคอาเซียน เราเลยหว่า ถ้าเทียบกันรุ่นต่อรุ่น ก็ไม่ได้ขี้เหร่กว่า F-16 สักเท่าไหร่ แถม Dogfight อาจจะคล่องตัวกว่าเสียด้วยซ้ำ หรือว่า มีราคาค่าตัวแพงกว่า
คงเป็นเรื่องของการเมืองล่ะครับ ฝรั่งเศสไม่ค่อยถูกกับภูมิภาคนี้เท่าไร
คงเป็นการเมืองแหละ เพราะยุคเจ็ดศูนย์มิราจขายดีมากๆกับพวกที่ไม่ได้เป็นลูกไล่ฝ่ายโซเวียตหรืออเมริกา
แถบตะวันออกกลางกับอเมริกาใต้ขายได้ดีมาก
ส่วนแถวบ้านเรามันแบ่งเป็นสองฝ่าย ลูกพี่คอยแจกของให้ ให้การสนับสนุน ก็เลยฝช้ของสายใครสายมัน
เท่าที่ผมทราบ F-4 กับ F-16A/Bมีความเร็วเท่าๆกันอยู่ที่ 2 มัคกว่าๆ..โดยที่F-16A/B ติดตั้งเครื่องยนต์เพียงเครื่องเดียว
ในขณะที่ F-4 ติดตั้งเครื่องยนต์ถึง 2 เครื่อง
แสดงว่าเครื่องยนต์ของ f-16 A/B มีกำลังขับสูงกว่าเครื่องยนต์ของ F-4มากๆเลยใช่หรือไม่ครับ
เพราะความเร็วสูงสุดใกล้เคียงกัน..โดยF-16 ติดตั้งเครื่องยนต์เพียงเครื่องเดียว แต่F-4ใช้ถึง 2เครื่อง
ฉะนั้น..หากใช้เครื่อง J-79 ของF-4 จำนวนแค่ 1 ตัว..มาติดตั้งไว้ใน F-16/79 เ
ป็นไปได้หรือครับว่า F-16/79 จะทำความเร็วได้ถึง 2 มัค...เพราะตอนติดตั้งใน F-4 ใช้เครื่องยนต์ถึง 2 เครื่อง
ยังทำความเร็วได้แค่ 2 มัคกว่าๆเอง
จากข้างบน ไม่นะครับ เจ้า F4 หนักกว่า F16 เยอะนะครับ สามารถบรรทุกอาวุธได้มากกว่า เยอะพอสมควรเลย คล้ายๆกับ JAS 39 ของเรา กับ SU 30 แต่ JAS 39 ของเราถ้าจะกวด เจ้า SU ได้ ต้องติดเครื่องยนต์ซัก3ตัว ถึงจะพอสูสี เพราะเครื่อง JAS เท่าที่รู้มา เอามาจากเครื่อง F 18 ซึ่งไม่แรงเท่าไร ถ้าเทียบกับเครื่องของ SU ประมาณเครื่อง นิสสัน มาชร์ กับ2Jโบว์ หอยไหญ่
ต้องเข้าใจด้วย ประเทศเรา eco ใช้ 1.2 พอ ส่วน พวกรวยๆหรือประเทศที่ยาวเค้าต้องใช้ 2jc 2 ตัว
แต่ต้องคำนึงว่าตอนภา่วะสงคราม อัตราพร้อมรบเราสูงกว่านะครับ ประสบกว่าก็สูงกว่าเนื่องจาก ค่าใช้จ่ายต่างกันแบบราวฟ้ากับดินเลย(ค่าใช้จ่าย/ชม.บิน) เรา เป็นประเทศ def ไม่ใช่ ประเทศ atk เครื่องเล็กๆน่ารักๆนี้ละ ขึ้นลงสะดวก ไม่ต้องไปกลัวสนามบินโดนระเบิดแล้วลงไม่ได้ แต่พวก 2jc อ่ะสิ จะตายอ่ะ ถ้าไม่มี สนามบิน ตายกับตายครับ ได้อย่างเสียอย่าง ประเทศไทย eco ครับ
เเหมท่าน vinvorachai บอกว่าเราใช้ ECO 1.2 ยังกะโครงการรถคันเเรกเลยครับ.เเต่ไม่รู้ต่อไปจะมีโครงการเครื่องบินลำเเรกหรือปล่าวน๊ะ..55
แหม่ๆๆ กลับสู่สามัญ โครงการเครื่องบิน ลำแรก โครงการนี้ผมสนับสนุนครับ แล้วไปเก็บภาษีรายปีแพงๆทีหลัง 55 ลดภาษี 10 ล้าน แต่เราเก็บภาษี ปี ละ 3 ล้านก็คุ้มแล้วครับ 555+ แถม ได้ รู้ว่าคนนี้คนรวยอีกได้ภาษีเงินได้ครับ มีแต่ได้กับได้ครับ 555 ช่วยรัฐหางบประมาณเพิ่มขึ้นทางกองทัพจะได้เงินเพิ่มมากขึ้นครับ ผมสนับสนุน อิอิ