ตามดีล ที่ สหรัฐ อนุมัติขาย AH-64D Block III Long Bow ให้กับ อินโดนีเซีย จำนวน 8 ลำ มูลค่าโครงการ ประมาณ 1,420,000 ล้านเหรียญ หรือประมาณ 4,250 ล้านบาท หรือ ตกลำละประมาณ 532 ล้านบาท
จะประกอบด้วย
- 8 AH-64D APACHE Block III LONGBOW Attack Helicopters
- 19 T-700-GE-701D Engines (16 installed and 3 spares)
- 9 Modernized Target Acquisition and Designation Sight/Modernized Pilot Night Vision Sensors
- 4 AN/APG-78 Fire Control Radars (FCR) with Radar Electronics Units (Longbow Component)
- 4 AN/APR-48A Radar Frequency Interferometers
- 10 AAR-57(V) 3/5 Common Missile Warning Systems (CMWS) with 5th Sensor and Improved Countermeasure Dispenser
- 10 AN/AVR-2B Laser Detecting Sets, 10 AN/APR-39A(V)4 Radar Signal Detecting Sets
- 24 Integrated Helmet and Display Sight Systems (IHDSS-21)
- 32 M299A1 HELLFIRE Missile Launchers
- 140 HELLFIRE AGM-114R3 Missiles
รวมอุปกรณ์พื้นฐาน
- Identification Friend or Foe transponders
- 30mm guns and ammunition
- communication equipment
และอื่น ๆ
- tools and test equipment
- training devices
- simulators
- generators
- transportation
- wheeled vehicles
- organizational equipment
- spare and repair parts
- support equipment
- personnel training
- training equipment
และเมื่อลองจัด เป็นแต่ละ ลำ
ตามแผ่นภาพจะเห็นว่า AH-64D Block III ของ อินโดนีเซีย...
จะเป็นแบบ Long Bow จำนวน 4 ลำ และเป็น AH-64D Block III พื้นฐาน จำนวน 4 ลำ
ซึ่งคิดว่าแบบพื้นฐาน จำนวน 4 ลำ สามารถเปลี่ยนใช้ FCR กับ RFI สลับกัน...
ขอโทษ คูณเลขผิดครับ...
ต้องเป็น โครงการมูลค่า 46,800 ล้านบาท
ถัวเฉลี่ย ลำละประมาณ 5,850 ล้านบาท
อาปาเช่ จำนวน 1 ลำ...ซื้อ ร.ล.อ่างทอง ได้ 1 ลำ เชียว...
โพสใหม่ครับ>
มูลค่าโครงการ ประมาณ 1,420,000 ล้านเหรียญ
ผิดเปล่าครับ
หรือเหรียญรูเปีย หุๆ
5 5 5 5 ใช่ครับ ตกศูนย์ ไป 3 ตัว...
1,420,000,000 เหรียญสหรัฐ
ถัวลำละประมาณ 177 ล้านเหรียญ
ราคาน้อง ๆ F-35 เชียว...
ลำละ 5850 ล้านบาท! รวมอุปกรณ์และอะไหล่สนับสนุน
แล้วราคาตัวเปล่าประมาณเท่าไหร่ครับไม่ในใจราคาในวิกิเท่าไหร่
ราคาจะขึ้นอยู่กับ การสั่งซื้อ ณ เวลานั้น ๆ ครับ...
ถ้าเราใช้ราคา FMS...สหรัฐ จะใช้ยอดการสั่งซื้อ ต่อรองราคากับ ผู้ผลิต...ซึ่งอาจจะต้องรอรวมจำนวน หลาย ๆ ประเทศ ที่แจ้งความประสงค์มา...
หรือ รวมยอดการสั่งซื้อกับ สหรัฐ ครับ...
เหมือนกับ การใช้ จุดคุ้มทุน ในการผลิต ณ เวลานั้น ๆ มาเป็นตัวใช้พิจารณายอดโครงการ แต่ละโครงการ ครับ...
ราคาจึงจะไม่มีความแน่นอน...
ซึ่งเมื่อดูจาก รายการแล้ว..มันน่าแพงที่ ตัว ฮ. ครับ...ส่วนพวก Hellfire และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ ผมว่า อินโดฯ น่าจะได้ของถูก...เพราะน่าจะได้จำนวนรวมกับการสั่งซื้อใช้งานของ สหรัฐ เพราะเป็นอุปกรณ์มาตรฐานของสหรัฐ ซึ่งน่าจะได้จำนวนในราคาที่คุ้มทุน...
