หน้าแรก    ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบคำถาม    เข้าสู่ระบบ      


เรือฟริเกตเอนกประสงค์ชั้น FREMM

โดยคุณ : kingkong_army เมื่อวันที่ : 01/07/2012 02:33:38

         เรือฟริเกตเอนกประสงค์ชั้น FREMM อีกทางเลือกหนึ่งสำหรับ

โครงการจัดหาเรือฟริเกตสมรรถนะสูงของกองทัพเรือไทย

 


FREMM Class from DCNS




ความคิดเห็นที่ 1


                     ปัจจุบันมีความต้องการจากกองทัพเรือฝรั่งเศส 11 ลำ อิตาลี 10 ลำ โมร็อคโค 1 ลำ และ กรีซ 6 ลำ (คาดว่าต้องลดความต้องการลงจากภาวะขาดดุลงบประมาณ) ซึ่งอาจเป็นอีกทางเลือกของกองทัพเรือในการจัดหาเรือฟริเกตสมรรถนะสูงได้

ภาพเรือตามโครงการของกรีซ


โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 26/06/2012 00:15:30


ความคิดเห็นที่ 2


คุณสมบัติของเรือ

FREMM multipurpose frigate

Subclasses: anti-submarine version & anti-air version (France)

                     general-purpose version (Italy)

General characteristics

Type:

Frigate

Displacement:

5,800 tonnes (FR) - 6,000 tonnes (IT)

Length:

142 m (466 ft)

Beam:

20 m (66 ft)

Draught:

5 m (16 ft)

Propulsion:

GE/Avio LM 2500 G4 gas turbine 32 MW + 2 EPM Jeumont (4 D/Gen 2.1 MW)

Speed:

Over 27 knots (50 km/h (31 mph)) (About 30 knots for italian versions: CODLAG)

Range:

6,000 nautical miles (11,000 km (6,800 mi))

Complement:

108 (Fr) or 145 (It)

Sensors and
processing systems:

Herakles (Fr) or Empar (MFRA) (It) radar

Armament:

MU 90 torpedoes
MM-40 Exocet block 3 (France version), Teseo\Otomat Mk-2/A (Italian version)
MBDA Aster SAAM
Otobreda 76 mm SR gun (2 Strales x Italian version)
1x Otobreda 127mm (Vulcano x Italian GP version)

Further armament depending on variant

Aircraft carried:

Up to two NH90

โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 26/06/2012 00:22:59


ความคิดเห็นที่ 3


FREMM Picture

2


3


4


โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 26/06/2012 00:29:37


ความคิดเห็นที่ 4


ข้อมูลจาก วิกิ มีทีน่าสนใจตรง French-specific equipement ตรงนี่เอง Two additional Sylver A70 for 16 SCALP Naval cruise missile with a range up to 1000 km

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

The FREMM multipurpose frigate (French Frégate multi-mission or Italian Fregata multi-missione) is a ship designed by DCNS/Armaris and Fincantieri to operate in anti-air, anti-submarine and anti-ship warfare, and be capable of carrying out deep strikes against land targets.

The French Navy plans to operate eleven FREMM frigates, and the Marina Militare ten. The first commissionings are expected in 2012. The ships will be built in France by Armaris (owned by DCNS), and in Italy by Orizzonte Sistemi Navali (a joint venture between shipbuilder Fincantieri and aerospace firm Finmeccanica). This arrangement extends the partnerships forged for development of the Horizon CNGFs (Common New Generation Frigates).

Morocco has bought one anti-submarine version frigate.

Three versions of the frigates are planned: one anti-submarine version, one anti-aircraft version (FR) FREDA and a general-purpose (IT) version (all with Aster 15, Aster 30 missiles & SAAM-ESD CMS). French and Italians will use these with some equipment which will differ between the two countries. The French are considering an anti-aircraft version called FREDA, which will replace the two units of the Cassard class.

In spite of the existence of three different versions of the FREMM, their design as well as most of their armament will be similar.

Common equipment

French-specific equipement

  • IRST Thales Artemis
  • Terma Scanter 2001 radar [3]
  • Sagem Najir fire control system for the 76mm canon
  • Héraklès radar
  • SETIS combat system
  • NGDS decoy launcher
  • Two Nexter 20mm
  • MM-40 Exocet block 3, for naval and land attack
  • Two additional Sylver A70 for 16 SCALP Naval cruise missile with a range up to 1000 km
  • Samahé helicopter handling system

Italian-specific equipment

  • IRST Galileo Avionica SASS
  • Two NA-25 DARDO-F fire control system for the 76mm cannon
  • EMPAR active radar (MFRA): with 4 fixed array, since 5th FREMM
  • RASS (RAN-30X-I) surface radar (OTH)
  • Two LPI navigation radar SPN-730
  • SAAM-ESD extended area AAW combat system
  • Two SCLAR-H DLS Multipurpose Rocket Launcher
  • Two Sylver A50 systems (for 16 Aster 15 and Aster 30 missiles)
  • Two Oto Melara/Oerlikon 25/80 mm
  • 4/8 Teseo\Otomat Mk-2/A block 4, for naval and land attack
  • A second Otobreda 76 mm Super Rapid gun on the hangar (both with Strales guided-ammunitions)
  • TC-ASIST helicopter handling system
  • Mine Avoidance Sonar WASS SNA-2000-I
  • Multi-beam echo sounder L-3 ELAC Nautik SeaBeam 3050
  • Fitted For But Not With 2 VLS Sylver A70, for 16 cruise missile

