เป็นการรวบรวมข้อมูล มูลค่าการจัดหาเรือรบ ของประเทศต่าง ๆ เพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษา และ วิเคราะห์
เพื่อใช้การพูดคุย เกี่ยวกับ การจัดหาเรือฟริเกตสมรรถนะสูง จำนวน 2 ลำ ของ ทร. นะครับ...
ในข้อมูลนี้ นำเสนอเฉพาะข้อมูล ประเทศที่ คาดหมาย ว่าจะนำเสนอขายเรือรบ ให้แก่ ทร.
ประกอบด้วย
1. จีน
2. ฝรั่งเศส
3. เยอรมัน
4. เกาหลีใต้
5. สเปน
6. อังกฤษ
หมายเหตุ ในข้อมูลนี้ บางโครงการจะหมายรวมถึง ระบบอาวุธต่าง ๆ บนเรือด้วย บางโครงการ น่าจะเป็นเฉพาะข้อมูลสำหรับตัวเรือ
เริ่มจาก ประเทศ จีน
ต่อด้วย ฝรั่งเศส
ต่อด้วย เยอรมัน
ต่อด้วย เกาหลีใต้
ต่อด้วย สเปน
และสุดท้าย อังกฤษ
ความหมาย
Type = แบบเรือ
Value = มูลค่าโครงการทั้งหมด
Price/ship = ถัวเฉลี่ย ราคา ต่อ ลำ
Total = รวมจำนวน ทั้งสิ้น
Recipient = จำนวน ที่สร้างโดย ประเทศที่ ขาย
Licenser = จำนวน ที่สร้างโดย ประเทศที่ ซื้อ
Ship/Ton = ระวางสูงสุด ของ เรือ
Average/Ton = ถัวเฉลี่ย มูลค่าการจัดหา ต่อ ตัน ของระวางเรือสูงสุด เพื่อใช้ในการ เปรียบเทียบ หรือ วิเคราะห์
Average/Ton
มีไว้เพื่อ ไว้ใช้เป็น มุมุมอง ในการจัดหา เรือฟริเกตสมรรถนะสูง ของ ทร. 2 ลำ และ ประเมิน วิเคราะห์ เช่น
มูลค่าโครงการของ ทร. จำนวน 2 ลำ มูลค่า 1,000 ล้านเหรียญ
ถัวเฉลี่ย ลำละ 500 ล้านเหรียญ
ถัวเฉลี่ย ระวางเรือสูงสุด ที่ระวาง 5,000 ตัน จะได้ราคาจัดหา ตันละ 100,000 เหรียญ
ถัวเฉลี่ย ระวางเรือสูงสุด ที่ระวาง 4,500 ตัน จะได้ราคาจัดหา ตันละ 111,100 เหรียญ
ถัวเฉลี่ย ระวางเรือสูงสุด ที่ระวาง 4,000 ตัน จะได้ราคาจัดหา ตันละ 125,000 เหรียญ
ถัวเฉลี่ย ระวางเรือสูงสุด ที่ระวาง 3,500 ตัน จะได้ราคาจัดหา ตันละ 142,800 เหรียญ
ถัวเฉลี่ย ระวางเรือสูงสุด ที่ระวาง 3,000 ตัน จะได้ราคาจัดหา ตันละ 166,600 เหรียญ
อย่างเช่น การจัดหาของ อัลจีเรีย
จะดูว่ามี มูลค่าสูง ต่อ ลำ ถึงลำละ 1,468 ล้านเหรียญ
แต่ใน ดีล ของ อัลจีเรีย จะรวมถึง การจัดหา Super Lynx จำนวน 6 ลำ
และ ตอร์ปิโด MU-90 กว่า 60-80 ลูก รวมถึง อาวุธนำวิถี OTOMAT MK III ด้วย
หรือ อย่าง บรูไน ที่จัดหา เรือ OPV จาก เยอรมัน...
เมื่อดูราคาถัวเฉลี่ยเรือ ต่อ ลำ แล้ว ยังมีราคา ถูกกว่า เรือชั้น ปัตตานี จากประเทศจีน...