จะว่าอิจฉาไหม ก็ใช่ แต่เห็นราคาเเล้วไม่ประทับใจ
เอา
หรือ
สอยโลด
แต่อย่างน้อยก็ได้ของดีไปใช้นะครับ
อุ๊บ๊ะ ! เพื่อนบ้านอาเซียนเรามีของดีใช้อีกเจ้าหนึ่งแล้ว ส่วนตัวมองว่า อินโดนีเซีย เลือกที่จะใช้ เฮลิคอปเตอร์โจมตีนั้นเพมาะสมและคล่องตัวด้วยภูมิประเทศเป็นเกาะทำให้การบินข้ามเกาะเข้าโจมตีหรือทำการสนับสนุนกองกำลังภาคพื้น อีกทั้งด้วยภูมิประเทศเป็นภูเขาและป่าทำให้ยุทธวิธีบินว่อนตัวระดับต่ำแล้วขึ้นโผล่เหลี่มเขาหรือยอดไม้เข้าโจมตีทำได้ดีกว่าประเทศแถบที่เป็นทะเลทรายด้วยเรดาร์แบบลองโบว์ งานนี้ สิงคโปร์ ก็มี อินโนเซีย ก็จะมี ทีนี้มาเลเซียที่มีพื้นที่ใกล้เคียงสองประเทศนี้จะมีข่าวต่อไปอย่างไรนะนี่
ดูรายการของที่ได้แล้วเกือบอิจฉา พอเห็นราคาก็ไม่อิจฉาแล้วครับ......ราคาฮ.1ลำ เราต่อOPVใช้เองได้2ลำ , ซื้อOPLOT Mได้ราว40คัน
อาจจำเป็นสำหรับภูมิประเทศที่เป็นเกาะภูเขาไฟของเขา แต่เกินจำเป็นสำหรับเรา
ส่วนตัว มองว่าไม่เหมาะกับภูมิประเทศที่เป็นป่าเขา รกทึบ แถบบ้านเราหรือของอินโดฯ มองในมุมกลับกัน หากเราเป็นผู้ก่อการร้าย อาศัยหลบตามภูมิประเทศที่เป็นป่ารกทึบ แล้วค่อยสอยด้วยอาวุธประเภท SAM น่าจะไม่ยากนัก มันเหมาะกับพื้นที่โล่งแบบทะเลทรายมากกว่านะผมว่า (ยังไม่มียุทธวิธีการรบของ Apache ที่เป็นป่าเขาให้ดูเป็นตัวอย่าง ก็เลยยังไม่มีข้อเปรียบเทียบมากนัก)
เข้ามาดีใจกับอินโดด้วยอีกครั้ง
แต่ไม่ใช่ อีก 1 เดือนผ่านไป ได้ยินข่าว Long Bow ไฟไหม้นะครับ อิอิ ล้อเล่นครับบ ><
ดีใจกับอินโดด้วยครับ แต่ราคาแรงไม่ใช่เล่นๆ คนที่เป็นนักบินคงต้องคัดโคตรหัวกะทิมาบินหละเพราะเครื่องมันแพง
คิดเหมือนท่านเด็กทะเลครับ ม้าอากาศที่มีอำนาจการยิงสูงเหมาะกับพื้นที่ป่าเขาครับ ไม่เหมาะกับรถถัง แล้วก็ฮ.ลำเลียงด้วยที่เหมาะกับการเคลื่อนย้ายกำลังในเขตป่าเขา เหมาะมากกว่าการใช้ยานเกราะเป็นอย่างยิ่ง
แต่ราคานี่ผมเห็นแล้วอิจฉาไม่ลงด้วยอีกคนครับ แพงกว่าดีลที่สิงคโปร์ซื้อซะอีก เป็นผมคงเลือกแมงกุสต้า หรือ ลูอีว็อค หรือmi35 ดีกว่า โดยเฉพาะ mi35 หนาถึกทุยทน อำนาจการยิงเพียบ แต่เปลืองน้ำมันและค่าซ่อมบำรุงโคตรๆ
ถ้าจำไม่ผิดนะครับ...
