ดูดมาจากเว๊ป mmmilitaly.blogspot.com
เรือฟริเกต ชั้น เจียงหู ของ จีน
ตามข้อมูลจากเว๊ป asiapacificms.com
The navy has so far received 10 Hainan-class naval patrol boats, plus radar equipment. The naval craft have been accompanied by 70 Chinese naval personnel - over half of whom are middle rank officers - to assist the Burmese in operating the boats, training local crew and maintaining newly installed radar equipment. At the same time, Myanmars naval strength doubled to 15,000 men including a battalion of naval infantry. The navy has also ordered three 1,865 ton Jianghu 053 frigates but the delivery has been delayed because of technical problems.
จากรูปจะเห็นหมายเลข F-21 กับ F-23....
เว้น F-22 ไป...จึงน่าจะเดาว่า เรือชั้น เจียงหู นี่ น่าจะมี 3 ลำ คือ F-21,22 และ 23
เอาหล่ะสิ..................ทีนี้ พม่ามี เจียงหูสี่ ติด ไฮยิ่ง-๒ ทีเดียว สามลำเลย................เอาหล่ะวา ตีกอล์ฟฐานทัพเรือ ทับละมุ แว้บๆมี เจียงหูชั้นเจ้าพระยา เข้าออกทีละลำ เห็นทีต้องเพิ่มอัตราแล้วกระมัง..............ดอดำน้ำเดี้ยง ไม่แน่ โครงการฟรีเกตสมรรถนะสูง อาจโผล่ก่อนก็ได้ เพื่อการนี้.........................
จรวดโบราณ เอชวาย-๒ จีนทำเลียนแบบ สติกซ์ ของโซเวียต .......... ที่ว่าโบราณเพราะวิถีโคจรไม่เรียดน้ำ............... แต่เชื่อว่าถึงยังไง จะเรียดไม่เรียด คนโดนส่องก็ไม่สนุกด้วยแน่.......พับผ่า...................
ท่านกบ....ม้นจะเป็นไปได้ไม๊ ที่จะเป็น HY-4 เพราะดูมีการเปลี่ยนแปลง เรดาร์ ตรวจจับสำหรับ มิสซายส์ ที่มีระยะไกลกว่าเดิม...
เพราะ HY-2 มีระยะไม่เกิน 100 ก.ม. แต่ HY-4 จะมีระยะมากกว่า 150 ก.ม.
และตามข้อมูลที่มีการล่าช้า เนื่องจากมีปัญหาทางด้านเทคนิค...ซึ่งถ้า เรือยังคงคุณลักษณะเดิม...ก็ดูไม่น่าจะล่าช้าขนาดนี้ครับ...
Country: | Peoples Republic of China |
---|---|
Alternate Name: | CSCC-7 Sadsack |
Class: | S/L/ALCM |
Target: | Ship |
Length: | 7.36 m |
Diameter: | 0.76 m |
Wingspan: | 2.40 m |
Launch Weight: | 1950.00 kg |
Payload: | 513 kg HE |
Propulsion: | Turbojet w/ solid booster |
Range: | 135.00 km |
Guidance: | Autopilot, active radar, radio altimeter |
Status: | Operational |
In Service: | 1985-Present |
Exported: | Iran |
The Hai Ying-4 (HY-4) is a short-range, turbojet-powered, single warhead, ground-, air-, and ship-launched cruise missile developed and manufactured by the People’s Republic of China.
During the late 1950s, the former Soviet Union supplied China with a number of SS-N-2A “Styx” (P-15). These Russian missiles, which the Chinese designated SY-1 (NATO: CSS-N-1 “Scrubbrush”), constituted the basic design for a large number of Chinese missiles from the 1960s to the 1980s. During the late 1960s, China manufactured its own version of the Russian SS-N-2A, the HY-1.
China began developing the HY-4 in the mid-1970s as an improvement over the HY-1 and HY-2. The HY-4 was based on technology probably taken from U.S. BQM-34 Firebee drones recovered by the Chinese. The missile was originally intended as a coastal defense weapon. The ship-launched and coastal defense versions are believed to have entered service around 1985, with the air-launched version entering service in 1991. An improved version of the HY-4, known as the HY-41 or XW-41, is believed to have been developed from about 1987 but was terminated around 1991.