และมีการติตตั้ง อาวุธนำวิถี เอ็กซ์โซ่เซต ด้วย...
จึง พอจะมองได้ว่า...การจัดหาเรือ คงอยู่ที่ การเจรจา และ ความต้องการที่แท้จริง และ หนักแน่น...ซึ่ง เรือจากฝั่ง ตะวันตก ก็อาจจะมีราคาที่ต่ำกว่า เรือจากฝั่ง เอเชีย ได้ เช่นกันครับ...
เพิ่มเติม ความหมายในแผ่นภาพ ครับ...
หน่วยเงินมูลค่าโครงการ เป็น ล้านเหรียญสหรัฐ ครับ...
ส่วน หน่วยถัวเฉลี่ย ต่อ ตัน เป็น เหรียญ ครับ...
ป๋า ครับ ไอ้เจ้า opv-bvt90m คือเรือ หลวงกระบี่ใช่ หรือป่าว ครับ ถ้าใช่ นี้ราคา 85 ล้านเหรียญ นี้ ตกเป็นเงินไทยก็ 85*30 ก็ประมาณ2550 ล้านบาท เลย ป๋าพอจะแจกแจงรายละเอียดได้ไหมครับ ว่า มีค่าอะไรบ้าง เช่น เป็นการประกอบในไทย แต่ทุกอย่าง เช่น เหล็กระบบอาวุธ รวมในวงเงินนี้แล้ว หรือ ว่าเป็นยังไง แบบไหน รบกวน ขอความรู้และ รายละเอียดของ ดีลนี้ด้วย ครับผม ขอบคุณครับ
ใช่ครับ...ท่าน SeriesVII
ตามงบประมาณล่าสุด รวมประมาณ 2,700 กว่าล้านบาทครับ....
ตามข้อมูลของ สำนักงานจัดหา...ถ้าผมจำไม่ผิด เป็นราคาค่าเรือ ประมาณ 1,750 ล้านบาท
ส่วนที่เหลือ น่าจะเป็น ค่าไลเซ่นส์ และ น่าจะเป็น ค่าแบบเรือ และอุปกรณ์เครื่องมือต่าง ๆ ครับ และระบบอาวุธ...(ความเห็นส่วนตัว)
ลองสังเกตุ ข้อมูลตามข้างต้นนะครับ...
แบบเรือ ที่มีการ สร้างประกอบเอง ของ ผู้ซื้อ จะมี ราคาสูงกว่า ปกติ ครับ...เช่น มาเลเซีย
ส่วนราคาของ ร.ล.กระบี่ ก็เป็นราคาตามข่าวที่ปรากฎ ครับ...แล้ว เขาจะมีตีเป็นราคา ดอลล่าร์ ณ ขณะนั้น ครับ...
ซึ่งตามงบประมาณ ก็มีการใช้ไปในวงเงินดังกล่าวครับ...ตามข้อมูลที่ผมให้ความเห็นไว้ครับ...
ถ้าตามข้อมูล และ การวิเคราะห์ ข้างต้นว่า...แบบเรือ ที่ ประเทศผู้ซื้อ เป็นผู้สร้างเอง..จะมีราคาสูงกว่า แบบเรือที่ สร้างจากประเทศผู้ออกแบบเอง...
ก็ขอให้ ตั้งข้อสังเกตุ ของเรือชั้น Nansen ครับ...ที่เป็นแบบเรือของ สเปน แต่ให้ ไลเซ่นต์ ประเทศ นอร์เวย์ เป็นผู้สร้างเอง...ซึ่ง เป็นกลุ่มประเทศยูโร...
ซึ่ง กลุ่มประเทศยูโร...เขาจะมีการคิดอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มระหว่างกัน สูง มาก...ถ้าจำไม่ผิด น่าจะประมาณ 10% หรือ มากกว่า...
แต่ถ้าเป็นการขาย นอกกลุ่ม ยูโร...จะมีการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม...ไม่มีการคิด...
ดังนั้น...ผมว่า ถ้า สเปน มีการเสนอแบบเรือ Nansen...
