ข้อมูลจาก Defense-studies.blogspot.com
เป็นภาษาอินโดนีเซีย
Heli Antikapal Selam Perkuat TNI AL
JAKARTA – Kekuatan alat utama sistem senjata (alutsista) TNI Angkatan Laut akan bertambah menyusul proses pengadaan 11 unit helikopter antikapal selam, antikapal permukaan, serta dua pesawat patroli laut.
Tambahan alutsista itu akan mengisi kelemahan-kelemahan yang dimiliki kapal TNI AL. Kepala Dinas Penerangan Angkatan Laut Laksamana Pertama TNI Untung Suropati mengatakan, keberadaan pesawat sayap tetap maupun sayap putar (helikopter) penting bagi TNI AL, karena mereka merupakan kepanjangan “mata” dan “telinga” dari kapal TNI AL (KRI). Wilayah laut Indonesia yang luas, menurut dia, tidak memungkinkan untuk dijangkau oleh KRI mengingat kekuatannya yang terbatas.
Karena itu, keberadaan tambahan dua unit maritime patrol aircraft (MPA) dan11 helikopter anti kapal selam Seasprite itu sangat penting untuk mengisi kekosongan yang tidak terkover kapal-kapal TNI. “Pesawat tentunya memiliki kelebihan di manuver, fleksibilitas, jangkauan yang luas, dan kemampuan deteksinya juga lebih cepat,” tegas Untung di Jakarta, kemarin. Dua unit MPA yang akan menambah kekuatan TNI AL yaitu pesawat CN-235 yang rencana sudah mulai diterima TNI AL pada 2013.
Selain radar deteksi, pesawat ini juga akan dilengkapi dengan kemampuan untuk melakukan penindakan. Adapun untuk helikopter Seasprite sejumlah satu skuadron itu, memiliki kemampuan penindakan yang lebih ampuh. Enam dari 11 helikopter dilengkapi dengan senjata antikapal selam, sisanya lima unit merupakan antikapal permukaan. “Rencananya pada 2012 pengadaannya,” ujarnya. Sekretaris Komite Kebijakan Industri Pertahanan Letjen TNI Sjafrie Sjamsoeddin mengatakan, pengadaan CN-235 untuk MPA TNI AL masuk dalam prioritas alutsista TNI.
Rencananya, biaya pengadaan menggunakan alokasi dari pinjaman luar negeri sebesar USD60 juta, namun pemesanan di PT Dirgantara Indonesia. Sjafrie yang juga wakil menteri pertahanan itu menuturkan, dalam strategi pertahanan Indonesia, saat ini memang sedang dikembangkan penguatan di kawasan Indonesia bagian timur
แปลเป๊นภาษาอังกฤษ
Heli Antikapal Strengthen Navy Diving
JAKARTA - The power of the main tools of weapons systems (defense equipment) the Navy will increase following the procurement process 11 units antikapal submarine helicopters, antikapal surface, and two marine patrol aircraft.
Additional defense equipment that will fill the weaknesses of the Navy-owned ships. Navy Chief of Information Office of the First Admiral TNI Fortunately Suropati say, the existence of fixed-wing aircraft and rotary wing (helicopter) crucial for the Navy, because they are an extension of "eyes" and "ears" of the ships of the Navy (KRI). Indonesias vast marine territory, according to him, it is not possible to reach by KRI given limited powers.
Therefore, the existence of an additional two units of maritime patrol aircraft (MPA) dan11 Seasprite anti-submarine helicopters that are very important to fill the vacancies which are excluded military ships. "The plane certainly has advantages in maneuverability, flexibility, wide range, and the detection capability is also faster," said Lucky in Jakarta, yesterday. Two units of MPAs that will add to the strength of the Navy aircraft CN-235 is a plan already accepted the Navy in 2013.
In addition to radar detection, the aircraft will also be equipped with the ability to take action. As for the number one squadron of Seasprite helicopter, it has a more powerful enforcement capabilities. Six of the 11 helicopters equipped with weapons antikapal dive, the remaining five units are antikapal surface. "Procurement plan in 2012," he said. Secretary of Defense Industrial Policy Committee Lt. Gen. Sjafrie said the procurement of CN-235 MPA for the Navy defense equipment included in the priority of the TNI.