The HY-4 is similar in appearance to the HY-1 and HY-2, with two delta-shipped wings and a rudder and tail. The missile also includes a large air inlet for the turbojet engine. The HY-4 is 7.36 m long, 0.76 m in diameter, and has a wingspan of 2.5 m. It carries a high explosive 513 kg warhead. The ground- and ship-launched versions include a solid propellant boost motor, which brings the total launch weight to 1,950 kg. The air-launched version has no solid propellant boost motor and weighs 1,740 kg.
The HY-4 is guided by autopilot in the midcourse phase, and by an active radar for the terminal phase. The missile’s altimeter allows for a cruising altitude of between 70 and 200 m, followed by a steep dive onto the target. The HY-2 has a minimum range of 35 km and a maximum range of 135 km. The later HY-41 (export version) has a maximum range of 200 km which is achieved by carrying extra fuel in the missile. The HY-4 has a subsonic cruising speed of Mach 0.8.
There are at least two modified versions of the HY-4. These are known as the HY-4A and the HY-4B. The HY-4A, like the HY-4, is used for air, ship, and ground launch. It appears to be primarily an anti-ship missile. It is slightly shorter than its predecessor with a length of 6.1 m, but overall missile weight is the same and it employs a similar (if not identical) booster engine system. It has a slightly wider wingspan than the HY-4 at 2.9 m yet the body diameter is the same. Instead of the 513 kg payload, the HY-4A carries a 300 kg payload that probably includes conventional HE and a semi-armor-piercing warhead to be used against ship targets. HY-4A guidance is inertial with GPS in mid-course with a combined active/passive radar seeker in the terminal phase. The missile cruises at around 30 m altitude before descending to 7 to 10 m just before reaching the target. The missile is believed to have a range of 280 km. The HY-4A missile probably entered service in 1989.
The HY-4B is an air-launch version of the HY-4 that seems fitted to land-attack functions. The missile has an extended range of 200 km with improved guidance systems. The missile is believed to employ either TV or infrared seekers with a datalink for external control. The missile carries a 500 kg payload that may have various warhead options. An unconfirmed report, for example, suggested that the missile may be fitted with a penetration warhead for attacking hardened targets. The HY-4B missile probably entered service in 2000. A version of the HY-4B with an extended range may have entered service in 2005.
Some versions of the HY-4 were offered for export in the early 1990s, designated as the C-201 or C201W for the ground-launched missile and C-611 for the air-launched missile, although there have been no known exports. China has claimed that the C-201W, which is most likely the export version of the HY-41 upgrade, has an increased range of 200 km. An unconfirmed report suggests that China may have exported HY-4 coastal defense missiles to Iran. Since 1998, China has not offered the HY-4 for export.(1)
ครับ น่าจะเป็นไปได้........ เพราะ ไฮยิ่งสองนี่ก็เก่าแก่มากแล้ว ขนาด ๘๐๒ ของเรา ก็ยังต้องเปลี่ยนแล้ว............... ผม มีคลิป การเข้าโจมตีของเจ้าไฮยิ่งสองมาให้ชม อันนี้เป็นของอิหร่าน รุ่นยิงจากพื้น จรวดนี้มีชื่อเล่นว่าหนอนไหม จะเห็นว่าวิถีโคจรถลาลงมาจากข้างบน............ เป็นข้อพิพาตระหว่างไอ้กันกับจีนอยู่นานทีเดียว เพราะเมื่อเกือบยี่สิบปีที่แล้ว ขณะที่อิหร่านรบกับอิรัคนัวเนีย ซึ่งเวลานั้นท่านเรแกน จูบปากแลกนิ้นดุนขี้ฟันอยู่กับซัดดัม ไอ้กันห้ามทุกชาติขายอาวุธให้อิหร่าน ก็มีจีนนี่แหล่ะ ดอดขายเจ้าดุ้นหนอนนี่ให้อิหร่านท่าน ไอ้กันเลยเต้นเป็นเจ้าเข้า......... หนำซ้ำ ลิ่วล้อคนภายในตัวเอง ยังแอบขายอะไหล่อาวุธให้อิหร่านอีกด้วย เจ้าแมวหง่าวทอมแค้ทจึงยังบินปร๋อได้ทุกวันนี้............. กรณีนี้เขาเรียก กบฏ อิหร่านคอนทร่า มันเกิดเวลาใกล้เคียงกับกบฎคอนทร่าในนิการากัว ชื่อเลยคล้ายๆกัน ตอนนั้นยังเด็กๆ ดูข่าวต่างประเทช่องเจ็ดทีไรได้ยินแต่ข่าวนี้ กับชื่อ นาวาโท โอลิเวอร์นอร์ท ตอนนั้นยังเด็กเลยไม่ทราบว่าแกเป็นคนหรือเป็นแพะ..............