สเปน น่าจะกดราคา หรือ ลดระวางเรือ มาให้อยู่ใน งบประมาณ ลำละ 500 ล้านเหรียญ ได้ครับ...
เหมือนกับ ร.ล.จักรีนฤเบศร์ ครับ...ที่ สเปน ก็ลดระวางเรือ มาให้อยู่ในงบประมาณของ ทร. ได้ ครับ...
ขอแก้ไขความเห็นของ เรือ อัลจีเรีย ครับ...
อาวุธนำวิถี เป็น RBS-15 Mark III ครับ ไม่ใช่ OTOMAT ครับ...ผมจำผิด...
สเปค Meko-A200N ของ อัลจีเรีย
The contract is worth €2, 175, 520, 699 which is very high compared to SA Valor-class Meko. It underlies supply of two MEKO A200N frigates and six AgustaWestland Super Lynx helicopters, including the weapon systems which will be supplied by Saab Bofors Dynamics via Diehl BGT , namely RBS15 MkIII anti-ship missiles, Umkhonto-IR surface-to-air missiles for the Meko and Mokopa air-to-ground missiles for the helios in addition to 82 MU-90.
Both parties Algerian and German managed to sign the contract after one year long negotiation process. The contract will allow Algeria to acquire two new frigates which are equipped with helicopters. They will be received later this year.
It should be noted that the same German manufacturer has sold the same kind of frigates, with a capacity of 3500 tons to South Africa. These frigates feature exterior stealth designs and use a combination of water jet propulsion systems with conventional diesel engines.
ขอบคุณครับผม ผมก็นึกในใจตลอดว่าฝรั่งมันไม่โง่แน่ๆ เพราะงั้นเห็นหลายๆดีล ในหลายแบบหลายที่ ราคาไม่ใช่สาระด้วยซ้ำ ผมว่าบทมันจะขายให้ไทย นะ ถ้าเราสนใจคุยกับเขาจริงจัง เอาเรือเยอรมันไม่ใช่ปัญหาเลย.... ส่วนตัวไม่ชอบของจีนเลยครับไม่รู้ทำไม ทั้ง ที่ชีวิตจริง ญาติๆ ครึ่งหนึ่งก็ เป็นคนไทยเชื้อสายจีน พูดยาวเดี๋ยวจะเพลียเอา อิอิ
ปล.อีกอย่างเวลาเราพูดเรื่องซื้อของ ผมกลับมองว่า เราเอาตัวเองเป้นใหญ่แบบไม่มีเหตุผม หลายๆความคิดที่ผมอ่านมาเรื่อย ยกตัวอย่าง ที่พากันด่าไอ้กัน ว่ามันยังงั้นอย่างงี้ ทั้งที่เรา ก็ไม่ได้ จริงใจกับเขาสักเท่าไหร่ (แต่อย่างน้อย คนที่จมเรือลามอนปิเก ก็ ไอ้กันหล่ะ หว่าาาา สะใจผมเหลือเกิน)
ตัวอย่าง การวิเคราะห์แบบเรือ และ ความเป็นไปได้ ครับ...
เช่น ข่าวที่ Lockheed Martin ได้เสนอแบบเรือให้กับ ทร. สำหรับการพิจารณา...
ถ้าจะวิเคราะห์แบบเรือ...ก็ ควร น่าจะเป็นแบบเรือ MMC ขนาด 118 ม. ซึ่งมีระวางเรือที่ประมาณ 3,300 ตัน...
เมื่อคำนวณจาก งบประมาณจัดหา ลำละ 500 ล้านเหรียญ จะถัวเฉลี่ย ราคาจัดหา ได้ตันละ 151,000 เหรียญ ต่อ ตัน...
Based on the Lockheed Martin-led team’s design for the U.S. Navy’s Littoral Combat Ship, the MMSC is the next generation surface combatant for U.S. Allies. It delivers maximum firepower to meet the current and future operational requirements. At 115 meters in length and approximately 3,300-ton displacement, the ship provides simultaneous anti-air, anti-surface, anti-submarine, electronic warfare and special operations support capabilities.