The plan, the cost of procurement using the allocation of foreign loans amounting to USD60 million, but booking in PT Dirgantara Indonesia. Sjafrie who is also deputy defense minister said, in Indonesias defense strategy, currently being developed is strengthening in the region of eastern Indonesia
ตามเนื้อข่าว จัดหามาจำนวน 11 เครื่อง
จำนวน 6 เครื่อง จะใช้ภาระกิจ ต่อต้านเรือดำน้ำ
จำนวน 5 เครื่อง จะใช้ภาระกิจ ต่อต้านภัยผิวน้ำ
โดยใช้วงเงินกู้ จำนวน 60 ล้านเหรียญสหรัฐ ( ประมาณ 1,900 ล้านบาท )
ซึ่งเมื่อดูจากจำนวนแล้ว
ผมคิดว่า น่าจะเป็น Super Seasprite ที่ ทร.ออสเตรเลีย ส่งคืนให้ Kaman จำนวน 11 เครื่อง เมื่อคราว ยกเลิก โครงการ อัพเกรด
จาก วิกีพีเดีย
In the late 1980s and early 1990s the Royal Australian Navy (RAN) decided it needed an intermediate helicopter to operate from both ANZAC class frigates and an Offshore Patrol Vessel (OPV) it had hoped to build in conjunction with Malaysia. The OPVs, being smaller than the Anzac class, required a smaller helicopter than those being operated by the RAN at the time. In 1997, the Australian Government signed a A$667 million contract with Kaman to purchase 11 upgraded Super Seasprites.[4] However, the OPV was effectively abandoned in February 1998, when Malaysia selected a German tender over the one submitted by the Australian company Transfield, now known as Tenix.[5] The RAN began operating SH-2G(A) Super Seasprites in 2003.
.................................................................Following a review of the project, the Australian Government cancelled the contract for the helicopters on 5 March 2008.[10] Kaman Corp confirmed that it had been notified by the Labor Government that it would end the SH-2G(A) program "on mutually agreed terms".[11][12] The decision to cancel the purchase was supported by the federal opposition.[13] Left without aircraft, 805 Squadron was disbanded on 26 June 2008.[14] Australia returned its SH-2G(A)s to Kaman.
โดยจะลงสัญญาจัดหาในปี 2012 คือ ปีนี้
ประเด็นที่ผมจะแตกออกมา ก็คือ
SH-2G Super Seasprite จำนวน 5 ลำ ที่จะมีภาระกิจ ต่อต้านภัยผิวน้ำ
เมื่อนำมารวมกับ การจัดหา F-16 มือสอง ของ ทอ.อินโดนีเซีย จำนวน 24 ลำ แล้ว
จะเป็นไปได้หรือไม่ว่า...อินโดนีเซีย จะเป็นประเทศแรกที่มี อาวุธนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ เพนกวิน ประจำการในภูมิภาค ASEAN
ภาพ SH-2G Super Seasprite ของ ทร.ออสเตรเลีย ที่ติดตั้ง จรวด เพนกวิน...
และ F-16 ที่สามารถติดตั้ง จรวด เพนกวิน ได้...
หรือ อาจจะเป็นเพียง Maverick
เห็นข่าวนี้แล้วนึกถึงเมื่อ10 ปีก่อน ที่ทางอเมริกาจะยกเครื่อง SH-2G Super Seasprite ให้เราแบบฟรี แต่เราต้องหางบประมาณซ่อมคืนสภาพเองเป็นที่น่าเสียดายที่เราไมสามารถหางบประมาณได้ในตอนนั้น ถ้าตอนนั้นเราไม่ประสพปัญหาเรื่องเศรษฐกิจเราคงได้เห็นฝูง ฮ.ปราบเรือดำน้ำขนาดใหญ่แน่นอน เสียดายครับ
แล้วS-70Bของเรา มีอาวุธตอร์ปิโดหรือปล่าวอ่ะครับ เพราะผมไม่เคยเห็นS-70B ติดมาโชร์เลยอ่ะครับ และก็Super Lynx 300ของเราสามารถติดอาวุธเพนกวินได้ด้วยหรือปล่าวอ่ะครับ หรือว่าอยู่ในช่วงการจัดหา
ส่วนSuper Lynx 300 ของเราก็ไม่รู้จะมีลำที่3กับ4หรือปล่าว เพราะเห็นเขาบอกว่าปิดสายการผลิตไปแล้ว
S-70B กับ Super Lynx สามารถติดตั้ง ตอร์ปิโด ไปทิ้งทำลายเรือดำน้ำได้ครับ....
แต่เนื่องจากทั้ง 2 แบบ ดังกล่าวของ ทร.ไทย ไม่สามารถค้นหา เรือดำน้ำ ได้ด้วยตัวเอง คือ ไม่มีอุปกรณ์ตรวจจับใต้น้ำ แบบชักหย่อน จึงต้องอาศัย เรือรบผิวน้ำ ชี้เป้า เพื่อหิ้ว ตอร์ปิโด ไปปล่อย...
