โครงการเรือ LCS (Litteral Combat Ship) ของ ทร.สหรัฐ เป็นโครงการที่เป็นผลสืบเนื่องมาจาก การจัดหาเรือฟริเกตใหม่ เพื่อมาทดแทน เรือ OHP ที่มีประจำการอยู่ใน ทร.สหรัฐ ประมาณ 50 ลำ...
ซึ่งการจะจัดหาเรือใหม่ ที่มีรูปแบบ ฟริเกต ก็จะมีมูลค่าโครงการสูงมาก ถึงลำละกว่า 1,000 ล้านเหรียญต่อลำ ในขณะเดียวกัน สหรัฐ ก็ยังต้องเข้าประจำการเรือ DDG อีกจำนวนหลายลำในขณะนั้น เพื่อมาทดแทน หรือ CG ต่าง ๆ ด้วย...
ทางเลือกในขณะนั้น มีอยู่ 2 ทาง คือ
1. ปรับปรุงเรือ OHP เพื่อยืดอายุใช้งานออกไป
2. จัดหาเรือใหม่ ที่มีรูปแบบ ยืดหยุ่น และมีค่าใช้จ่ายปฏิบัติงานต่ำ ตลอดอายุการใช้งาน โดยเมื่อเปรียบเทียบกับ การปรับปรุงเรือ OHP และยืดอายุใช้งานออกไป จะมีค่าใช้จ่าย น้อยกว่า
โครงการ LCS จึงเกิดมาเพื่อทดแทน เรือชั้น OHP...ซึ่งการเกิดขึ้นของ LCS ทำให้เห็น มุมมอง การใช้เรือรบของ ทร.สหรัฐ เปลี่ยนแปลงไป ในแนวคิด...และ แสดงให้เห็นถึงว่า รูปแบบสงครามเย็น ระหว่างสหรัฐ กับ อดีตสหภาพโซเวียต ได้หมดไป...แต่ในขณะเดียวกัน ก็จะเห็นรูปแบบ สงครามที่ สหรัฐ วางเป้าหมายในการปิด น่านน้ำ ประเทศที่เป็นภัยคุกคาม อย่างน่าสนใจ และแสดงให้เห็นถึงว่า สหรัฐ ก็มอง ศักยภาพกองเรือของตนเอง เป็น อันดับหนึ่ง ทีเดียว
ในความเห็นส่วนตัวผม พอจะสรุปภาพของ กองเรือสหรัฐ ได้ดังนี้
1. เรือ LCS จะเป็น กองเรือส่วนหน้า ในการต่อตี และเป็น กองเรือเพื่อเคลียร์ทะเล ในการบุกยึดหัวหาด
2. เรือ DDG จะเป็น กองเรือควบคุม และ คุ้มกัน ทั้งทางอากาศ และ ทางผิวน้ำ เป็นกองเรือต่าง ๆ รวมถึงปิดน่านน้ำ
3. กองเรือ บรรทุกเครื่องบิน จะเป็น กองเรือครองอากาศ ในบริเวณทั้งหมด และคุ้มกัน กองเรือยกพลขึ้นบก
แผ่นภาพ สรุป ภาพรวมโครงการ LCS ของ ทร.สหรัฐ
แนวทางการประหยัดค่าใช้จ่าย ในความหมายของ ทร.สหรัฐ ก็คือ
สหรัฐ จัดหาเรือประจำการ เท่าเดิม คือ 55 ลำ...แต่เรือทั้ง 55 ลำ สามารถดำเนินทางภาระกิจ ได้ถึง 64 ภาระกิจ...
แม้ว่า สหรัฐ จะสูญเสีย เรือ ไป...แต่ โมดูล ของ แต่ละภาระกิจ ก็ยังมีอยู และสามารถปรับเปลี่ยนใช้กับเรือ ในภาวะการณ์ของ ภัยคุกคาม ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ว่าเป็น แบบใด ได้...
เช่น ในขณะนั้น มีภัยคุกคาม จากเรือดำน้ำสูง มาก...เรือ LCS ก็จะนำ โมดูล เกี่ยวกับ การปราบเรือดำน้ำ นำมาใส่ในตัวเรือ LCS หรือที่เรียกว่า Sea Frame...ในเรือที่มีอยู่ในขณะนั้น ในจำนวนเรือที่ต้องการ เพื่อทำการปราบเรือดำน้ำ...