บทสัมพาภษ์ ของ ผู้บริหาร Lockheed Martin สำหรับ ตลาดเรือรบต่างประเทศ
LCS To Be Marketed to Foreign Customers
By RICHARD R. BURGESS, Managing Editor
ARLINGTON, Va. – Lockheed Martin, builder of the Freedom-class Littoral Combat Ship (LCS), is generating international interest in a version of the ship the company calls the Multi-Mission Combatant (MMC).
Tom Cosgrove, Lockheed Martin’s director of business development for the MMC, told reporters Oct. 19 at the company’s offices in Arlington that the U.S. Navy LCS program “is creating positive news and positive interest from international [nations] as a result.”
“We have several countries spanning the globe,” Cosgrove said, noting that his company and the Navy have received several requests for briefs. “They see this ship as compatible for their size navies. We’re trying to answer the questions as we can.”
Cosgrove said the LCS features such as its shallow draft and high speed make it desirable for such roles as anti-piracy and maritime security.
He said the MMC would be different than the LCS in that its mission systems would be installed on the ship in a fixed arrangement, not as interchangeable mission packages.
“In response to their questions, we’re offering them complete ships,” he said. “They are interested in fixed systems.”
ขอโทษ ครับ...สัมภาษณ์ พิมพ์ผิด ครับ...
คุณJudasคิดว่า เรือLCSที่เสนอมาจะลดoptionเหลือแค่ไหนครับ แล้วถ้าทร.ต้องการที่จะเปลี่ยนเฉพาะCMSกับsensorเป็นของSAABเพื่อให้เป็นตามModelเรือนเรศวร ส่วนทีเหลือ เครื่องยนต์ sonar แล้วแต่LMเสนอมาจะเป็นไปได้มั้ยครับ
ความเป็นไปได้ ในราคา 500 ล้านเหรียญ ต่อ ลำ...สำหรับเรือ ขนาด 3,300 ตัน...ผมว่ามีความเป็นไปได้ครับ...
และในขณะเดียวกัน LM ก็อยู่ระหว่างการสร้างเรือ LCS ให้กับ สหรัฐ...ดังนั้น เรื่อง Cost ของ LM...ผมว่า แนวโน้ม จะออกมาต่ำ...เพราะ Fix Cost จะได้รับการปันส่วน กับ จำนวนเรือ ที่เพิ่มขึ้น...
ในส่วนเฉพาะ ตัวเรือ...ผมว่าคงอยู่ในงบประมาณของ LM ที่จะทำให้ได้...ส่วน ระบบ อาวุธ...ผมว่าน่าจะเหมือนตามแบบ ครับ...แต่ระบบตรวจจับเช่น เรดาห์ 3 D กับ เรดาห์ ตามแผ่นโฆษณา (น่าจะเป็น CFAR) อาจจะเป็นตัวแปร ครับ...
ผมว่า LM น่าจะเสนอ สเปค ที่สูงกว่า เรือชั้น นเรศวร ครับ...เพราะระบบอาวุธ เกือบทุกอย่าง เป็นอุตสาหกรรมของ สหรัฐ เกือบทั้งหมด ครับ...
ตามข่าวนี้ของ LM
จะตีความหมายว่า สหรัฐ ได้แก้ไขสัญญาเพิ่มเงินให้อีก 715 ล้านเหรียญ สำหรับการสร้างเรือ LCS ใหม่อีก 2 ลำ...
อาจจะมองเป็นว่า ต้นทุนเรือของ LM ของ LCS ตอนนี้อยู่ที่ 350 ล้านเหรียญต่อลำ...
ส่วนราคาต้นทุนเรือของ LCS ที่ 670 กว่าเหรียญ ตามข้างต้น อาจจะหมายถึง ราคารวมทั้งหมด รวมถึง โมดูล จำนวน 64 โมดูล ด้วย...ไม่ได้หมายถึง ตัวเรือ อย่างเดียว...
WASHINGTON, March 16, 2012 – The U.S. Navy has issued a Lockheed Martin-led industry team a $715 million contract modification to add funding for construction of two Littoral Combat Ships (LCS) – the third and fourth in a 10-ship contract awarded in December 2010.