Anti-submarine version

  • Towed sonar : Captas UMS 4249
  • MILAS ASW missile (Italian only)

Italian land attack version

The Land attack version is dubbed GP ("General Purpose")

  • Otobreda 127/64 LW with Vulcano guided ammunition with a range up to 120 km

French anti-air version

The anti-air version is dubbed FREDA ("Frégates de défense aériennes", "Air defence frigate"). Following the cancellation of the third and fourth Horizon class frigates, the French Navy has started studies for an anti-air version of the FREMM, called FREDA.
The FREDA could carry up to 32 Aster 30 & Aster 15 and a more powerful version of the Herakles radar. They would also have the standard armament of one 76 mm gun, two 20 mm guns and 8 Exocet missiles and torpedoes. This version also offert improvement of the SETIS combat system for the air defense role.

โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 26/06/2012 00:35:56


ความคิดเห็นที่ 5


FREMM - continue

2


3


4


5


6


7


8


9


10


โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 26/06/2012 00:39:28


ความคิดเห็นที่ 6


FREMM --

1


2


4


5


6


7


8


9


โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 26/06/2012 00:44:31


ความคิดเห็นที่ 7


ผมในฐานะพลเรือน .. ผมภูมิใจในทัพเรือ ในเรื่องที่สามารถต่อเรือได้เอง  ผมไม่ต้องการให้ทัพเรือซื้อครับ ในอนาคต อยากให้ทัพเรือ

ต่อเรือรุ่นใหม่ๆออกมาเองเรื่อยๆ .. ทุกครั้ง ที่ผมได้เห็นรูปเรือ ต. รุ่นต่างๆ ทั้งที่อยู่ในอู่ หรือ ที่ปล่อยออกทะเลไปแล้ว ผมรู้สึกปลื้มปิติ

กับกองทัพเรือจนน้ำตาใหล  ..

ถ้าเป็นไปได้  เรื่องเรือดำน้ำ .. ถ้าทางทัพเรือสามารถหาบริษัทต่างชาติ ชาติใหนก็ได้ มารับงานต่อเรือดำน้ำ แล้วให้มาต่อในบ้านเราซักลำ

โดยที่ให้นายทหาร หรือ วิศวกรคนไทย มีส่วนร่วมในการต่อเรือดำน้ำด้วย ถึงจะออกมาดีหรือไม่ดียังไง ผมคงจะภูมิใจเป็นที่สุด

โดยคุณ soda77 เมื่อวันที่ 26/06/2012 05:55:45


ความคิดเห็นที่ 8


สนับสนุนให้ต่อเองครับ แม้จะซื้อมาก็ใช่ว่าจะได้รุ่นออฟชั่นเต็ม หรื่อเต็มที่คงจะเป็นมือสอง เพราะงบของกองทัพเรือไม่ได้อู้ฟู่ทำให้ได้ของไม่เต็มโครงการ

โดยคุณ nathekop เมื่อวันที่ 26/06/2012 08:00:55


ความคิดเห็นที่ 9


ตอนนี้ สถานการณ์ยุโรป กำลังแย่

เป็นไปได้หรือไม่ ที่จะได้เห็นเทคโนโลยีใหม่ๆ ในราคาที่ ถูกลงหรือ พอจะเอื้อมถึงได้บ้าง

เรือพรีเกตุสมรถนะสูงจากยุโรป เป็นตัวเลือกที่น่าสนใจ หากสามารถจัดแพคเกจ แบบ รล.กระบี่ ที่ซื้อแบบ นำมาต่อเองในบ้านเรา

อันเป็นการต่อยอดองค์ความรู้ในการต่อเรือรบชั้นสูงเองได้ด้วย

ทีนี้ ปล.แนบท้าย ได้ยินว่า ได้สิทธิในการต่อในระยะเวลา 10 ปี

ผมเข้าใจถูกต้องหรือไม่ ว่า สามารถ ต่อเรือชุดนี้เพื่อการค้าได้ด้วย หากมีลูกค้า(ในภูมิภาค AEC) สนใจ ??

แต่อู่บ้านเรา กระบวนการต่อ กว่าจะต่อเสร็จ 10 ปี คงได้เต็มที่ คงสัก 2 ลำกระมังครับ ???
ต่อเฉพาะ รล.กระบี่ ลำเดียว ก็ จะ 4 ปีเข้าไปแระ  ??? 