และ หลังจากเสร็จสิ้น ภาระกิจกำจัดภัยใต้น้ำ เสร็จสิ้น...ก็จะเป็นภาระกิจ ต่อต้านภัยจากการก่อการร้าย หรือ ลอบโจมตี กองเรือ...
เรือ LCS ที่มีอยู่ในขณะนั้น ก็สามารถปรับเปลี่ยนภาระกิจ โดยใช้ โมดูล การต่อต้ายภัยผิวน้ำ มาใช้บนเรือ แล้วนำ โมดูล ปราบเรือดำน้ำ ออกไป...
ตามแผ่นภาพ ครับ
การประหยัด ค่าใช้จ่าย กำลังพล...
ก็มีการ วางแนวคิด คือ
กำลังพลประจำบนเรือ + กำลังพลในแต่ละ โมดูล
โดยกำลังพลในแต่ละ โมดูลของภาระกิจ ก็จะมี จำนวนแตกต่างกันไป
ซึ่ง ก็จะช่วยในการลดค่าใช้จ่าย ที่ กำลังพลแต่ละ โมดูล ก็จะสับเปลี่ยนไปประจำกาบนเรือต่าง ๆ
ไม่จำกัดว่า เรือแต่ละลำ จะต้องมี กำลังพลประจำเรือ คงที่...กำลังพล จะผันแปร ไปตามภาระกิจ ในขณะนั้น ๆ...
แผ่นภาพนี้ เป็นจุดเริ่มต้น ของการคิดแนวทาง ลดกำลังพล ครับ...
ส่วนในเรื่อง การบริหารกำลังพล...
ตามที่ผมอ่าน และ ทำความเข้าใจ คือ การใช้หลัก 3-2-1
สำหรับ พลประจำเรือ จำนวน 2 ลำ...
ซึ่ง เมื่อประกอบกับข้อมูลว่า สหรัฐ จะใช้เรือ LCS จำนวน 4 ลำ ประจำการที่ สิงคโปร์ และ จำนวน 8 ลำ ประจำการที่ บาร์เรน...
ผมจึงมีความเข้าใจว่า...สหรัฐ จะใช้ กำลังพลเพียง 3 ชุด...สำหรับสับเปลี่ยนและใช้งานเรือ จำนวน 4 ลำ...
โดยระยะเวลา การปฏิบัติภาระกิจของเรือ แต่ละลำ อยู่ที่ 16 เดือน...ออกทะเล ดำเนินภาระกิจ ครั้งละ 4 เดือน...
เลยพอจะ ประมวล เป็น แผ่นภาพ ตามที่แสดงครับ...
ก็ตาม คอนเซ๊ป Plug and Fight
เรือ เสียบ ปลั๊กอาวุธ แล้ว ต่อสู้ ได้เลย...
หรือ
Sea Frame + Package = Fighter ship
ดูแล้ว ก้จะคล้าย ๆ กับ เกมส์ ที่เล่นกัน มากขึ้น...
รายละเอียด แต่ละ Package
LCS = Sea Frame
อยากให้ท่าน juldas อธิบายเจ้า MEKO CSL ด้วยครับเผื่อเยอรมันเขาจะเสอนแบบเรือนี้มาแทน MEKO D เพราะราคาน่าจะถูกกว่าด้วย และที่น่าสนใจคือเป็นเรือลูกครึ่งสวีเดนเยอรมัน ดูเหมือนว่าจะเป็น VISBY ขยายแบบ
Superiority by Flexibility
The Combat Ship for the Littorals (CSL) is a highly innovative design incorporating an ingenious fusion of technologies including MEKO® Mission Modularity, extreme high speeds, a combination of steel hull and composite superstructure, an integrated mast, total stealth characteristics, a 360° bridge concept completed by all advanced MEKO®-features and thus presents the most advanced MEKO®-design in the product range of Blohm + Voss.
The MEKO® CSL is designed as a mono-hull with the hull constructed of higher tensile steel and the superstructure of FRP sandwich material. This choice was taken due to some advantages of this material combination, such as lower structural weight, which results in higher weight allowance for the Multi Mission payload, lower RCS due to similar electrical conductivity of both materials but higher flatness of the composite panels for the superstructure as well as a lower infra-red signature due to better thermal conductivity.
