หน้าแรก    ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบคำถาม    เข้าสู่ระบบ      


thailand Battleship

โดยคุณ : s.w.a.t เมื่อวันที่ : 21/06/2012 19:24:41

อันนี้จริงป่าว

ฝึกทางทะเลที่ใหญ่ที่สุดในโลกครับ โดยปกติจะมีเรือปีละ 30-40 ลำ มีเครื่องบินเป็นร้อย ๆ เครื่อง มีกำลังพลเป็นหมื่น ๆ คนเข้าร่วม 

แต่ไทยไม่มีตัง เลยไม่ได้ไปฝึก ส่งเฉพาะคนสังเกตุการ จริงปะ





ความคิดเห็นที่ 1


เช็คข้อมูลดีๆก่อนโพสครับ เราส่งร่วมแน่นอนรูปนี้มาจากหนังเรื่องแบทเทิลชิบไหม ถ้าใช่ทำไมคุณมองไม่เห็นธงราชนาวีไทยละครับ

โดยคุณ nathekop เมื่อวันที่ 20/06/2012 20:00:34


ความคิดเห็นที่ 2


อ่านดีๆนะครับ 

เขาบอกเราส่งคนไป เเต่ไม่ได้ส่งเรืออะไรประมาณนี้รึเปล่า

 

เหมือนจะส่งคนไปมั้งครับ เเต่ไม่ได้ส่งเรือไป อเมกาก็เชิญเราทุกครั้งมั้ง 

 

= =

 

โดยคุณ parachutes เมื่อวันที่ 20/06/2012 20:52:28


ความคิดเห็นที่ 3


ทั้ง REDFLAG(ทางอากาศ) และ RIMPAC (ทางเรือ) เราเคยส่งเรือและเครื่องบินไปฝึกด้วยครับ สหรัฐเชิญเราทุกครั้งแต่ด้วยงบประมาณก็ส่งบ้างไม่ส่งบ้าง

โดยคุณ Banyat เมื่อวันที่ 20/06/2012 20:57:13


ความคิดเห็นที่ 4


อันนี้จากเว็ปเราเองครับ   >>>> คลิ๊ก <<<<

 

ส่วนปีนี้ RIMPAC  มีกำหนดเริ่มต้นที่ 27 มิถุนายน - 7 สิงหาคม โดยมีพิธีเปิดในวันที่ 29 มิถุนายนและปิดวันที่ 3 สิงหาคม

ประเทศที่เข้าร่วม 22 ประเทศ เรือรบ42 ลำ เรือดำน้ำ 6 ลำ อากาศยานกว่า 200 ลำ กำลังพลกว่า 25,000 คน

ประเทศที่ส่งเรือเข้าร่วมในปีนี้ก็มี ออสเตรเลีย, แคนาดา, ชิลี, โคลัมเบีย, ฝรั่งเศส, ญี่ปุ่น, เม็กซิโก, นิวซีแลนด์ , เกาหลีใต้, รัสเซีย, สิงคโปร์และสหรัฐอเมริกา

ส่วนกประเทศทีส่งแค่กำลังพลอย่างเดียวมี อินเดีย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, เนเธอร์แลนด์, นอร์เวย์, เปรู, สาธารณรัฐฟิลิปปินส์, ไทย, ตองกา และอังกฤษ

และประเทศได้รับเชิญในฐานะผู้สังเกตการณ์ คือ บังคลาเทศ, บรูไน, บราซิล, กัมพูชา, ปาปัวนิวกินี, เวียดนาม และศรีลังกา

 

ข้อมูลจาก http://www.cpf.navy.mil/rimpac/2012/about/  Page updated May 4, 2012


###############################################################

 

ส่วนประเทศไทยส่งแค่ Commander, Combined Task Force/component staff contribution


Australia

  • HMAS Darwin (FFG 04)
  • HMAS Perth (FFH 157)
  • HMAS Farncomb (SSG 74)
  • Autonomous underwater vehicle
  • Explosive ordnance disposal detachment
  • Mine countermeasures detachment
  • S-70B-2 Seahawk
  • AP-3C Orion
  • E7A
  • Infantry company

Canada

  • HMCS Algonquin (DDG 283)
  • HMCS Ottawa (FFH 341)
  • HMCS Victoria (SSK 876)
  • HMCS Yellowknife (MM 706)
  • HMCS Saskatoon (MM 709)
  • HMCS Brandon (MM 710)
  • Fleet diving unit (EOD & MIW)
  • CP-140 Aurora
  • CF-18 Hornet
  • Sikorsky S-61
  • CH-124A Sea King
  • KC-150T Polaris
  • KC-130T Hercules
  • Infantry company