The contract modification is for construction of Little Rock (LCS 9) and Sioux City (LCS 11). Construction on the first and second ships awarded under this contract, Milwaukee (LCS 5) and Detroit (LCS 7), is already underway. Two ships awarded under previous contracts include USS Freedom (LCS 1), currently being prepared for her next deployment, and Fort Worth (LCS 3), scheduled to be commissioned in September.
“Our shipbuilding program has benefitted greatly from our experience with USS Freedom, resulting in increased affordability and streamlined production,” said Joe North, vice president of littoral ship systems at Lockheed Martin’s Mission Systems & Sensors business. “We have listened to customer feedback from our lead ship and we continue to invest in areas that will bring additional efficiencies to the future LCS ships
Marinette Marine Corporation, a Fincantieri company, is building the ships in Marinette, Wis., with naval architect Gibbs & Cox of Arlington, Va. providing engineering support. The shipyard has made significant progress in its ongoing plan to more than double its indoor production area and add new fabrication and panel line buildings, in addition to other modification projects. The shipyard is also growing its workforce to meet increasing demands.
There are more than 700 companies in 43 states performing work on the Lockheed Martin Freedom-variant LCS program.
แต่ถ้าใช้LCS เราจะสามารถเข้าถึงSource codeของระบบได้แค่ไหนครับ เพราะอเมริกาคงไม่เปิดกว้างให้เราสามารถUpหรือLinkได้เองนะครับ
โอ๊ะ กดเร็วไป ขอต่อครับ ในความคิดผมอยากจะให้ทร.มีสิทธิเลือกระบบเองมากกว่า เพราะสามารถintegrate เข้ากับระบบของเราได้ประสิทธิภาพดีกว่าครับ
ตามแบบเรือของ Lockheed Martin ไม่ใช่ เรือ LCS แบบของ สหรัฐ ครับ...
เป็นเรือ Multi-Mission Combatant
ซึ่งน่าจะเป็น เรือฟริเกต แบบทั่วไป ล่ะครับ...
เพียงแต่ ใช้รูปแบบเรือ LCS ของ สหรัฐ มาใช้ แค่นั้น...
ซึ่ง รูปแบบเรือ LCS ของ สหรัฐ ตัวเรือ จะทำมาเพื่อ รองรับ การใช้ โมดูล ของ อาวุธต่าง ๆ ที่สามารถเปลี่ยนแปลงการใช้ระบบอาวุะ ได้...
แต่ตามแบบเรือของ LM เป็น แบบเรือ ที่ติดตั้งระบบอาวุธแบบติดตรึง เหมือน ปกติ ทั่วไปครับ...
ซึ่ง ระบบต่าง ๆ ก็อยู่ที่ ลูกค้า จะเลือกใช้ ครับ....
เรือของ Lockheed Martin น่าจะเรียกว่าเรือแบบ MMCS ครับ...คล้าย ๆ กับแบบเรือ F-125 ของ เยอรมัน ครับ...
เรือ LCS ใน คอนเซ็ป น่าจะหมายถึง...
ตัวเรือ เหมือน จะเป็นเพียง ฐาน หรือ แท่น การติดตั้งการใช้ระบบ...
ส่วน โมดูล หรือ PACKAGE จะเป็นตัวระบบสำคัญ...ของ เรือ...ที่จะนำไป ประกบ กับ ตัวเรือ หรือ Sea Frame...แล้วจะทำให้ เรือลำนั้น ๆ เป็น เรือ ต่อต้านภัยผิวน้ำ หรือ ต่อต้านเรือดำน้ำ หรือ ต่อต้านทุ่นระเบิด....ไม่จำเพาะ เจาะจง ว่า เรือลำนั้น ๆ จะเป็นเรือสำหรับทำ ภาระกิจเฉพาะ เท่านั้น...
เช่น เรือ OHP ที่ถูก อาวุธนำวิถี จากฝั่ง หรือ จากเรือเล็ก โจมตี...แม้เรือจะไม่จม...แต่เมื่อนำกลับฐาน แล้วทำการ ซ่อมทำ...แต่ไม่คุ้มค่าที่จะใช้งานต่อ...ก็จะทำให้ สหรัฐ สูญเสีย เรือลำนั้นไปเลย ทั้งลำ รวมถึง ระบบอาวุธต่าง ๆ และภาระกิจ ก็จะสูญเสียไปด้วย...