โดยคุณ sentinal71 เมื่อวันที่ 26/06/2012 09:22:40


ความคิดเห็นที่ 10


เรือชั้น FREMM ดูแล้วของดีแน่นอนครับ แต่ขนาดใหญ่กว่าเรือที่เรามีอยู่มาก  ราคาก็คงแพงมาก  ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติการก็สูงกว่ามากๆ  จึงอาจจะไม่ตรงกับความต้องการของ ทร ครับ แต่ผมเห็นด้วยที่จะใช้วิธีใช้บริษัทร่วมทุนแล้วนำมาต่อในประเทศไทย ขนาดเอาไม่เกิน 4000 ตัน  ในใจผมอย่างร่วมทุนกับสิงคโปร์ เรือชั้นอะไรจำไม่ได้ครับ แต่แบบเป็นของฝรั่งเศส  อย่างนี้ ทร เราพอจะมีกำลังซื้อได้   ส่วนเรือดำน้ำก็ร่วมทุนกับสวีเดนไปเลยแล้วต่อในสวีเดน 1 นำชิ้นส่วนประกอบในไทยสัก 3 ลำ ระยะเวลา 10 ปี อย่างนี้น่าจะพอใช้ได้ ครับ

โดยคุณ rayong เมื่อวันที่ 26/06/2012 10:46:39


ความคิดเห็นที่ 11


 FREMM คงราคาแพงระยับอ่ะครับ  ขนาด La Fayette Class หรือ Formidable Class ของ สิงคโปร์ ที่มีระวางขับน้ำ 3,000-3,500 ตัน ราคายังแพงเลยครับ 

 

   ต้องรอดูรุ่นใหม่ ที่ DCNs จะเข็นออกมาแทน La Fayette Class  ก็คือ FM400 Class Frigate  แต่มันก็มีระวางขับน้ำ  4,000 ตัน ราคาน่าจะแพงกว่าเจ้า La Fayette กับ Formidable อยู่

 

    FM400 Class Frigate รูปร่างภายนอก ก็เหมือน FREMM ย่อส่วน ให้เล็กลง มีระวางขับน้ำ 4000 ตันครับ

 

   ปล. เรือ FREMM Frigate เวอร์ชั่น ฝรั่งเศส ติด เรดาร์ Herakles radar เช่นเดียวกันกับ  Formidable Class ของ สิงคโปร์ ครับ 

  ผมว่า ทร.ไทย นี่ เรือฟริเกตสมรรถนะสูง เล็กพริกขี้หนู ระวางขับน้ำ ไม่เกิน 3,000 ตัน ก็พอแล้วมั๊งครับ ไม่ต้องถึงกับ FREMM หรอก 

โดยคุณ TOP SECRET เมื่อวันที่ 26/06/2012 11:49:02


ความคิดเห็นที่ 12


  จากในรูปด้านบน เวอร์ชั่น อิตาลี่ เรดาร์ จะเป็น โดมใหญ่ๆ เหมือนเรือชั้น Horizon Class Frigate กับ TYPE 45 Destroyer  เพราะใช้ เรดาร์ แบบเดียวกัน

 

   ส่วนเวอร์ชั่น ฝรั่งเศส  จะเป็นเรดาร์ ปิระมิด 3 ตัวเล็กๆ   สงสัยฝรั่งเศส  แต่ก็ไม่ใช่ว่าจะใช้ในการป้องกันภัยทางอากาศไม่ได้เลย  เรดาร์ Herakles สามารถจับเป้าหมายในอากาศได้ไกล 250 กิโลเมตร  แต่ไม่รู้ว่า เป้าหมายที่มี RCS ต่ำๆ จะจับได้ไกลเท่าไหร่

   เรือ FREMM ของ ฝรั่งเศส ชุดแรกๆ  ส่วนมาก จะเน้นภาระกิจ ASM (Anti-Submarine)   เลยไม่เน้นเรื่องป้องกันภัยทางอากาศเท่าไหร่ แต่ก็พอป้องกันได้   เพราะ  Formidable Class ของ สิงคโปร์  ที่ใช้ Herakles Radar ก็สามารถ ยิง ASTER-30 ที่มีพิสัยไกลถึง 120 กิโลเมตรได้

 

   ส่วน FREMM รุ่นป้องกันภัยทางอากาศ ของ ฝรั่งเศส จริงๆจะใช้ชื่อว่า  FREDA  จะเข้าประจำการหลังปี 2020 ครับ   รอเรือป้องกันภัยทางอากาศรุ่นเก่าอีก 2 ลำ ปลดประจำการก่อน คือ Cassard Class Frigate 

 

    ของฝรั่งเศส มันก็ดู อเนกประสงค์ ตรงที่ ปราบเรือดำน้ำ กับ โจมตีทางบกครับ คือ จะสามรถใช้ Cruise Missile โจมตีเป้าหมายบนบกได้แบบ อเมริกา และ อังกฤษ ที่มี Tomahawk   แต่ ฝรั่งเศส ชาตินิยม พัฒนาเอง  ก็เอา Scalp/Storm Shadow  ที่พัฒนาไว้ให้ยิงจากเครื่องบินรบ  มาพัฒนาเป็น Scalp Naval  ไว้ยิงจากเรือ และมีพิสัยไกลถึง 1,000 กิโลเมตร 