Main Specifications: |
||
Length: | 108.80 m | |
Beam: | 21.00 m | |
Draft: | 3.90 m | |
Displacement: | 2,750 tons | |
Range: | 3,500 nm at 16 knots | |
Endurance: | 21 days | |
Speed: | >45 knots | |
Accommodation: | 95 berths | |
Propulsion plant: | CODAG |
https://www.blohmvoss-naval.com/en/meko-csl.html
ถ้าได้ลำนี้2ลำผมจะสำนึกในบุญคุณอเมริกาไปอีกนานเลย แต่สงสัยจะได้แค่ขายฝัน
ถ้ากองทัพเรือซื้อจริงๆต้องส่งคนไปประกบการทำงานทุกขั้นตอน จะได้ไม่มีใครออกมาบอกว่า"เหล็กอเมริกาบาง"
เรือรบ สหรัฐ กับ ไทย...ไม่ใช่ เรื่องแปลก ครับ...
เรือชั้นตาปี กับ ชั้น รัตนโกสินทร์ ก็ ต่่อ มาจาก อเมริกา ครับ...และเป็น บทพิสูจน์ ได้อย่างดี ถึง คุณภาพ และความสมราคา...
และไม่ได้หมายถึงว่า ไทย ไม่มีความสามารถ ซื้อเรือจาก สหรัฐอเมริกา ครับ...
ส่วน เรือที่มาจากประเทศจีน...ที่ในขณะนี้ พูดถึงกัน ก็คือ...ส่งของ ไม่ตรงสเปค น่ะครับ...
ราคาที่จัดหา...มันก็เป็น สเปคเรือ ที่ไม่สูงอยู่แล้ว...แต่ยัง ผลิต มาต่ำกว่า สเปค ที่ไม่สูง อีก...
รวม ๆ ก็คือ เรือจีน ถ้าจะประจำการให้ครบอายุประจำการ ก็ไม่ได้ราคาถูก ตามโฆษณา น่ะครับ...
อย่างเรือชั้น ปัตตานี ราคารวมจริง ๆ ก็เกือบ 4,000 ล้านบาท ครับ...ตกลำละเกือบกว่า 2,000 ล้านบาท...ไม่ได้ แตกต่าง กับการจัดหาจากประเทศอื่น ๆ เท่าไหร่หรอกครับ...
ก็ในเมื่อ มีเงินที่จะซื้อของมีคุณภาพ แล้วจะไป เสี่ยง ทำไม...
หรือ ลองศึกษา จาก พม่า ก็ได้ครับ...
สำหรับเรือตรวจการณ์ปราบเรือดำน้ำ ที่ซื้อมาจาก จีน...ว่ามันหมดสภาพ ไปหลายลำ...
จน พม่า กำลังสร้างเรือ Series 5 ของ ตนเอง มาทะยอย ทดแทน...
ทั้ง ๆ ที่ ก็เพิ่ง จัดหามาไม่นาน เท่าไหร่...
ส่วนเรือที่ซื้อจาก จีน มือสอง...ก็คือ ซื้อเรือเก่าของ จีน...ที่ จีน ใช้งานเอง...ไม่ได้ ซื้อเรือใหม่...
ส่วน เรือฟริกตใหม่...พม่า สร้างใช้เอง...ไม่ซื้อจากจีน สักลำ...
ก็คงต้อง รอดู เรือ F-22P ของ ปากีสถาน ครับ...ว่าจะมี อายุยืน สักเท่าไหร่ ครับ...
ในความคิดผมคิดว่าแนวทางการจัดหาอาวุธของกองทัพคืออยากพึ่งพาตัวเองให้มากที่สุด หาจัดหาทั้งระบบแบบเบ็ดเสร็จอาจจะย้อนกลับเหมือนพึ่งคนอื่นมากกเกิน ผมเลยเดาว่าอาจจะมีการซื้อแค่กตัวเรือกับระบบบางส่วนที่เหลืออาจจะหาเพิ่มเติมจากแหล่งอื่นมากกว่า เป็นลูกผสมในแบบตัวเองประมาณนี้
ในความเห็นส่วนตัว นะครับ...
ผมมองว่า การพึ่งพาตนเอง ของ กองทัพเรือ...ผมว่า ทร. น่าจะ ทุ่มไปกับ เรือชั้น กระบี่ ครับ...