แต่เรือ LCS แม้จะประสบเจอความเสียหาย เหมือนเรือ OHP ตามตัวอย่างข้างต้น...แต่ ระบบโมดูล ของ อาวุธ จะยังอยู่...ซึ่งสามารถจะนำไปใช้งานได้ต่อไป...และความสามารถใน ภาระกิจ ยังอยู่เท่าเดิม...หรือ เสียหาย น้อยกว่า การติดตรึง ระบบอาวุธ กับ ลำเรือ...
จะว่าไปไอ้ลำกลางก็สวยดีนะขนาดใหญ่กว่าเมโก้นิดหน่อย แต่มีVLSแต่8ท่อ เราเอามาปราบเรือดำน้ำเป็นหลักมันน้อยไปนิดเพราะต้องแบ่งASROCกับESSMใช้
แต่ถ้าได้LCSลดต้นทุนด้านอาวุธและเรดาห์ผมก็เอานะ ในอนาคตเมื่อเรามีเรือดำน้ำแล้วปรับปรุงไปใช้เป็นเรือต่อต้านอากาศยานจะง่ายและเสียเงินน้อยที่สุด ได้เรือเสป็กอเมริกามาก่อนแล้วกันที่เหลือค่อยใส่เพิ่มได้
เพิ่มเติม ข้อมูล สำหรับมูลค่าการจัดหาเรือจาก ประเทศจีน ครับ...
ประเทศ ไนจีเรีย จะซื้อเรือ OPV จำนวน 2ลำ มูลค่า 155 ล้านเหรียญ จาก ประเทศจีน โดยสร้างที่ประเทศจีน จำนวน 1 ลำ...ส่วนลำที่ 2 จะสร้างในประเทศไนจีเรีย ประมาณ 70%...
คือผมสงสัยน่ะครับ ถ้าเปรียบเทียบกับมูลค่าโครงการของเรากับแอฟริกาใต้ (ถ้าเราตกลงซื้อ เรือฟริเกต meko-a200) ของแอฟริกาใต้ 1,180 ล้าน ยูเอส ได้ 4 ลำ ของเรา 1,000 ล้าน ยูเอส ก็น่าจะได้ 4 ลำ เหมือนกัน ลดสเปคลงนิดหน่อยตอนซื้อ แล้วค่อยมาเพิ่มที่หลัง ต่อในเยอรมัน 2 ลำ แล้วต่อที่บ้านเราอีก 2 ลำ ก็นับว่าคุ้มค่าเหมือนกัน และได้ประโยชน์ในการเพิ่มศักยภาพในการต่อเรือของเราเองด้วย ถ้าเป็นไปในแนวทางนี้ก็น่าจะเวิร์คนะครับ แต่คงจะยากเพราะอาจจะต้องมาขอผ่าน ครม.ใหม่
เรียนคุณ Tommy MEKO รุ่น A-200 ก็มีการปรับปรุงอยู่เหมือนกัน โดยรุ่นหลังๆมีเครื่องยนต์ water jet ด้วย และจากบทเรียนในการจัดหาเรือครั้งก่อนๆ ผมมองว่า ทร.ควรซื้อเรือโดยมียุทโธปกรณ์ต่างๆครบครันดีกว่าครับ....
ของ แอฟริกาใต้...น่าจะยังไม่รวมระบบอาวูธ ทั้งหมดครับ...ถ้าเข้าใจไม่ผิด จะมีระบบอาวุธที่เป็นของ แอฟริกาใต้ อยู่ด้วยครับ...
ซึ่งบางเว๊ป ก็บอกว่า เมื่อรวม ๆ ทั้งหมด...ต้นทุนเรือน่าจะอยู่ประมาณ 320 ล้านเหรียญต่อลำ สำหรับของ แอฟริกาใต้ ครับ...
คราวนี้ ชักจะสับสน กับ มูลค่าการจัดหาเรือ Meko-A200 ของ อัลจีเรีย น่ะครับ...ว่า เท่าไหร่ กันแน่ครับ...