 

     เวอร์ชั่น อิตาลี ดูจะครบเครื่องกว่า  เรื่องการป้องกันภัยทางอากาศ เรดาร์ นี่ จับได้ไกลถึง 600 กิโลเมตรในอากาศ จนถึง อวกาศเลย ( เรดาร์ชุดนี้  พัฒนามาจาก Thales Netherland  แล้ว เอาไปติดกับ Horizon Class และ Type-45 Destroyer )   มันมีดีไม่น้อยไปกว่าระบบ AEGIS  เลยน่ะ   แต่จุดอ่อน ของ เวอร์ชั่น อิตาลี ก็คือการโจมตีทางบก ที่ ไม่ได้ติด Scalp Naval นี่แหล่ะครับ

 

   ของ อิตาลี การโจมตีทางบกเขาก็มีน่ะ จะใช้กระสุนปืนใหญ่ นำวิถี พิสัยยิงไกลสุด 120 กิโลเมตร  แต่มันก็ต้องขยับเข้าไปใกล้ประเทศคู่กรณีหน่อยเท่านั้นเอง   อาจจะไม่ปลอดภัยนัก ถ้าคู๋กรณี เขามีจรวดต่อต้านเรือผิวน้ำ ที่ยิงไกลกว่า 180 กิโลเมตร 

โดยคุณ TOP SECRET เมื่อวันที่ 26/06/2012 12:10:33


ความคิดเห็นที่ 13


สนับสนุนครับ ในภาคตัวเรือครับ ส่วนในภาคระบบ system ต่างๆ เราก็จ้างเขามาทำ เเละต้องถ่ายทอดเทคนิคต่างๆให้เรา ถึงจะช้าซักหน่อยก็ไม่เป็นอะไรครับ ผมว่าในอนาคตไม่ไกลเกิ่นฝันครับ กองทัพเราต้องพึ่งพาตัวเองได้เเน่...เอาใจช่วยครับ

 

 

โดยคุณ May เมื่อวันที่ 26/06/2012 17:57:03


ความคิดเห็นที่ 14


คงไม่มีหวังหรอกครับ สำหรับเรือฟีเกตขนาด 6000 ตัน

โดยคุณ fulcrum37 เมื่อวันที่ 26/06/2012 20:43:14


ความคิดเห็นที่ 15


ถ้าจะซื้อระวางขับ 6000 ตัน

เป็นผมเอา Absalon class ดีกว่า เอนกประสงค์กว่า


โดยคุณ evill เมื่อวันที่ 26/06/2012 23:24:27


ความคิดเห็นที่ 16


แนวคิดของผม เอาแบบเถื่อนๆ ....

ถ้าเราขยายสเกล ของแบบเรือหลวงกระบี่  เพิ่มขึ้นอีก 1 เท่าตัว แล้วต่อเรือตามแบบที่ขยายสเกลขึ้นมา

ผมคิดว่า น่าจะเป็นวิธีที่ง่ายที่สุดแล้ว แบบเรือก็ไม่ต้องซื้อใหม่ เพิ่มเครื่องยนต์ให้ระวางขับได้ 6000 ตัน

พอต่อเสร็จ ผมว่า มันจะกลายเป็นเรือชั้น ได้เลยนะนั่น  แถม จอด ฮ. ได้ ถึงสองลำ อาวุธต่างๆก็ยัดเพิ่มเข้าไปได้อีกเท่าตัว

.. หรือว่า มันจะผิดสัญญา กับแบบเก่าอะไรหรือเปล่า ..

ว่าแต่ .. ทร. มีองค์ความรู้ต่อเรือมาหลายลำแล้ว ถ้าจะออกแบบเรือเอง สามารถทำได้แล้วหรือยัง

 

โดยคุณ soda77 เมื่อวันที่ 27/06/2012 09:39:05


ความคิดเห็นที่ 17


กระบี่ ใช้เเนวความรู้การต่อเรือพาณิชย์ครับ

ฟรีเกตเป็นเรือรบ คงต้องการองค์ความรู้เพิ่มอีก 

โดยคุณ parachutes เมื่อวันที่ 27/06/2012 21:12:28


ความคิดเห็นที่ 18


หรือ หากงบประมาณน้อย ก็ต้องลองมามองฝั่งจีนบ้าง

Type 054A

Type 054A pic 1


Type 054A pic 2


Type 054A pic 3


โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 28/06/2012 01:53:50


ความคิดเห็นที่ 19


แต่หากมองมาทางเพื่อนเก่า สเปน (Brazan) ก็มีทางเลือกที่น่าสนไม่น้อย

Álvaro de Bazán class frigate

Álvaro de Bazán class frigate -1


Álvaro de Bazán class frigate - 2


Álvaro de Bazán class frigate - 3


โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 28/06/2012 02:05:56


ความคิดเห็นที่ 20


หรือ จะเป็นแฝดน้องที่ Brazan พัฒนาให้ ทร. นอร์เวย์ Fridtjof Nansen class frigate

      