จะเป็นในส่วนของ ทอ.อินโดฯ จะเน้นภาระกิจ ต่อต้านผู้ก่อการร้าย และ โจรสลัด...รวมถึง จะใช้สำหรับ เรือ LPD ด้วยครับ...
และถ้าดูส่วนประกอบอื่น ๆ แล้ว...ฮ.อาปาเช่ อินโดฯ นี้ น่าจะสามารรถรบร่วมกับ สหรัฐ และกลุ่มประเทศนาโต้ได้ครับ...เพราะมี IFF มาให้ด้วย...
คงน่าจะแสดงให้เห็นถึง อนาคตของ กองทัพอินโดฯ กับ บทบาท รักษาสันติภาพ...
ตามที่ผมเคยให้ความเห็นไว้ในเรื่อง ความขัดแย้งของกลุ่มประเทศอาเซียน กับ จีน...ว่า...กรณี ถ้าเกิดความขัดแย้งขึ้น...ประเทศ อินโดฯ น่าจะเป็นประเทศ ที่จะมี บทบาท นำ ในการรักษาความปลอดภัยให้กับ กองเรือพาณิชย์ ที่ผ่านน่านน้ำในบริเวณความขัดแย้ง...อาจจะมากกว่า ออสเตรเลีย...เพราะ อินโดฯ จะเป็นประเทศ ที่ดูเป็นกลาง มากที่สุด...
อินโดซื้ออาวุธได้ถูกต้องแล้วครับ โดยเฉพาะการนำไปใช้กับเรือ LPD สามารถนำไปโจมตีเรือได้ด้วย โดยการหลบตามหมู่เกาะ อังกฤษก็ใช้แนวคิดเหมือกันอาจดัดแปลงเข้ากับตัวเอง
ขออนุญาติเอากระทู้นี้ไปคุยเล่นในเวบอวป.ได้ไหมครับ?
อยากถามทุกท่านครับ การที่สหรัฐ จะขาย ฮ.อาปาเช่ ให้แต่ละประเทศนิ ต้องพิจารณาหลายอย่างบ้างเปล่าครับ หรือ แค่เงินมา-ของไป
สมมติว่า กองทัพเรา มีงบที่จะซื้อ ฮ.อาปาเช่ ซัก 100 ลำ เมกาจะขายให้ไหมครับ แบบว่า งบถึงไม่อันอะครับ
ตอนนี้ ชาติในเอเชีย เป็นชาติที่แข็งขันกันสะสมอาวุธและการสั่งซื้ออาวุธ มากที่สุดในโลกด้วยซ้ำมั้งนิ
อินเดีย ก็ใช่ย่อย มาฝั่งเอเชียใต้บ้านเรา ก็ใช่ย่อยเหมือนกัน
ตามสบายครับ ท่าน E_mail
การจัดหาอาวุธเกือบจะทุกประเทศ ก็ต้องผ่านการอนุมัติจาก Congress อยู่ครับ...
ในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยังมีความไม่แน่นอนในด้านการเมือง คือ มีการรัฐประหารรัฐบาล ตนเอง อยู่ครับ...(การ ล้มล้าง ยกเลิก กฎหมายสูงุสุด คือ รัฐธรรมนูญ ซึ่งแสดงถึงความเป็น อธิปไตยของประเทศ โดยคณะบุคคลใด บุคคลหนึ่ง เท่านั้น...การไม่เคารพ รัฐธรรมนูญแสดงความเป็นอธิปไตย ของตัวเอง...แล้วจะไป ยอมรับ สิทธิในอาณาเขตประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างไร...)
ในความเห็นผม ยังอยู่ในความควบคุม การสะสมอาวุธในภูมิภาค อยู่ครับ คำถามคือ จะซื้อไปทำไม ตั้ง 100 ลำ...ปริมาณ ก็ แสดงถึง ความคุกคาม ต่อ ประเทศเพื่อนบ้าน เหมือนกันครับ...สหรัฐ ไม่ขายให้ เหมือนกัน...เห็นได้จาก ไตหวัน...แม้จะมี เงิน...สหรัฐ ก็ยังจำกัดในระดับที่ ไม่แสดงความคุกคาม ต่อ จีน...