Published: 15 Jul 12 14:12 CET | Print version
Updated: 15 Jul 12 14:37 CET
Online: http://www.thelocal.de/national/20120715-43765.html
German weapons manufacturers should have an easier time selling their products as the government intends to relax export regulations, Der Spiegel magazine reported on Sunday. The Economy Ministry denied the report.
German weapons manufacturers should have an easier time selling their products as the government intends to relax export regulations, Der Spiegel magazine reported on Sunday. The Economy Ministry denied the report.
Two draft papers drawn up in the Economy Ministry would affect the biggest sectors of the German arms export industry, the magazine said.
The aim would be to “purge foreign trade law” and to “lift special German rules which disadvantage German exporters in comparison to their European competitors,” the papers said.
But a spokeswoman for the ministry said the report was wrong. She said the export of weapons would not be affected by the draft amendments to the export trade rules. Current rules affecting arms would remain in place, she said.
But Der Spiegel said the drafts would mean that exports between European Union states were considered transfers rather than exports, enabling the licensing process to be simplified.
These proposals would harmonise German rules with the less restrictive EU laws, the magazine said – it would make it easier for weapons exporters to sell their products around the world via other countries.
“It used to be the case that the government always stressed that the tougher German rules would remain despite harmonisation within Europe,” said Katja Keul, a Green MP. “Obviously that no longer applies.”
Germany is already the world’s third largest arms exporter, yet just recently joined France, Britain and Sweden to call on the United Nations to draw up a new arms trade treaty with a strong human rights component.
Sunday’s Bild newspaper reported on a new contract between Algeria and Thyssen Krupp Marine Systems for two new frigates complete with helicopters in a €400 million deal which includes extensive training of Algerian soldiers by the German armed forces.
Chancellor Angela Merkel’s recent trip to Indonesia was overshadowed by reports, which the government denied, of a deal to sell up to 100 used German tanks to the country. Indonesian media were reporting on the deal with reference to their defence ministry.
The Sunday Süddeutsche Zeitung reported that Keul wrote on her website that the Dutch parliament had rejected a suggested tank deal from the Indonesian government with reference to human rights abuses there.
Keul complained that the German government made decisions on arms deals without consulting parliament – or even informing it after deals were done.
จากข่าวข้างต้น...พอสรุปคร่าว ๆ ได้ว่า...เยอรมัน ได้ผ่อนคลาย กฎเกณฑ์ ในการจ่าหน่ายอาวุธเพื่อส่งออกมากขึ้น...
และได้ยกตัวอย่าง การขายเรือ Meko-A200 พร้อมกับ เฮลิคอปเตอร์ ให้กับ อัลจีเรีย จำนวน 2 ลำ มีมูลค่าประมาณ 400 ล้านยูโร...
ซึ่ง เมื่อเทียบเป็นเงินดอลล่าร์ ก็จะอยู่ประมาณ 536 ล้านเหรียญ
Sunday’s Bild newspaper reported on a new contract between Algeria and Thyssen Krupp Marine Systems for two new frigates complete with helicopters in a €400 million deal which includes extensive training of Algerian soldiers by the German armed forces.
ถ้าดูจาก ข้อมูล นี้
The Algerian Navy is believed to have ordered six AgustaWestland Super Lynx 300 helicopters for its new Meko A200 class frigates.
In its results for the second quarter of 2012, Finmeccanica stated that, “the most important new orders of the period in the military-government line include the contract to supply six AW Super Lynx 300 helicopters to a key customer in the southern Mediterranean area…”.
The six Super Lynx will be built at AgustaWestlands Yeovil factory. They are expected to operate from the Algerian Navy’s two Meko A200 frigates, which were ordered from ThyssenKrupp Marine Systems (TKMS) on March 26 this year. TKMS will supply the two frigates and six Super Lynx helicopters under the contract, which, according to Germany’s Bild, is worth more than €400 million. However, some sources suggest the deal, which includes options on two more frigates, is worth between €2.176 and €2.5 billion.