            ซึ่งที่ทั้งหมดที่ยกมาเป็นเพียงอีกทางเลือก หากมีงบประมาณสนับสนุนได้ตามฝันของ ทัพเรือ เพื่อก้าวไปสู่ยุดของเรือฟริเกตสมรรถนะสูง (ซึ่งที่ยกมาเลือกล้วนเป็น Guide Missile Frigate) หลังจากเคยได้พยายามจัดหาในชุด รล. นเรศวร มาแล้ว แต่ไปได้แค่ครึ่งทาง

Fridtjof Nansen class frigate - 1


Fridtjof Nansen class frigate - 2


Fridtjof Nansen class frigate - 3


Fridtjof Nansen class frigate - 4


Fridtjof Nansen class frigate - 5


Fridtjof Nansen class frigate - 6


Fridtjof Nansen class frigate - 7


Fridtjof Nansen class frigate - 8


Fridtjof Nansen class frigate - 9


Fridtjof Nansen class frigate - 10


โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 28/06/2012 02:30:57


ความคิดเห็นที่ 21


ถ้า เราใช้เวลาต่อเรือรบเอง ใช้เวลา 10 ปี

ผมก็เห็นด้วย ว่าควรให้ทัพเรือซื้อ ตามในรูปมาซักลำก่อน  ( แต่ ไม่รู้ ทางรัฐบาลจะมีงบให้หรือเปล่าน่ะ )

พูดแล้ว ก็สงสาร ทร. จริงๆ เรื่องเรือดำน้ำพูดกันมาหลายปีแล้ว ก็ยังไม่มีวี่แวว .. ปีนี้ ขอให้ผ่านการพิจจารณาที่เต๊อะ

ใจจริง ไม่อยากได้มือสองน่ะ .. ของเยอรมันใช้มาไม่รู้กี่สิบปี ถึงระบบภายนอกยังดี แต่คิดว่า ระบบภายในเกือบทุกอย่าง

คงใกล้เสื่อมสภาพหมดแล้ว เช่นพวกท่อ และ วาล์ว ต่างๆ รวมไปถึงระบบไฟฟ้า สายไฟคงเสื่อมสภาพหมดแล้ว

.. อยากได้เรือดำน้ำของไหม่ มือ1 เลย  .. ถึงจะเป็นของจีน หรือ เกาหลี ก็เอา ถ้าเป็นไปได้ อยากได้ของสวีเดนมากกว่า  อิอิ

โดยคุณ soda77 เมื่อวันที่ 28/06/2012 12:06:38


ความคิดเห็นที่ 22


สนับสนุนการร่วมทุน....ต่อในไทย

และขยายอู่ต่อเรือ.....

โดยคุณ jaidee เมื่อวันที่ 28/06/2012 14:14:42


ความคิดเห็นที่ 23


ส่วนตัวชอบเรือจีน แต่อิเลคทรอนิกสวีเดน  ลองคิดดูครับว่าถ้าไทยสามารถคิดค้นระบบที่สามารถเชื่อมโยงระบบของจีนกับของสวีเดนให้ใช้ร่วมกันได้  เราจะเป็นเจ้าของเทคโนโลยีแบบใหม่ที่มีราคาถูกกว่าของสหรัฐ  ยุโรป  แต่คุณภาพดีกว่าของจีน  ( อยู่ตรงกลางๆ )  แถมยังสามารถรับสร้างขายได้อีกด้วยครับ

โดยคุณ rayong เมื่อวันที่ 29/06/2012 03:43:04


ความคิดเห็นที่ 24


ทุกอย่างเป็นไปได้ครับ  บ้านเราสามารถต่อเรือที่มีขนาดหลายตันกรอสได้ครับแต่ทุกอย่างมันค่อยเป็นค่อยไป ต่อนนี้เราพึ่งพาตัวเองก็สุดยอดแล้วครับ  อุตสาหกรมมด้านการต่อเรือของไทยกำลังก้าวไปเรื่อยๆครับ เรือดำน้ำที่ใช้ในการสำรวจก่น่าจะเสร็จแล้วมั้งครับผมเห็นมันเป็นโครงตั้งแต่ 7 ปีที่แล้วกว่าจะเสร็จ  ^^

โดยคุณ kaiimc เมื่อวันที่ 29/06/2012 12:14:53


ความคิดเห็นที่ 25


ขอเพิ่มเติมรายละเอียดเพิ่มครับ

Álvaro de Bazán class frigate


Almirante Juan de Borbón

Class overview

Builders:

NAVANTIA-IZAR, Astillero Ferrol

Operators:

 Spanish Navy

Subclasses:

Fridtjof Nansen class frigate
Hobart class destroyer

Cost:

F105 €822.99m[1] (~US$1.1bn)

In commission:

4

Building:

1

Active:

Álvaro de Bazán
Almirante Juan de Borbón
Blas de Lezo
Méndez Núñez

General characteristics

Type:

Guided missile frigate

Displacement:

6,400 tons full load[2]

Length:

146.7m[2]

Beam:

18.6m

Draft:

4.75m

Propulsion:

CODOG
2 × General Electric LM2500 gas turbines
2 × Caterpillar 3600 diesel engines

Speed:

28.5 knots[2]

Range:

4,500 nm at 18 knots[2]

Complement:

250 (48 officers)[2]

Sensors and
processing systems:

Lockheed Martin AN/SPY-1D 3-D multifunction radar
Raytheon SPS-67(V)4 surface search radar
Raytheon DE1160 LF active and passive sonar
2 x ARIES navigation/surface radar
2 × Raytheon SPG-62 Mk99 radar illuminator

Electronic warfare
and decoys:

4 × FMC SRBOC Mk36 flare launchers
SLQ-25A Enhanced Nixie torpedo countermeasures
Indra SLQ-380 EW suite
Indra Mk 9500 interceptor

Armament:

1 × 5-inch/54 Mk45 Mod 2 gun
Provision for one CIWS FABA 20mm/120 Meroka system.
1 × 48 cell Mk 41 vertical launch systems
32 × Standard SM-2MR Block IIIA
64 × RIM-162 Evolved Sea Sparrow Missile
8 × McDonnell Douglas RGM-84 Harpoon anti-ship missile
4 × 324 mm Mk32 Mod 9 double Torpedo launchers with 12 Honeywell Mk46 mod 5 Torpedo

Aircraft carried:

1 × Sikorsky SH-60B LAMPS III Seahawk

 

โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 01/07/2012 01:35:24


ความคิดเห็นที่ 26


Fridtjof Nansen class frigate


Fridtjof Nansen and Helge Ingstad, examples of the class berthed at Oslo, April 2010

Class overview

Builders:

Navantia, Ferrol, Spain

Operators:

 Royal Norwegian Navy

Preceded by:

Oslo class

In commission:

5

Active:

HNoMS Fridtjof Nansen
HNoMS Roald Amundsen
HNoMS Otto Sverdrup
HNoMS Helge Ingstad
HNoMS Thor Heyerdahl

General characteristics

Type:

Multi-role Frigate (Guided Missile and ASW)

Displacement:

5,290 tons full load

Length:

134m

Beam:

16.8m

Draft:

7.6m

Propulsion:

Combined diesel and gas (CODAG)
Two BAZAN BRAVO 12V 4.5 MW diesel engines for cruising
One GE LM2500 21.5 MW gas turbine for high speed running
MAAG gearboxes
two shafts driving controllable pitch propellers
Bow Thruster Retractable (Electric)1 MW Brunvoll
Diesel Generators 4 × MTU 396 Serie 12V 1250 KVA

Speed:

26+ knots (48+ km/h)

Range:

4,500nm @ 16 knots (8,300 km @ 30 km/h)

Complement:

120, accommodations for 146

Sensors and
processing systems:

Lockheed Martin AN/SPY-1F 3-D multifunction radar
Reutech RSR 210N air/sea surveillance radar
Sagem Vigy 20 Electro Optical Director
MRS 2000 hull mounted sonar
Captas MK II V1 active/passive towed sonar
2 × Mark 82 fire-control radar

Electronic warfare
and decoys:

Terma DL-12T decoy launcher, Loki torpedo countermeasure

Armament:

1 × 8-cell Mk41 VLS w/ 32 × RIM-162 ESSM
8 × Naval Strike Missile SSMs
4 × torpedo tubes for Sting Ray torpedoes
Depth charges
1 × 76 mm OTO Melara Super Rapid gun
4 × 12,7 mm Browning M2HB HMG Sea Protector
2 x LRAD Long Range Acoustic Device
Prepared for, but not equipped with:
1 × Otobreda 127 mm/54 gun to replace the 76 mm
1 × spare 76mm OTO Melara Super Rapid gun
1 × spare CIWS gun w/ calibre 40 mm or less
3 × spare 8- cell Mk41 VLS launchers
Low cost ASW
ECM: Active Off-board Decoy

Aircraft carried:

1 × NH90 helicopter

โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 01/07/2012 01:37:20


ความคิดเห็นที่ 27


ในส่วนเรือประเภทนี้หรือคุณสมบัติใกล้เคียงที่มีประจำการแล้วในภูมิภาคประเทศแถบนี้ ของคงต้องเป็น

Formidable class frigate


RSS Steadfast in 2008

Class overview

Name:

Formidable

Builders:

DCNS, ST Engineering (Marine)

Operators:

 Republic of Singapore Navy

Completed:

6

Active:

6

General characteristics

Type:

Frigate

Displacement:

3,200 tonnes (3,150 long tons; 3,530 short tons)

Length:

114.8 m (376 ft 8 in)

Beam:

16.3 m (53 ft 6 in)

Draught:

6.0 m (19 ft 8 in)

Installed power:

ISM V1708 diesel generators, each producing 800 kilowatts (1,070 shp)[1]
Total output: 3,200 kW (4,290 shp)

Propulsion:

MTU 20V 8000 M90, each rated at 8,200 kW (11,000 shp)[2] (CODAD)
Total output: 32,800 kW (44,000 shp)

Speed:

Maximum: 27 knots (50.0 km/h; 31.1 mph)
Cruising: 18 kn (33.3 km/h; 20.7 mph)

Range:

4,200 nautical miles (7,780 km)

Complement:

71, excluding air crew detachment of approx. 19

Sensors and
processing systems:

Search radar: Thales Herakles multi-function radar
Navigation radar: Terma Electronic Scanter 2001
Sonar: EDO Model 980 active low frequency towed sonar (ALOFTS)

Electronic warfare
and decoys:

ESM: RAFAEL C-PEARL-M
Decoys: Sagem Défense Sécurité New Generation Dagaie System, 2× forward & 1× aft.

Armament:

Anti-ship: 8× RGM-84C Harpoon SSM
Anti-air: MBDA Aster 15/30[3] launched from 4× Sylver A50 8-cell VLS
Anti-submarine: EuroTorp A244/S Mod 3 torpedoes launched from 2× B515 triple tubes with reloads
Guns: Oto Melara 76mm Super Rapid gun (mounted in stealth cupola), 4× CIS 50MG 12.7 mm (0.50 in) HMG

Aircraft carried:

S-70B Seahawk multi-mission capable naval helicopter

Aviation facilities:

Flight deck and enclosed hangar for up to two medium-lift helicopters

RSS Formidable class


RSS Formidable class


RSS Formidable class


RSS Formidable class


โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 01/07/2012 02:18:23


ความคิดเห็นที่ 28


และในอดีตรัฐบาลหนึ่ง ...  และกองทัพเรือไทย เคยมีความสนใจ สินค้าแดนกิมจิ ^^

 Chungmugong Yi Sun-shin class destroyer (KD-IIa) 


ROKS Yi SunShin (DDH-975)

Class overview

Builders:

Hyundai Heavy Industries
Daewoo Shipbuilding & Marine Engineering

Operators:

 Republic of Korea Navy

Preceded by:

Gwanggaeto the Great class destroyer

Succeeded by:

Sejong the Great class destroyer

In commission:

2003–

Active:

6

General characteristics

Type:

Destroyer

Displacement:

4,500 tonnes (4,429 long tons) standard
5,520 tonnes (5,433 long tons) full load

Length:

150 m (492 ft 2 in)

Beam:

17.4 m (57 ft 1 in)

Draft:

9.5 m (31 ft 2 in)

Propulsion:

Combined diesel or gas

Speed:

29 knots (54 km/h; 33 mph)

Complement:

300

Chungmugong Yi Sun-sin class destroyers (Hangul: 충무공 이순신급 구축함) are multipurpose destroyers of the Republic of Korea Navy. The lead ship of this class, ROKS Chungmugong Yi Sunshin, was launched in May 2002 and commissioned in December 2003. Chungmugong Yi Sun-shin class destroyers were the second class of ships to be produced in the Republic of Korea Navys destroyer mass-production program named Korean Destroyer eXperimental, which paved the way for the navy to become a blue-water navy. Six ships were launched by Hyundai Heavy Industries and Daewoo Shipbuilding & Marine Engineering in four years

 

Weapon Systems

The ship has a 32-cell strike-length Mk 41 VLS for SM-2 Block IIIA area-air defence missiles, one 21-round RAM inner-layer defence missile launcher, one 30 mm Goalkeeper close-in weapon system, one Mk 45 Mod 4 127 mm gun, eight Harpoon anti-ship missiles and two triple 324 mm anti-submarine torpedo tubes.

Electronics suite includes one Raytheon AN/SPS-49(V)5 2D long-range radar (LRR), one Thales Nederland MW08 3D target indication radar (TIR), two Thales Nederland STIR240 fire-control radars with OT-134A Continuous Wave Illumination (CWI) transmitters, an SLQ-200(V)K SONATA electronic warfare system and a KDCOM-II combat management system which is derived from the Royal Navy Type 23 frigates SSCS combat management system. BAE Systems WDS Mk 14 originally developed for the US Navys New Threat Upgrade evaluates threats, prioritizes them, and engages them in order with SM-2.

On the 4th unit, ROKS Wang Geon, the 32-cell Mk 41 VLS is moved to the left and an indigenous VLS named K-VLS is installed on the right. The ships forward part is spacious enough to take a 64-cell Mk 41 VLS.