ซึ่ง รูปแบบ เรือ LCS นี้...ผม ค่อนข้าง จะให้ น้ำหนักว่า...ทร. น่าจะนำไปพัฒนา กับ เรือชั้น กระบี่ ครับ...
ในเบื้องต้น เราคงจะได้ข้อมุล เบื้องต้นของ เรือชั้น กระบี่ คือ การ มีพื้นที่สำหรับ การดำเนินภาระกิจ ด้วย คอนเทนเน่อร์...
ซึ่ง ระบบเรือ LCS ของ สหรัฐ ก็เป็น แบบเดียวกัน ครับ...
คือ ระบบ Package ของ โมดุลต่าง ๆ ก็จะอยู่ใน คอนเทนเน่อร์ ครับ...
ลอง กดดู ตาม link กัน ครับ...จะเห็น พื้นที่ภายใน ของ เรือ LCS ที่วางคอนเซ็ป ไว้รองรับสำหรับ โมดูล หรือ Package ของ ระบบอาวุธต่าง ๆ ครับ...
พอดี รูปใน link มัน copy ไม่ได้ครับ...
http://www.lmlcsteam.com/features-and-specifications
http://www.lmlcsteam.com/features-and-specifications
วางลิงค์ ใหม่ ครับง..
ลองดูกัน ครับ...สวยงามดี ครับ...
Mission Module ครับ...สำหรับ นำไปใส่ ในเรือ LCS...
ซึ่ง ผมให้ น้ำหนักของ เรือชั้น กระบี่...ที่ ทร. น่าจะวางเป้าหมายในการพัฒนา เป็นเรือ LCS...
ผมแปลกใจนะครับ สำหรับความคิดเห็นบางท่าน
จริงๆคือไม่ได้อยู่ที่จะต้องส่งคนไปดูอะไรหรอกครับ มันอยู่ที่มาตรฐานของบริษัทที่ต่อเรือ การควบคุมคุณภาพ ไม่มีการหมกเม็ดลดสเปค ความเป็นมืออาชีพ
ผลลัพธ์การใช้งานก็เเสดงออกมาหลายด้าน
ไม่รู้ว่าจะพูดเสียดสีกันทำไม
:
ขอบคุณมากครับป๋าชัดเจนเลย เค้าทำเจ๋งดีเห็นรายละเอียดดีมาก ยิ่งคิดแบบนี้ผมว่าดีลนี้ของเรา ทร คงต้องทำการบ้านดีๆซักหน่อย เพราะเหมือนเป็นตัวชี้วัดอนาคตเลยนะเนี่ย ไปเอาของไม่ดีมาให้โดนด่าแถมยังถอยหลังลงคลองคงไม่เหมาะ คงต้องเป็นกำลังใจให้หนักๆอย่าได้โดนของเลย อิๆ
ถ้าตามกำหนดเวลาโครงการในแผนภาพ Powerpoint ในข้างต้นกองทัพเรือน่าจะมีการประกาศผลหรือแถลงแบบเรือที่จะคัดเลือกในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนมีนาคมนี้ครับ
เพราะว่าเริ่มออกรับ RFP(Request for Proposal) ไปเมื่อช่วงเดือนพฤศจิกายนปี ๒๕๕๕
(คัดเลือกแบบ ส.ค.๕๕- ๒๑ ก.พ.๕๖, ขอความเห็นชอบ ๒๑ ก.พ.๕๖-๑๔ มี.ค.๕๖, ขออนุมัติจัดจ้าง ๑๔ มี.ค.๕๖-๑๔ พ.ค. ๕๖ ลงนามสัญญาปลายเดือนพฤษภาคม ๕๖)
http://aagth1.exteen.com/20130201/entry
ชอบ LCS2 มากเลย ^^
ที่จริง เรา ควรมอง เรือจาก US / EU มากกว่า จาก CN นะครับ (KR ผมยัง เฉย ๆ กะของจากประเทศนี้ )
กระทู้นี้ ขอ ออกตัว ก่อนนะครับว่า...
เป็นการนำเสนอ เพื่อจะทำความรู้จักกับเรือ LCS ครับ...ว่า...สหรัฐ มีมุมมองกับ ภาระกิจ อย่างไร น่ะครับ...ไม่ได้ หมายถึง การคัดเลือกแบบเรือฟริเกตสมรรถนะสูง ของ ทร. นะครับ...