แม้แต่ สิงคโปร์ ในความเห็นผม ก็ยังไม่อิสระ 100% และค่อนข้างเชื่อว่า อาวุธที่จัดหา ส่วนใหญ่ ก็คงเก็บอยู่ในคลังสหรัฐ เช่นกัน...คือ มี ปืน อยู่หลายกระบอก แต่มีกระสุนติดตัว กระบอกละ 1 แมกกาซีน...ส่วนกระสุนที่เหลือ ให้ฝากไว้ที่ สถานีตำรวจ...
ดูแล้ว การจัดหาของ กาตาร์ จะเน้นการ AH สนับสนุนการลำเลียง และการป้องกันฐาน ดูแล้วโดยส่วนใหญ่ เป็น AH-64D ระบบมาตรฐาน แต่เป็นรุ่น Block III ที่อาจจะมีการเพิ่มเติม ในภายหลัง...
และถ้าดูจาก หมวก IHADSS-21 ที่จัดหามาถึง 160 ใบ...ฮ. จำนวน 1 ลำ น่าจะต้องมีการใช้งานโดยกำลังพล หมุนเวียน สับเปลี่ยน จำนวนมากที่เดียว หรืออาจจะพร้อมรบอยู่ตลอดเวลา....อายุใช้งาน AH-64D ของ กาตาร์ น่าจะหมดอายุประจำการเร็วที่เดียว...
กาตาร์ มีการจัดหา สติงเจอร์ เป็น มิสซายด์ อากาศ สู่ อากาศ...
อินโดนีเซีย ไม่ได้มีการจัดหาใช้งาน...
สิงค์โปร์ ไม่ได้มีการจัดหาใช้งาน...
เลยไม่รู้ว่า สติงเจอร์...กับ ภูมิภาค นี้ มีอาถรรพ์ อะไรกันหรือเปล่า ?
หรือ ก็เป็นเรื่องธรรมดา ที่มองดูว่า ไม่มีความจำเป็น...
หรือ อาจจะพัฒนา การใช้งานด้วย ไซด์ไวน์เดอร์ ในอนาคต ถ้า AH-64D ของ อินโดนีเซีย และ สิงคโปร์ มีความต้องการ ติดตั้ง Air To Air Missile...
เห็นราคาแล้วปวดตับครับ
อาปาเช่ 1 ลำ ถ้าเทียบกับ รถถัง โอทอป M 40 คัน ความคุ้มค่ามันผิดกันอ่ะ เพราะมันล่ารถถังได้เป็นร้อยๆคันแน่ แถมเอาไปซุ่มโป่งโจรใต้ตอนกลางคืนได้ด้วย อี คอปบร้า ของเรามันไม่มีเฮลไฟร์ มีแต่โทว์มัวแต่ลากลวดอยู่นิ่งๆโอกาสถูกสอยมีสูงมาก สมมุติว่าถ้าัพเกรดให้ เจ้าคอปบร้าให้ใช้ เฮลไฟร์ได้ นี่ก็อิกเรื่องนึง แต่มันก็เป้นไปไม่ได้อยู่ดีอะ ส่วนตัวอยากได้เจ้า อาปาเช่นี่มากเรยอ่ะ
ขอนอกเรื่องนิดหนึ่งนะครับ ถ้าเรามีเงินซื้อได้จริงๆอยากให้ซื้อAH-1Zมาประจำบน911และมาเสริมAH-1Fดีกว่า แต่ไม่รู้ราคาจะแพงเท่า AH-64D Block III ของ อินโดนีเซีย
ข่าวจาก defense-studies.blogspot
ดูถ้า APACHE ของ อินโดนีเซีย อาจจะแท้งได้...ด้วยในเรื่องราคาตามข้างต้นครับ...
โดย อินโดนีเซีย จะทบทวนแบบ ฮ.ใหม่ เปรียบเทียบกัน จำนวน 3 แบบ คือ
APACHE
SUPER COBRA
และ Black Hawk
โดยคาดว่า ประเด็นสำคัญที่สุด คือ...ราคา...
ซึ่ง Black Hawk รุ่นโจมตี จะเป็นทางเลือกสุดท้าย ในการตัดสินใจ
JAKARTA, KOMPAS.com — Pemerintah Indonesia tengah mempertimbangkan membeli salah satu dari tiga jenis helikopter serang untuk memperkuat Tentara Nasional Indonesia Angkatan Darat. Ketiga jenis helikopter itu yakni Apache, Super Cobra, atau Black Hawk.
