C-130 Hercules of the RTAF (photo : Thai Aviation)
“Rockwell Collins is unmatched in providing advanced avionics upgrades for C-130s,” said Dave Nieuwsma, vice president and general manager of Airborne Solutions for Rockwell Collins. “With the completion of this program, we have provided cockpit and avionics upgrades to more than 150 C-130 aircraft around the world.”
Over the past five years, TAI and Rockwell Collins have upgraded the cockpit and avionics on 12 Royal Thai Air Force (RTAF) C-130 Hercules aircraft.
Nieuwsma said the company’s hallmarks of “outstanding teamwork and a clear understanding of program requirements, validated through a rigorous design and testing process,” resulted in a successful program for TAI, Rockwell Collins and the Royal Thai Air Force (RTAF).
The Rockwell Collins Flight2™ avionics system provides the RTAF with unrestricted access to global airspace by meeting CNS/ATM mandates currently identified through 2020. Included in the avionics upgrade are new primary flight displays, Flight Management System, autopilot, communication radios, navigation sensors and surveillance systems including weather radar, Traffic Collision Avoidance System (TCAS), Terrain Awareness and Warning System and digital map. The delivery of the final upgraded C-130 completes an avionics modernization program which provides the RTAF with state-of-the-art capabilities consistent the world’s leading C-130 operators.The aircraft installation was designed and manufactured by Rockwell Collins, then installed and tested by TAI at Takhli Air Force base north of Bangkok.
About Thai Aviation Industries
About Rockwell Collins
http://defense-studies.blogspot.com/2012/02/tai-completes-final-upgrade-of-rtaf-c.html
TAI พิสูจน์ฝีมือว่าทำได้ดีครับ การประกอบอากาศยานในประเทศไทยน่าจะไม่ใช่เรื่องยากเย็นอะไรอีก
ส่วนการผลิตเครื่องบิน ต้องให้นักลงทุนต่างชาติมาจัดการเรื่องการผลิตชิ้นส่วนแล้วล่ะครับ ดูแล้วเรื่องที่เคยตกลงกับญี่ปุ่นว่าจะให้สิทธิ BOI แก่เขาในการใช้เราเป็นฐานการผลิตเครื่องบินพานิชย์โดยมีข้อแลกเปลี่ยนว่าเราจะไม่ผลิตเครื่องบินพานิชย์แข่งกับเขา แต่เราจะผลิตเครื่องบินทหารและรับซ่อมเครื่องบินเท่านั้น ถือว่าเป็นข้อตกลงที่ดีด้วยกันทั้งสองฝ่าย ไม่มีใครเสียประโยชน์ และเราจะกลายเป็นศูนย์กลางการผลิตเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน เพราะมีสเกลการผลิตที่คุ้มค่ามากที่สุด ใช้โมเดลการผลิตยานยนต์ โรงงานก็ใช้โรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
ความฝันนี้ยังมีความเป็นไปได้สูง ต้องรอการตัดสินใจของฝ่ายการเมืองแล้วว่าจะสานโครงการนี้ต่อหรือไม่ครับ อยากเห็นศูนย์ซ่อมทำเครื่องบินพานิชย์ใหญ่ที่สุดในอาเซียนที่ดอนเมืองเร็วๆจัง โครงการนี้โดนดองมานานเกินไปแล้ว
เป็นความหวังแห่งอนาคตครับหวังว่าภาครัฐจะให้ความสำคัญมากขึ้นด้วย
โรงงานผลิตชิ้นส่วนเครื่องบินพานิชย์ที่บ้านเราก็มีนะครับ ส่งนอกนั่นแหละ ถึงจะเป็นแบรนต่างชาติก็เถอะ
(ขออนุญาตไม่เอ่ยชื่อบริษัทนะครับ)