และ ไม่ได้จะเป็น LCS เฉพาะของ สหรัฐ เท่านั้น ครับ...จะรวมถึง LCS ของประเทศอื่น ๆ ด้วย...ว่ากำหนด คุณสมบัติ อย่างไร...เช่น ตามที่ คุณ pop04 แนะนำ แบบของ เยอรมัน รุ่น Meko...
และ อาจจะขยายผล ไปถึง เรือ Gowind ของ มาเลเซีย...ที่ มาเลเซีย ให้ความหมายเป็น เรือ LCS ของ มาเลเซีย...ว่ามีความเป็น LCS หรือ เป็น เรือฟริเกตตามแบบทั่วไป ครับ...
คราวนี้ ลองมาทำความรู้จักกับ LCS ของ Meko-CLS ครับ...ตามคำแนะนำ
เรือ Meko CLS เป็นเรือที่ แผนแบบ คุณลักษณะเด่นของ เรือชั้้น Visby ของ สวีเดน กับ เรือชั้น Meko ของ เยอรมัน เอง
คุณลักษณะแบบ จัดเต็ม ของ Meko CSL
ที่ยังคงให้ความสำคัญ กับ Module Missions ที่ให้ความยืดหยุ่น กับ ภาระกิจของเรือ ที่ไม่ จำเพาะเจาะจง ว่าเป็น เรือเฉพาะภาระกิจ เท่านั้น...
พื้นที่ สำหรับ รองรับ Module ต่าง ๆ...สำหรับ คอนเทนเนอร์ แบบมาตรฐาน ที่ 20 ฟุต จะสามารถรองรับได้ 21 ภาระกิจ...
ตามความเข้าใจของผม...ระบบอาวุธต่าง ๆ เช่น แท่นยิง VLS หรือ แท่นยิง SSM ก็จัดเป็น Module หนึ่ง ที่จะสามารถติดตั้งในภายหลังได้...
หรือ ในบางขณะนั้น ที่ยังไม่มีความจำเป็นต้องใช้...ก็อาจจะยังไม่ติดตั้งใน ณ ช่วงเวลานั้น...แต่เมื่อถึงเวลาที่มีความจำเป็นต้องใช้ ก็สามารถ นำมาติดตั้งได้ทันที...
และใช้ได้ในทันที โดยมีระบบการเชื่อมต่อ รองรับไว้อยู่แล้ว...ไม่แน่ใจว่า...ผมจะเข้าใจคอนเซีป นี้ ผิด หรือเปล่า นะครับ...
อีกรูปครับ...
ระบบขับเคลื่อน ก็เป็นแบบ CODAG ซึ่งไม่แน่ใจว่า และรบบแบบ Water Jet...
ซึ่งระบบแบบ Water Jet ความเข้าใจผมว่า...อาจจะไม่ต้องมีก็ได้...ถ้าประเทศผู้ซื้อ ไม่มีวามต้องการ เพราะดูแล้วเป็นระบบที่ ติดตั้งภายนอก...
ซึ่ง อิสราเอล ก็มีคามสนใจ ใน Meko CSL สำหรับการจัดหาเรือใหม่ จำนวน 2 ลำ หลังจาก สั่งซื้อ เรือดำน้ำ จาก เยอรมันไปแล้ว จำนวน 2 ลำ...
โดย อิสราเอล อยากให้ เยอรมัน จัดหาแหล่งเงินทุนในการจัดหาให้ด้วย เหมือนกับ การจัดหา เรือดำน้ำจากเยอรมัน...
Planning for Iran: Navy Eyes Worlds First Air-Defense Corvettes
Israel hopes to acquire two multi-mission corvettes that would enable the navy to deploy further from home.
By Hana Levi Julian
First Publish: 5/26/2010, 9:31 AM / Last Update: 5/26/2010, 9:48 AM
Israel is hoping to acquire two multi-mission corvettes and arm them with air-defense capability. The creation of the worlds first air defense corvettes will also give the Israeli surface fleet independent air cover for the first time, enabling them to deploy further from home.
The Israel Navy is hoping to acquire the Meko A-100, built by Blohm and Voss, a division of Germanys Thyssen-Krupp Marine Systems (TKMS) Group. Aviation Week is predicting that Israel will purchase the latest stealth version of the vessel, known as the Meko CSL, “which can be adapted to meet Israeli requirements for versatility sensors and deck space.”