Faktor yang menjadi pertimbangan utama untuk memilih yakni harga. Hal itu terungkap dalam rapat antara pemerintah dan Komisi I DPR saat membahas anggaran 2013 di Gedung Kompleks Parlemen Senayan, Jakarta, Senin (1/10/2012) malam.
Hadir dalam rapat itu Menteri Pertahanan Purnomo Yusgiantoro, Panglima TNI Laksamana Agus Suhartono, Kepala Staf TNI Angkatan Darat Pramono Edhie Wibowo, Kepala Staf TNI Angkatan Laut Laksamana Soeparmo, Kepala Staf TNI Angkatan Udara Marsekal Imam Sufaat, dan para petinggi TNI lainnya.
Awalnya, Ketua Komisi I Mahfudz Siddiq meminta pemerintah menjelaskan pernyataan Menteri Luar Negeri Amerika Serikat Hillary Clinton bahwa Indonesia akan membeli delapan helikopter Apache dari AS. Hal itu diungkap Hillary setelah melakukan pertemuan dengan Menteri Luar Negeri Marty Natalegawa di Washington.
Masalahnya, Komisi I DPR tak tahu soal rencana pembelian Apache lantaran tidak pernah ada penyampaian dari pemerintah, baik dalam pertemuan formal maupun informal. Komisi I baru tahu setelah muncul dalam pemberitaan.
Purnomo mengatakan, pihaknya memang ingin membeli helikopter serang. Alasannya, negara-negara tetangga sudah memperkuat alutsista dengan membeli helikopter Apache. Hanya saja, menurut dia, rencana itu masih terlalu dini untuk disampaikan kepada DPR lantaran masih mempertimbangkan banyak hal, khususnya harga.
"Kami ingin bandingkan dengan beberapa jenis helikopter lain yang mungkin walaupun kemampuan dan kualitasnya lebih rendah dari Apache, tapi kita bisa dapatkan lebih (banyak)," kata Purnomo.
Edhie menambahkan, Apache menjadi prioritas pertama pihaknya. Menurut dia, sudah ada pembicaraan dengan pihak AS mengenai harga. Namun, harga yang ditawarkan berubah-ubah dari sebesar Rp 25 juta dollar AS per unit, lalu Rp 30 juta dollar AS per unit.
Belakangan, tambah Edhie, harga Apache kembali naik. Dia tak menyebut berapa harga terakhir. Akhirnya, pihaknya mencari helikoper pembanding, yakni Super Kobra. Informasi yang diterima, kata dia, harga yang ditawarkan yakni 15 juta dollar AS per unit.
Edhie mengatakan, helikopter Black Hawk menjadi pilihan terakhir. Dia tak menyebut berapa harga per unit helikopter yang dipakai dalam film Black Hawk Down itu. "Black Hawk ini dulu helikopter serbu atau angkut pasukan. Dikembangkan menjadi helikopter serang," kata dia.
Mengapa tiga helikopter itu menjadi pilihan? Menurut Edhie, pihaknya memilih memesan dari negara lain lantaran perusahaan lokal tak lagi memproduksi helikopter serang. "Kita harus beli helikopter serang untuk perlindungan serangan darat. Andai kita melakukan gerakan pertempuran di darat, helikopter ini yang melindungi tank-tank dan pasukan kita di darat," kata Edhie.
ตอนนี้ ตัวเลือกของ อินโดนีเซีย คงจะพอ เดา ออกมาได้ 3 แบบ คือ
1. AH-64D Block III แบบ Down Grade ลงมา
2. AH-1Z รุ่น ส่งออก
3. AH-1W มือสอง จากนาวิกโยธินสหรัฐ (ถ้ามีเหลือจากการ อัพเกรดเป็นรุ่น Z)
4. AH-60 หรือ S-70i Battelhawk ซึ่งเป็นตัวเลือกสุดท้าย
ตัวเลือก
AH-64D Block III ตัวเก็งอันดับ 1 ที่จะพ่ายแพ้ให้กับ ราคา
AH-1Z รุ่น ส่งออก ตัวเก็งอันดับ 2.1
AH-1W มือสอง ตัวเก็งอันดับ 2.2
AH-60 หรือ S-70i Battelhawk ตัวเก็งอันดับ 3 ที่โอกาส ชนะ สูงมากในขณะนี้