ผมหาวีดิโอ ไฮยิ่งสี่ ในยูทู้บ ไม่ได้ครับ ท่านจูลดาส
ไฮยิง 4 เห็นมีแต่ อิหร่าน ที่นำไป โมดิฟายด์ใหม่ ครับ...คงต้องในชื่อใหม่ของอิหร่าน ที่โมดิฟายด์ แล้ว...
โดยตามภาพ จะเห็นการเปลี่ยน เรดาห์พื้น อากาศ และ เรดาร์ควบคุมการยิง มาเป็นแบบชั้น เจียงหู 3...
อย่างภาพนี้ จะเห็นว่า ติด C-802 แบบแท่น 4 ซึ่งเป็นเรือชั้นเดียวกับของ ทร.ไทย...ดังนั้น เรือชั้น กระบุรี ก็คงสามารถติดตั้ง C-802 แบบแท่น 4 ได้ไม่น่ามีปัญหา...
หากทร. ต้องเพิ่มจำนวนเรือฟริเกตฝั่งอันดามัน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ เรือชุดปัตตานี อาจเร็วขึ้นก็ได้ ณ.ครับ ( น่าจะเป็นตัวเลือกที่ใช้งบประมาณและระยะเวลาต่ำที่สุด ) และยิ่งทร.อาจไม่มีโอกาสจะได้จัดซื้อเรือดำน้ำอีกต่อไป อาจจะเร่งดำเนินการจัดหาเรือฟริเกตสมรรถนะสูง รวมถึงปรับปรุงเรือฟริเกตชุดเจ้าพระยา 2 ลำที่เหลือ ( รล.เจ้าพระยาและรล.บางประกง ให้ติดตั้ง C-802 ) ระหว่างรอเรือฟริเกตสมรรถนะสูงเข้าประจำการ อย่างน้อย 3 - 4 ปี ซึ่งอาจจะพร้อมปฎิบัติการอย่างเร็วสุดปี 2559หรือ 2560 วึ่งคงขึ้นอยู่กับรับบาลว่าจะอนุมัติหรือไม่ รวมถึงประเทศที่เราจัดหาด้วย ( ส่วนตัวคาดว่าทร.คงจะต่อเรือ OPV ลำต่อๆไปให้ครบความต้องการ มากกว่าที่จะสร้างเรือฟริเกตสมรรถะสูงเองครับ )
เรือดำน้ำใหม่ที่นำมาโชว์ในงานดีเฟร้นท์จากสเปนก็น่าสนใจดีนะครับ ผมฝันกลางวันน่ะ
http://defense-studies.blogspot.com/2012/03/myanmar-navy-received-two-chinese-type.htmlvv
บ้านเรายังมองกันเฉพาะใกล้ตัวในรั้วบ้านครับ คิดแค่จะทำอย่างไรให้ได้มีอำนาจ รวย แล้วก็ให้ร้ายฝ่ายตรงข้าม เพื่อผลประโยชน์ สังเกตคนในบริษัทฯหรือในหน่วยงานราชการ คนดี มักไปก่อน คนเลว ไม่ทำงาน เลียขาเจ้านายมักได้ดี ประเทศมันถึงเป็นแบบนี้