คราวนี้ เราก็ต้องมาพิจารณาต่อว่า เมื่อ ฮ. ทั้ง 2 แบบ ต้องอาศัย เรือรบผิวน้ำ เป็นคนชี้เป้า...เราก็ลองมาดูว่า เรือรบผิวน้ำ ลำไหนของ ทร. ที่มีระบบตรวจจับเรือดำน้ำ ได้ไกล และสามารถจะชี้เป้าให้ ฮ. ทั้ง 2 แบบได้
เรือรบผิวน้ำของ ทร. ที่ติดตั้ง โซนาร์ ที่มีระยะไกล เกินกว่าระยะตรวจจับของ ตอร์ปิโด ประจำเรือ ก็จะมี
1. เรือชั้น พุทธยอดฟ้าฯ
2. เรือชั้น สุโขทัย
3. เรือชั้น ตาปี
4. เรือหลวง มกุฎราชกุมาร
ส่วนเรือรบผิวน้ำ ที่ติดตั้งโซนาร์ เพียงป้องกันตนเอง อยู่ในะระยะการ ตรวจจับของ ตอร์ปิโด โดยไม่ต้องอาศัย ฮ. ต่อระยะการทิ้ง ตอร์ปิโด ก็จะมี
1. เรือชั้น นเรศวร
2. เรือชั้น เจ้าพระยา
3. เรือชั้น คำรณสินธุ
ส่วน ร.ล.จักรีนฤเบศร์ ไม่ม่ีโซนาร์ตรวจจับเรือดำน้ำ จึงเป็นได้เพียงฐานที่ตั้งของ ฮ.แบบ S-70B เท่านั้น
คราวนี้ ก็มาดูถึง คุณลักษณะของ ฮ. ทั้ง 2 แบบ ว่าประจำบนเรืออะไรบ้าง
1. S-70B ประจำบนเรือได้ ที่ ร.ล.จักรีนฤเบศร์ เพียงลำเดียว
2. Super Lynx ปรเะจำบนเรือชั้น นเรศวร, กระบุรี และ ปัตตานี
ดังนั้น ถ้าเราจะเห็นการติดตั้ง ตอร์ปิโด ของ ฮ.ประจำเรือ ก็คงจะเห็นเฉพาะในส่วนของ S-70B (ซึ่งปัจจุบัน กำลังติดตั้งอุปกรณ์ตรวจับเรือดำน้ำ แบบชักหย่อน)
ส่วน Super Lynx เนื่องจาก เรือชั้น นเรศวร, กระบุรี มีระยะตรวจจับของโซนาร์ พอแค่ระยะของ ตอร์ปิโด ประจำเรือ จึงคงไม่ต้องใช้ ฮ. ต่อระยะเพื่อทิ้งตอร์ปิโด เพราะความเร็วเรือ เร็วกว่า เรือดำน้ำ ขณะดำ อยู๋แล้ว....ส่วนเรือชั้น ปัตตาน่ี ก็ไม่ได้ติดตั้งระบบโซนาร์อยู่แล้ว จึงคงน่าจะไม่ได้เห็นการติดตั้ง ตอร์ปิโด ของ ฮ. ในแบบนี้
ของ Super Lynx ในปัจจุบัน เท่าที่ปรากฎ จะสามารถติดตั้ง อาวุธนำวิถีต่อต้านเรือผิวน้ำ เฉพาะของ ซีสกัว เท่านั้น ยังไม่เคยเห็นติดตั้งแบบ เพนกวิน น่ะครับ...
ที่ผ่านมา เราไม่ได้เห็นการติดตั้งตอร์ปิโด กับ S-70B ก็คงจะน่าเป็นที่ว่า เราไม่มี เรือดำน้ำ ให้ฝึกต่อระยะการทิ้งตอร์ปิโด และล่าทำลาย...ประกอบกับ ฮ. เองก็ไม่มีระบบตรวจจับ และ ร.ล.จักรีฯ เอง ก็ไม่มีโซนาร์ตรวจจับด้วยเช่นกัน...
และการต่อต้านเรือดำน้ำ ด้วย เรือชั้นพุทธฯ กับ เรือชั้น สุโขทัย และ ชั้น ตาปี ก็ไม่แน่ใจว่า การสื่อสารระหว่าง S-70B กับเรือชั้นดังกล่าว มีความสามารถที่จะส่งข้อมูลและชี้เป้าให้ได้เพียงใด...เท่าที่ภาพผ่านตามาจะเห็น ฮ.ชี้เป้า สำหรับโจมตีผิวน้ำของเรือชั้นดังกล่าว จะเป็น S-76B โดยส่วนใหญ่
ส่วนในความเห็นผมที่ว่า
เรือชั้น สุโขทัย
เรือชั้น ตาปี
เรือหลวง มกุฎราชกุมาร
ระยะตรวจจับโซนาร์ได้ระยะไกล กว่า ระยะตรวจจับของ ตอร์ปิโด ประจำเรือ ก็เนื่องจากว่า
เป็นเรือสมัยเดียวกัน และมีการปรับปรุงติดตั้ง โซนาร์ใหม่ที่มีการพัฒนาขึ้นมากกว่าเดิม โดยใช้เป็นแบบเดียวกัน และในอดีตก็อยู่ในกองเรือปราบเรือดำน้ำ ซึ่งในสมัยนั้น อากาศยานที่ต่อระยะในการทิ้งตอร์ปิโด ทำลายเรือดำน้ำ ก็จะเป็น F-27 Mk 200 โดยมี S-76B เป็น ฮ.ชี้เป้าเรือรบผิวน้ำให้กับ กองเรือดังกล่าว