Design

The KDX-II is part of a much larger build up program aimed at turning the ROKN into a blue-water navy. It is said to be the first stealthy major combatant in the ROKN and was designed to significantly increase the ROKNs capabilities.[1]

Missiles

Chungmugong Yi Sun-sin class destroyers


Chungmugong Yi Sun-sin class destroyers


Chungmugong Yi Sun-sin class destroyers


Chungmugong Yi Sun-sin class destroyers


Chungmugong Yi Sun-sin class destroyers


โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 01/07/2012 02:27:20


ความคิดเห็นที่ 29


และอีกลำหนึ่งผลงานของ ROKS (Republic of Korea Navy) ที่น่าสนใจและราคาน่าจะสมเหตุสมผล

Sejong the Great class destroyer


ROKS Sejong the Great (DDG 991) during the 2008 Busan International Fleet Review

Class overview

Builders:

Hyundai Heavy Industries
Daewoo Shipbuilding & Marine Engineering

Operators:

Republic of Korea Navy

Preceded by:

Chungmugong Yi Sun-sin class destroyer

Cost:

$923 million

Planned:

3 (Total of 6)

Completed:

3

Active:

2

General characteristics

Class and type:

Sejong the Great class destroyers

Displacement:

8,500 tons standard displacement
11,000 tons full load

Length:

165.9 m

Beam:

21.4 m

Draft:

6.25 m

Propulsion:

4 General Electric LM2500 COGAG;
two shafts,
100,000 total shaft horsepower (75 MW)

Speed:

30+ knots (56+ km/h)

Range:

5,500 nautical miles (10,200 km)

Complement:

300-400 crew members

Sensors and
processing systems:

  • AN/SPY-1D(V) multi-function radar
  • AN/SPG-62 fire control radar
  • DSQS-21BZ hull mounted sonar
  • MTeQ towed array sonar system

Electronic warfare
and decoys:

LIG Nex1 SLQ-200K Sonata electronic warfare suite[1]

Armament:

Aircraft carried:

• Hangar for two Super Lynx or SH-60 Seahawk, one more on landing pad

The Sejong the Great class destroyers (Sejongdaewang-Ham or Hangul: 세종대왕급 구축함), also known as KD-III, are guided missile destroyers of the Republic of Korea Navy. The lead ship was launched 25 May 2007, sponsored by Kwon Yang-sook, the First Lady of the Republic of Korea at the time and was commissioned in December 2008. The second ship was commissioned in August 2010. As of 2010, the ROK Navy has committed itself to deploy three ships with an option for three more.

Contents

Background

The ship features the Aegis combat system (Baseline 7 Phase 1) combined with AN/SPY-1D multi-function radar antennae.

The Sejong the Great class is the third phase of the Republic of Korea Navys Korean Destroyer eXperimental (KDX) program, a substantial shipbuilding program, which is geared toward enhancing ROKNs ability to successfully defend the maritime areas around Korea from various modes of threats as well as becoming a blue-water navy. At 8,500 tons standard displacement and 11,000 tons full load, the KDX-III Sejong the Great destroyers are by far the largest destroyers in the Republic of Korea Navy,[2] and built slightly bulkier and heavier than Arleigh Burke class destroyers or Atago class destroyers to accommodate 32 more missiles. KDX-III are currently the largest surface warfare ships to carry the Aegis combat system.[3]

Armaments

Sejong the Great class destroyers main gun is the 127mm/L62 Mk. 45 Mod 4 naval gun, an improved version of the same gun used on other warships from several foreign nations. Point-defense armaments include two 30 mm Goalkeeper CIWS and a RIM-116 Rolling Airframe Missile Block 1 21-round launcher, the first Aegis platform to carry RAM.[4] Anti-aircraft armament consists of SM-2 Block IIIA and IIIB[5][6] in 80-cell VLS. Anti-Submarine Warfare armaments consists of both K-ASROC Hong Sahng-uh (Red Shark) anti-submarine rockets and 32 K745 LW Cheong Sahng-uh (Blue Shark) torpedoes. Anti-ship capability is provided by 16 SSM-700K Hae Sung (Sea Star) long-range anti-ship missile, each with performance similar to the U.S. Harpoon. Land-attack capability is provided by the recently-developed Hyunmoo IIIC (Guardian of the Northern Sky) cruise missile, which is similar to the U.S. Tomahawk.

Missile batteries

  • VLS: 128 cell
    • Mk 41 VLS 48 cell (Fwd)
    • Mk 41 VLS 32 cell (Aft)
    • K-VLS 48 cell (Aft)

Capabilities

Sejong the Great class destroyers are often compared to Arleigh Burke class and Atago class because they utilize the AN/SPY-1 multi-function radar, have similar propulsion and capabilities. One notable difference between the Sejong the Great-class ships and Burkes is the number of VLS cells. Destroyers of the Sejong the Great class will have a capacity of 128 missiles, as opposed to 96 on the Arleigh Burke class and the Japanese Atago class destroyers. The Sejong the Great class is thus one of the most heavily armed ship in the world[7] second only to Kirov class battlecruiser with 352 missiles. Another similarity to Arleigh Burke class Flight IIA and Atago class destroyers is the presence of full facilities for two helicopters, a feature missing from earlier Arleigh Burke and Kongō class destroyers.

Three of these destroyers have, according to South Korean news agency Chosan Ilbo, the capability to "track and monitor any missile launched from anywhere from the North." This capability was demonstrated by the tracking of a North Korean Missile in April of 2009[8].

Sejong the Great class destroyer


โดยคุณ kingkong_army เมื่อวันที่ 01/07/2012 02:33:38