The Super Lynx order follows on from a November 2007 deal for four Super Lynx Mk 130 and six AW101 Mk 610 Merlin helicopters. The aircraft were purchased for search and rescue – the AW101s feature 360 degree search radars and forward looking infrared/electro optical turrets under their noses.
Algerian crews were trained in Cornwall in the UK, with the first Lynx flying by February 2010 and the first Merlin commencing training flights in May. All the aircraft from this deal are believed to have been delivered and are fully operational. The fourth and final Super Lynx Mk 130 was delivered in January this year, after the first two were delivered in September 2010, followed by the third in February 2011.
Algeria has requested that its helicopter deals with AgustaWestland remain confidential and the Finmeccanica company does not comment on any Algerian acquisitions. However, it is believed that Algeria is acquiring at least 80 helicopters from AgustaWestland. These will be used by its armed forces, paramilitary forces and emergency forces and are being procured through the Algerian Ministry of Defence.
Algeria is procuring 30 AW109 Light Utility Helicopters and 42 AW101s for the paramilitary Gendarmerie Nationale, according to Arabian Aerospace. The magazine believes that 15 AW109s will be supplied to the Gendarmerie, ten to the Unite Aerienne de la Surete Nationale police service and five AW139s to the Protection Civile organisation responsible for emergencies such as fires.
A second batch of helicopters will reportedly consist of 10-15 AW101s for the Gendarmerie while a third phase will see 27-32 AW101s and 15 AW109s being assembled locally. The first two of five AW139s was delivered to the Protection Civile in February this year, according to Air Forces Monthly.
Finmeccanica’s results also made mention of a contract to supply five AW169s to a United Arab Emirates governmental customer; orders to supply two law enforcement-configured AW139 helicopters to the Japanese National Police Agency and the contract to supply one AW109 helicopter to the Chilean military police
ตามข้อมูลข้างต้น
มูลค่าเรือ จำนวน 2 ลำ กับ 6 ซุปเปอร์ลิงซ์ จะมีมูลค่าประมาณ 400 ล้านยูโร...
แต่บางข้อมูล ก็บอกว่า น่าจะม่ี ออฟชั่น ที่เพิ่มเติมของ เรือท้ง 2 ลำ นี้...ซึ่งจะทำให้มูลค่าโครงการจะอยู่ระหว่าง 2,175 ถึง 2,500 ล้านยูโร...
On March 26 2012, Algeria’s ministry of defence ordered two Meko A200 frigates from ThyssenKrupp Marine Systems (TKMS). The German shipyard will supply two Meko frigates to Algeria including six helicopters. The contract includes the construction of a dockyard in Algeria for the local assembly of two more frigates.
The six helicopters will be AgustaWestland Super Lynx for anti-submarine missions. The deal also includes training of Algerian sailors which will be provided by the German navy.
ถ้าตามข้อมูลนี้ ก็จะหมายถึง อัลจีเรีย ซื้อเรือจำนวน 2 ลำ + 6 Super Lynx ในราคา 400 ล้านยูโร...
บวกกับ ออฟชั่นพิเศษ คือ การให้ อัลจีเรีย ต่อเรือเองอีกจำนวน 2 ลำ หรือ มากกว่า...หรือเปล่า ?
ถ้า ดีล ของ อัลจีเรีย เป็น Meko 2 + 6 Super Lynx (ASW) = 400 ล้านยูโร...สว่นที่นอกเหนือจากนั้น คือ ออฟชั้่น ในการสร้างเรือเองอีก จำนวน 2 ลำ (ซึ่งมันจะหมายถึง เครื่องมือ อู่เรือ และอื่น ๆ ในการที่จะประกอบเรือขนาดฟริเกต ในแบบสมัยใหม่) จะมีมูลค่าไปถึง 2,176 - 2,500 ล้านยูโร...
ผมว่า ผมเห็น อนาคต ที่ดี ของเรือ Meko สำหรับ ทร. ไทย พอสมควร ครับ...
ขอบคุณครับ ผมนั่งภาวนาให้ค่าเงินบาทแข็ง เราจราได้ ได้ออฟชั่นเยอะๆ อ่าว ไปกระทบการส่งออกอีก อิอิอิ