The CSL corvette, notes the trade publication, can be rapidly configured for different missions. The Meko CSL is 108 meters (354 ft.) long, with a beam of 21 meters and full-load displacement of 2,750 metric tons. Propulsion is by a combined diesel-and-gas/water-jet system, and endurance is 21 days. The vessel is fully crewed with 75 soldiers.
It is expected that Israel will arm the vessels with the Barak 8 extended-range air-defense system from Israel Aerospace Industries. In addition, it will carry more missiles than the current Saar 5 class, and will be able to mount the Elta MF-Star 360-degree phased-array radar system, anti-submarine weapons and a helicopter
Planning for Iran: Navy Eyes Worlds First Air-Defense Corvettes
Israel hopes to acquire two multi-mission corvettes that would enable the navy to deploy further from home.
By Hana Levi Julian
First Publish: 5/26/2010, 9:31 AM / Last Update: 5/26/2010, 9:48 AM
Israel is hoping to acquire two multi-mission corvettes and arm them with air-defense capability. The creation of the worlds first air defense corvettes will also give the Israeli surface fleet independent air cover for the first time, enabling them to deploy further from home.
The Israel Navy is hoping to acquire the Meko A-100, built by Blohm and Voss, a division of Germanys Thyssen-Krupp Marine Systems (TKMS) Group. Aviation Week is predicting that Israel will purchase the latest stealth version of the vessel, known as the Meko CSL, “which can be adapted to meet Israeli requirements for versatility sensors and deck space.”
The CSL corvette, notes the trade publication, can be rapidly configured for different missions. The Meko CSL is 108 meters (354 ft.) long, with a beam of 21 meters and full-load displacement of 2,750 metric tons. Propulsion is by a combined diesel-and-gas/water-jet system, and endurance is 21 days. The vessel is fully crewed with 75 soldiers.
It is expected that Israel will arm the vessels with the Barak 8 extended-range air-defense system from Israel Aerospace Industries. In addition, it will carry more missiles than the current Saar 5 class, and will be able to mount the Elta MF-Star 360-degree phased-array radar system, anti-submarine weapons and a helicopter
แต่เดิม ในโครงการจัดหาเรือครั้งแรก...อิสราเอล มีความต้องการ LCS จาก สหรัฐ อเมริกา...และ สหรัฐ เอง ก็ให้ความสนับสนุน...แต่เมื่อ อิสราเอล ดูต้นทุน ในจัดหา และให้เป็นไปตามแผนที่ อิสราเอล ต้องการ จะมีราคา ที่สูงเกินไป....ตามข้อมูล อิสราเอล ประเมินเรือ LCS ที่จะจัดหาจาก สหรัฐ มีมูลค่าประมาณ 480 ล้านเหรียญ...และ อิสราเอล จะต้องทำการปรับปรุงเพื่อติดตั้งระบบอาวุธตามแบบของอินอิสราเอลอีก อาจจะมีมูลค่ามากกว่า 300 ล้านเหรียญต่อลำ...รวม ๆ อาจจะมีต้นทุน ประมาณ 780 ล้านเหรียญ ต่อ ลำ...
แต่ในขณะเดียวกัน อิสราเอล ก็ดูจะมีปัญหาในการจัดหา เรือแบบ Meko เพราะ ผู้ร่วมทุนของบริษัทฯ ที่ผลิต มีผู้ถือหุ้นเป็น ประเทศอาหรับ อามิเรต...
Israel Turns to Germany for Naval Stealth Ships
Israel is interested in acquiring two corvette size ships to extend its naval operational capabilities. After analyzing the U.S. Littoral Combat Ship (LCS), Israel decided these vessels would be too costly. While each LCS would have cost $480, Israel was prepared to spend up to $300 per ship, which roughly corresponds with what the Malaysian Navy spent on a similar design (MEKO A-100 Kedah class). Yet, an obstacle that could hinder the potential sale is the recent acquisition of Blohm + Voss Shipyards - the shipbuilder of the MEKO Class vessels - by the Abu Dhabi MAR Group of the United Arab Emirates.
http://www.defense-update.com/features/2010/january/israelnavy190110.html
อันนี้ แผ่นภาพ แบบ สมมติ สมมติ นะครับ...
ถ้า ทร. จะจัดหาเรือแบบ LCS ภายใน งบประมาณ 500 ล้านเหรียญ ต่อ ลำ..ผมว่า น่าจะอยู่ในงบประมาณ ได้นะครับ...