Chile

  • CS Almirante Lynch (FF-07)
  • HH-65 Dolphin
  • Mine warfare dive team

United States

  • USS Charlotte (SSN 776)
  • USS Cheyenne (SSN 773)
  • USS North Carolina (SSN 777)
  • USS Nimitz (CVN 68) 
  • USS Essex (LHD 2)
  • USS Lake Erie (CG 70)
  • USS Princeton (CG 59) 
  • USS Chosin (CG 65)
  • USS Chafee (DDG 90) 
  • USS Port Royal (CG 73)
  • USS Chung Hoon (DDG 93) 
  • USS Paul Hamilton (DDG 60)
  • USS Crommelin (FFG 37)
  • USS Gary (FFG 51)
  • USS Reuben James (FFG 57)
  • USS Stockdale (DDG 106)
  • USS Higgins (DDG 76)
  • USNS Yukon (TAO 202)
  • USNS Henry J. Kaiser (TAO 187) 
  • USNS Matthew Perry (T-AKE 9)
  • USNS Salvor (T-ARS 52)
  • USCGC Bertholf (WMSL 750)
  • Unmanned underwater vehicle
  • Explosive ordnance disposal unit
  • MH-60R Seahawk 
  • MH-60B Seahawk
  • MH-60S Seahawk 
  • MH-53 Pave Low
  • F/A-18/C/E/F Hornet 
  • E-2C Hawkeye 
  • EA-6B Prowler
  • C-2A Greyhound
  • P-8A Poseidon
  • P-3/C Orion
  • CH-53E Super Stallion
  • Command, ground and logistic combat elements
  • F/A-18D Hornet
  • AH-1W Super Cobra
  • UH-1Y Venom
  • KC-130 Hercules
  • C-17 Globemaster III
  • B-52 Stratofortress
  • KC-135R Stratotanker
  • E-3B/C Sentry
  • A-10 Thunderbolt II
  • F-16 Fighting Falcon
  • F-15C Eagle
  • HH-60G Pave Hawk
  • Boeing KC-707

France

  • FS Prairial (F 731)

India

  • Commander, Combined Task Force/component staff contribution

Indonesia

  • Infantry platoon

Japan

  • JS Myoko (DDG-175)
  • JS Shirane (DDH-143)
  • JS Bungo (MST-464)
  • SH-60J Seahawk
  • P-3C Orion

Malaysia

  • Infantry platoon

Mexico

  • ARM Usumacinta (A-412)
  • Mi-17 Hip
  • Infantry platoon

Netherlands

  • Fleet diving unit

New Zealand

  • HMNZS Endeavour (A11)
  • HMNZS Te Kaha (F77)
  • Mine countermeasure team
  • Autonomous underwater vehicle
  • Operational diving team
  • SH-2G Super Seasprite
  • P-3K Orion
  • Infantry platoon

Norway

  • Commander, Combined Task Force/component staff contribution

Peru

  • Commander, Combined Task Force/component staff contribution

Philippines

  • Commander, Combined Task Force/component staff contribution

Russia

  • RFS Admiral Panteleyev (BPK 548)
  • RFS Fotiy Krylov
  • RFS Irkut

Singapore

  • RSS Formidable (68)
  • S-70B Seahawk

South Korea

  • ROKS Nae Dyong (SS 069)
  • ROKS Yulgok Yi-I (DDG 992)
  • ROKS Choi Young (DDH 981)
  • Super Lynx Mk.99
  • P-3C Orion
  • Infantry platoon

Thailand

  • Commander, Combined Task Force/component staff contribution

Tonga

  • Infantry platoon

United Kingdom

  • Commander, Combined Task Force/component staff contribution
ข้อมูลจาก http://www.cpf.navy.mil/rimpac/2012/forces/  Page updated June 12, 2012

 

โดยคุณ spooky เมื่อวันที่ 20/06/2012 23:16:18


ความคิดเห็นที่ 5


บอกตามตรงเรามีฝึกอย่างอื่นที่มันดูคุ้มกว่าและตรงวัตถุประสงค์กว่าไงครับ

เราไม่มีความจำเป็นที่จะต้องร่วมฝึกผสมที่ใหญ่ขนาดนั้น

ลองสังเกตุประเทศที่ส่งเรื่อร่วมสิครับเขาจำเป็น

แต่ไทยก็มีฝึกหลายๆอย่างร่วมกับอเมริกา/สิงคโปร/มาเลย์/อินโด

แค่นี้ก็พอครับอีกอย่างงบเรามีเยอะนะแต่ใช้ในสิ่งที่จำเป็น.......

โดยคุณ aeeclub เมื่อวันที่ 21/06/2012 13:28:22


ความคิดเห็นที่ 6


ไทยมีการฝึกรบร่วม เป็นลำดับต้นๆของโลก ฝีมือทหารไทยโด่งดังไปทั่วโลกอยู่แล้วครับ ส่วนเรื่องที่เราไม่ส่ง คงมีการพิจารณากันดีอยู่แล้วครับ

โดยคุณ m_fighter เมื่อวันที่ 21/06/2012 17:13:32


ความคิดเห็นที่ 7


ผ่อนคลายกันหน่อยครับ......5555 ผมยังเเอบไปฝึกกับกองเรือฝรั่งเลยครับ เเถวๆ ไทรโยค..555


โดยคุณ May เมื่อวันที่ 21/06/2012 19:24:41