ผมชอบแบบCLSที่คุณJudasสมมติมากกว่าCLSของLMครับ เพราะระบบน่าจะเข้ากับเราได้ดีแม้ว่าประสิทธิภาพอาจใกล้เคียงกับModelเรือนเรศวร แต่คุณลักษณะของเรือCLSน่าจะใกล้เคียงOPVมากกว่าจะเป็นเรือฟรีเกต ผมว่าทร.น่าจะใช้ข้อมูลของLCSที่LMเสนอมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงเรือOPVลำที่2-4ต่อไปนะครับ
ชอบเจ้า Meko CSL ที่คุณ Judas เสนอมากสุดครับ :)
พี่จูลดาสครับ สำหรับผม เรือ LCS นี่ชอบในแนวคิดในการปฏิบัติภารกิจของเรือมากครับ รวมถึงความไฮเทคของเรือด้วย
แต่ผมติดอยู่เรื่องเดียวคือวัสดุส่วนใหญ่ของเรือเป็นอลูมิเนียมนี่ล่ะครับ ความคงทนถาวรจะยาวขนาดไหน ยังไม่ทราบ
เพราะดูจากตัวอย่างเรือฟริเกต ไทป์ 21 ชั้นอเมซอนของ ทร.อังกฤษ ที่ขายต่อปากีสถานไปเมื่อยี่สิบกว่าปีก่อนนั้น ก่อนส่งมอบให้ ปรากฎว่าตัวเรือมีอาการล้าอย่างมาก ขนาดแค่ส่วนของ super structure เท่านั้น ต้องซ่อมทำกันเยอะพอดู
ในผมยังอยากให้ เรือชุดใหม่ของ ทร. เป็นระดับฟริเกตแท้ ๆ มากกว่าครับพี่
แต่ยอมรับว่า หัวคิดอเมริกามันเวิร์คจริง ๆ เกี่ยวกับคอนเซปต์เรือซีรีส์นี้
ผมว่า มันน่าจะได้มาตรฐาน เรือฟริเกต นะครับ ท่านครูบ้านนอก...
ซึ่งตาม คอนเซ๊ป LCS ของ สหรัฐ คือ ความสามารถของเรือ เทียบเท่า กองเรือฟริเกต...ในความหมาย นี้ น่าจะหมายถึง เมื่อเทียบกับ OHP น่ะครับ...
เพียงแต่ รูปแบบ หรือ การออกแบบ เรือ...ลักษณะการใช้เรือ เพื่อรองรับกับ อุปกรณ์ระบบลักษณะ ความยืดหยุ่น หรือ Module Mission...ทำให้ คุณลักษณะเรือ จะให้ชื่อเรียกว่า LCS หรืแ CSL น่ะครับ...
แผ่นภาพ ในมุมมอง แนวคิด การโจมตี ของ สหรัฐ และ หลักการใช้ LCS ของ สหรัฐ
จะดูว่า สหรัฐ ให้ความสำคัญ LCS เป็นเรือแนวหน้า ที่จะ กรุยทาง หรือ เคลียร์ น่านน้ำ หรือทำการโจมตี ให้ใกล้กับ ฐานที่ม้่นฝ่ายตรงข้ามให้ได้มากที่สุด เพื่อ เปิดทางให้ DD เข้า คุมน่านน้ำแบบ เบ็ดเสร็จ...
เรื่องความคงทน หรือ แนวคิด LCS น่าจะมีความคงทน เทียบเท่า เรือฟริเกต น่ะครับ..ในความเห็นของผมนะครับ
LCS คือความพยายามแค่ อยากได้เรือที่ระวางขับน้ำต่ำที่สุดเท่าที่ ฮ.ใหญ่ 2 ตัวลงได้(ที่เราเรียกกันว่า ฮ.10ตัน)
แค่นั้นจริงๆ หน้าตาก็เลยออกมาอย่างที่เห็น คือตัวเรือกว้างมากแต่เพรียว(มันก็ต้อง Trimaran 2-3 พันตัน)
อยากทำแบบเขาก็ต้องหาตัวเรือกว้างๆบ้าง เช่นเรือ Ferry สมุย Catamaran แต่ดาดฟ้าต้องทำให้เรียบ ฮ. ลงได้
พอเข้าใจ Concept แล้วเราประยุกต์มาใช้กับบ้านเราได้ง่าย